บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพซึ่งเปรียบเสมือนเสาหลักในการดูแลสุขภาพของประชาชนโดยเฉพาะผู้ที่เจ็บป่วยนั้นมีความสำคัญมาก เพราะพยาบาลเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยมากที่สุดและผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง

Show

บทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานของพยาบาล รับผิดชอบอะไรบ้าง?

บทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานของพยาบาล เริ่มตั้งแต่การประเมินปัญหาภาวะสุขภาพที่ต้องการการดูแลและให้การช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยปรับตัวได้ นำแผนการรักษาของแพทย์สู่การปฏิบัติ ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน และให้การฟื้นฟูและสร้างเสริมสุขภาพโดยคำนึงถึงความเป็นองค์รวมและความเป็นปัจเจกบุคคลที่มีความต้องการที่แตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละคน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้และกลับคืนสู่ครอบครัวและสังคมได้

แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ ได้แก่

  1. บทบาทอิสระ หมายถึง พยาบาลปฎิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้จากศาสตร์ทั้งทางด้านการพยาบาลและความรู้ที่เกี่ยวข้องในศาสตร์สาขาอื่นๆ ตัดสินใจวางแผนเพื่อให้การดูแลผู้เจ็บป่วย ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ช่วยฟื้นฟูและสร้างเสริมสุขภาพ อย่างเป็นอิสระภายใต้ขอบเขตของการพยาบาล
  2. บทบาทร่วม หมายถึง พยาบาลปฎิบัติหน้าที่โดยทำงานร่วมกับแพทย์และทีมสหสาขา โดยนำแผนการรักษาของแพทย์สู่การปฏิบัติดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อให้หายจากโรค หรือควบคุมโรคได้

หน้าที่ของพยาบาลในการคัดกรองผู้ป่วย ในภาวะเร่งด่วน

เช่นการปฏิบัติหน้าที่ที่แผนกฉุกเฉิน การคัดกรองผู้ป่วยเป็นหน้าที่สำคัญของพยาบาลอีกด้านหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์ที่จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัย โดยจะคัดกรองอาการของผู้ป่วยแต่ละราย ออกเป็น

  1. ต้องรีบพบแพทย์ทันที
  2. สามารถรอได้แต่ไม่นานนัก พยาบาลอาจต้องให้การช่วยเหลือเบื้องต้น เช่น การเช็ดตัวเพื่อลดไข้
  3. สามารถรอได้นานกว่า การปฏิบัติในส่วนนี้จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยอย่างมากระหว่างรอเพื่อพบแพทย์ ซึ่งเป็นหน้าที่ของพยาบาลที่จะต้องดูแลและรับผิดชอบ

หน้าที่ของพยาบาลในชุมชนที่ผู้ป่วยอาศัยอยู่

พยาบาลไม่ได้มีหน้าที่เฉพาะในโรงพยาบาลเท่านั้น แต่การดูแลผู้ป่วยยังต้องต่อเนื่องไปที่บ้านหรือในชุมชนที่ผู้ป่วยอาศัยอยู่ หน้าที่ของพยาบาลส่วนนี้คือการดูแลให้ผู้ป่วยดูแลตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ควบคุมโรคไม่ให้กำเริบ ด้วยการดูแลวิธีปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย และพฤติกรรมสุขภาพเพื่อให้สอดคล้องกับอาการและความเจ็บป่วยป่วยที่เป็นอยู่ ตลอดจนการรักษาโรคเบื้องต้น เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ของการรักษาพยาบาลที่ดี หรือหายจากโรค

นอกจากนี้การดูแลสุขภาพที่บ้านหรือในชุมชนโดยพยาบาล ยังมุ่งดูแลชีวิตตั้งแต่แรกเกิด ดูแลสุขภาพมารดา และสุขภาพและพัฒนาการของเด็กวัยต่าง ๆ ซึ่งถือเป็นบทบาทที่สำคัญอีกด้านของพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนและผู้ที่เจ็บป่วยในชุมชน

บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในยุคประเทศไทย 4.0 มีเป้าหมายอย่างไร?

สำหรับบทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพในยุคประเทศไทย 4.0 ซึ่งมุ่งเน้น

  • การมองหาการปฏิบัติที่ดีที่สุดทางด้านการพยาบาลเพื่อแก้ปัญหาให้แก่ผู้ป่วย
  • การจัดการระบบการดูแลสุขภาพผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
  • การดูแลการเข้าถึงบริการสุขภาพที่เท่าเทียมกันของผู้ป่วยให้ได้มากที่สุด
  • การมุ่งเน้นเรื่องความคุ้มค่าคุ้มประโยชน์ รวมถึงการใช้ทรัพยากรต่างๆ อย่างคุ้มค่ามากที่สุด

การพัฒนานวัตกรรมเพื่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ จึงเป็นคำตอบ และเพื่อให้เกิดการขยายผล นวัตกรรมที่พัฒนานอกจากพัฒนางานประจำที่รับผิดชอบแล้ว ยังต้องให้สามารถให้เกิดผลประโยชน์เชิงพานิชย์ด้วย เพื่อให้สามารถขยายผลการใช้งานและผลลัพธืที่ดีทางด้านเศรษฐกิจชาติด้วย จึงมีคำกล่าวที่ว่า ยุคประเทศไทย 4.0 นี้จะต้องพัฒนานวัตกรรมที่เข้าห้าง ไม่ใช่ขึ้นหิ้ง เหมือนที่ผ่านมา

โดยทุกหน้าที่ของพยาบาลยุคนี้ต้องสอดคล้องไปกับการขับเคลื่อนประเทศไทยในบริบทไทยแลนด์ 4.0 พยาบาลต้องรู้จักคิดนอกกรอบ คิดสร้างสรรค์ และรู้จักบูรณาการความรู้สู่การพัฒนานวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ทางการพยาบาลและผลลัพธ์ด้านสุขภาพผู้ป่วยที่ดีที่สุด

พยาบาลยุคประเทศไทย 4.0 ต้องเรียนรู้หรือมีทักษะความสามารถอะไรบ้าง?

เพื่อส่งเสริมให้พยาบาลวิชาชีพสามารถมองหาการปฏิบัติที่ดีที่สุดทางด้านการพยาบาลเพื่อแก้ปัญหาให้แก่ผู้ป่วย การจัดการระบบการดูแลสุขภาพผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด การดูแลการเข้าถึงบริการสุขภาพที่เท่าเทียมกันของผู้ป่วยให้ได้มากที่สุด และการมุ่งเน้นเรื่องความคุ้มค่าคุ้มประโยชน์ รวมถึงการใช้ทรัพยากรต่างๆ อย่างคุ้มค่ามากที่สุด พยาบาลยุคประเทศไทย 4.0 จำเป็นต้องพัฒนาทักษะหรือความสามารถ ซึ่งได้แก่

    ����ش����㹡�û�Ժѵԧҹ��ҧ� �ͧ��Һ�� ��ѡ�ҹ����Ӥѭ��������ö�͡�֧�������ԪҪվ�ͧ��Һ�� ��蹡��� �ѹ�֡�ҧ��þ�Һ�� �ǡ��Ҿ�Һ���ԪҪվ�ء��ҹ �֧��ͧ���˹ѡ ����������Ӥѭ �µ�ͧ�����������ѹ�ѹ�֡��觷������黯Ժѵԡ�ô��ż��������ҧ�դس�Ҿ���� ����ҡ����ҧ�蹪Ѵ㹺ѹ�֡�ҧ��þ�Һ�� �����׹�ѹ�������ԪҪվ�����Ѻ�ԪҪվ�Ң����� �Ф�� ���ѹ����㹵͹˹�ҹФ�� �ͺ�س��

สภาการพยาบาลปรับหลักสูตรผู้ช่วยพยาบาลรับมือภาวะสังคมผู้สูงอายุ อัปเกรดความรู้ด้านโรคเรื้อรัง - การดูแลคนแก่ ประสานงานร่วมกับพยาบาลวิชาชีพทำงานส่งเสริมสุขภาพในระดับชุมชน ตั้งเป้าผลิต 16,000 คนใน 2 ปี

       

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

รศ.ดร.ทัศนา บุญทอง

รศ.ดร.ทัศนา บุญทอง นายกสภาการพยาบาล เปิดเผยว่า จากแนวโน้มสังคมไทยที่กำลังก้าวเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุ โดยปัจจุบันมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุกว่า 16% ของประชากรทั้งหมด และกำลังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สวนทางกับอัตราการเกิดที่ต่ำลง ทำให้ในอนาคตปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ซึ่งในส่วนของสภาการพยาบาลเองตระหนักและเห็นความจำเป็นในการดูแลสุขภาพของประชากรกลุ่มดังกล่าว ตั้งแต่การป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพ การดูแลผู้สูงอายุที่ต้องการการพึ่งพิง ด้วยเหตุนี้ยุทธศาสตร์ของสภาการพยาบาลจะเน้นการผลิตบุคลากรที่มีความสามารถในการดูแลผู้สูงอายุ ทั้งในสถานบริการและในชุมชน โดยเฉพาะในพื้นที่ชุมชนถือเป็นเรื่องสำคัญมาก เนื่องจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่ในเมืองไทยจะพักอาศัยอยู่ที่บ้านเป็นหลัก
       
อย่างไรก็ตาม ขณะนี้สภาการพยาบาลได้วางแผนหลักสูตรการเรียนการสอน เพื่อผลิตบุคลากรเพื่อรองรับแนวโน้มดังกล่าว โดยอยู่ระหว่างการจัดทำหลักสูตรเกี่ยวกับงานด้านชุมชนสำหรับพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล เพื่อผลิตบุคลากรออกไปดูแลสุขภาพประชากรสูงอายุในทุกพื้นที่ ซึ่งในส่วนของพยาบาลวิชาชีพจะเพิ่มความรู้เกี่ยวกับชุมชนในฐานะการเป็นผู้จัดการวางแผนดูแลสุขภาพ ขณะที่หลักสูตรผู้ช่วยพยาบาลจะเป็นอีกส่วนสำคัญ เพราะจะต้องเป็นผู้ลงไปปฏิบัติงานในระดับชุมชน ในรูปแบบการทำงานที่มีพยาบาลวิชาชีพประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เป็นผู้จัดการแผนงานดูแลผู้สูงอายุ และมีผู้ช่วยพยาบาลเป็นทีมงานออกไปทำงานในพื้นที่ ทั้งนี้ หลักสูตรการเรียนการสอนผู้ช่วยพยาบาลเดิมนั้น จะเน้นการผลิตบุคลากรเพื่อช่วยพยาบาลทำงานในสถานประกอบการหรือโรงพยาบาลต่างๆเป็นหลัก แต่ต่อไปนี้ต้องร่างหลักสูตรให้ทันสมัยมากขึ้นเพื่อเตรียมบุคคลากรเพื่อออกไปดูแลผู้สูงอายุที่บ้านและในชุมชน
       
“การเรียนการสอนของผู้ช่วยพยาบาลต่อไป ต้องเพิ่มความรู้เกี่ยวกับชุมชน โรคเรื้อรัง และการดูแลผู้สูงอายุ เพราะหลายคนต้องการการพึ่งพิง หลายคนเป็นโรคเรื้อรัง ไม่ใช่แค่แค่เรื่องการป้อนข้าวป้อนน้ำ แต่ภาวะสุขภาพที่เขาต้องการมีมากกว่านั้น บางคนต้องการการรักษาการรักษาต่อเนื่องจากโรงพยาบาล ซึ่งผู้ช่วยพยาบาลเหล่านี้จะต้องมีความรู้ที่มากกว่าผู้ดูแลทั่วไปซึ่งอาจจะอบรมมาเพียง 3-6 เดือน แต่ผู้ช่วยพยาบาลจะเรียนในหลักสูตร 1 ปี ก็จะมีความรู้ที่ลึกและกว้างกว่า และจะทำให้การดูแลมีคุณภาพมากขึ้น” รศ.ดร.ทัศนา กล่าวและว่า สำหรับอัตราจำนวนคนที่เพียงพอต่อความต้องการนั้น นายกสภาการพยาบาล กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีตำบลกว่า 8,000 แห่ง ซึ่งหากต้องการให้มีผู้ช่วยพยาบาลลงไปดูแลครบทุกหมู่บ้านจะต้องมีตำบลละ 10 คน แต่ในระยะเริ่มต้นอาจจะเริ่มที่ตำบลละ 2-4 คน รวมเป็น 16,000 คน ซึ่งตัวเลขนี้สภาการพยาบาล และโรงเรียนพยาบาลกว่า 80 แห่งทั่วประเทศ สามารถผลิตบุคลากรให้ครบได้ภายใน 2 ปี และเพิ่มได้อีกตามความต้องการในอนาคต
       
นายกสภาการพยาบาล กล่าวต่อไปว่า ปัจจุบันมีหลายๆ ตำบลที่ดำเนินงานร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและการดูแลผู้สูงอายุก็เป็น 1 ในแผนงานที่ต้องทำอยู่แล้ว ดังนั้น การผลิตผู้ช่วยพยาบาลจะตอบสนองตรงกับความต้องการบุคลากรของหน่วยงานเหล่านี้ได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม อยากเสนอให้ภาครัฐสนับสนุนผู้ช่วยพยาบาลที่ปฏิบัติงานในระดับพื้นที่มากขึ้น โดยการบรรจุให้เป็นข้าราชการ เพราะจะช่วยดึงดูดคนให้มาทำงานได้มากขึ้น รวมทั้งควรบรรจุพยาบาลวิชาชีพที่ยังไม่มีสถานะเป็นข้าราชการ ให้บรรจุเป็นข้าราชการให้หมดโดยเร็ว

  • ข่าว

  • ทัศนา บุญทอง
  • สภาการพยาบาล
  • ผู้ช่วยพยาบาล
  • พยาบาล
  • สังคมผู้สูงอายุ

  • 94 views

เรื่องที่เกี่ยวข้อง

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

ข่าว

สภาการพยาบาลชี้ห้ามฉีดยา 'ไดโคลฟีแนค' เพื่อคุ้มครองผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

ข่าว

'สภาการพยาบาล' ออกประกาศ ห้ามพยาบาลฉีดยา ‘ไดโคลฟีแนค’

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

ข่าว

นำร่อง ‘คลินิกการพยาบาล’ เป็นหน่วยบริการในระบบบัตรทอง ดูแลสุขภาพคนกรุง

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

ข่าว

เชิดชูเกียรติ 3 พยาบาล รับพระราชทาน ‘รางวัลศรีสังวาลย์ปี 2561’

อัพเดทล่าสุด

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

ข่าว

ม.ศรีปทุม คว้ารางวัลชนะเลิศสปอตโฆษณา “บุหรี่ไฟฟ้าอันตรายต่อสุขภาพ”

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

ข่าว

สธ. เผยสถานการณ์การติดเชื้อเพิ่มขึ้นชัดเจน เน้นให้กลุ่มเสี่ยง 608 ฉีดวัคซีนโควิด 4 เข็ม

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

เฟคนิวส์

เครียดจัด! แก่เร็วจริงหรือไม่ ดูแลตัวเองให้อ่อนกว่าวัยยังไงดี

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

ข่าว

กรมการแพทย์ ชูสารสกัดกัญชาเพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ป่วย "โรคระบบประสาท" 

infographic

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

“อนุทิน” เผยของขวัญปีใหม่ 66 เน้นผู้สูงอายุสุขภาพดี - มอบค่าตอบแทนบุคลากรสาธารณสุข จ่อเพิ่มค่าป่วยการอสม.

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

กรมควบคุมโรค ร่วมรณรงค์วันเอดส์โลก 2565 “Equalize : ทำให้เท่าเทียม”

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

การเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานานส่งผลให้อวัยวะเสื่อมสมรรถภาพเกิดภาวะแทรกซ้อน

บทบาทหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาล สภาการพยาบาล

การป้องกันภาวะแทรกซ้อน สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน