วิจัย ทัศนคติในการเรียนภาษาอังกฤษ

This research aimed to study 1) the attitude towards and English learning behavior of students at Rajamangala University of Technology Thanyaburi, and 2) the attitude influencing English learning behavior of students at Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The research was designed as a quantitative research of which data was collected through questionnaires. The samples of this research were 383 Rajamangala University of Technology Thanyaburi students, including the first year to the fourth year students. The collected data was analyzed by frequency, percentage, mean and standard deviation. Binary regression was used to test the hypothesis with the statistical significance of .05.


The results revealed that the attitude towards English learning was at the highest level, with an average of 4.48, whereas the English learning behavior was at the high level, with an average of 2.92. The test of hypothesis showed that attitude towards English learning had influence on English learning behavior of Rajamangala University of Technology Thanyaburi students with statistical significance of .05.

ทัศนคติ, ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความสำเร็จหรือล้มเหลว, นักศึกษาที่มีผลการเรียนในระดับต่ำ, Attitudes, Causal attributions, Low proficient students

Abstract

 

บทคัดย่อ

ทัศนคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษและการระบุปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความสำเร็จหรือล้มเหลวในการเรียนภาษาอังกฤษในอดีตของนักศึกษา มีความสำคัญต่อความพยายาม และความคาดหวังต่อความสำเร็จในการเรียนในอนาคต ผลการเรียนเป็นปัจจัยด้านแรงจูงใจที่สำคัญอย่างยิ่งปัจจัยหนึ่งที่นักศึกษาใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงความสำเร็จในการเรียน ดังนั้น สําหรับนักศึกษาที่มีผลการเรียนวิชาภาษาอังกฤษในระดับต่ำ นักศึกษากลุ่มนี้อาจรับรู้เกี่ยวกับตนเองว่าไม่มีความสามารถในการเรียน อันอาจส่งผลให้นักศึกษามีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ วัตถุประสงค์ของการวิจัยชิ้นนี้คือการศึกษาทัศนคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษและการระบุปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความสำเร็จหรือล้มเหลวในการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาที่เรียนวิชาปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษซึ่งถูกจัดว่าเป็นนักศึกษากลุ่มที่มีผลการเรียนภาษาอังกฤษในระดับต่ำจำนวน 542 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่านักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษในแง่ของความสำคัญของภาษาอังกฤษในการเรียน การทำงานในอนาคต และการสื่อสาร ถึงแม้ว่านักศึกษาจำนวนมากแสดงความคิดเห็นที่มีแนวโน้มว่าไม่ชอบภาษาอังกฤษ ไม่สนุกในการเรียนภาษาอังกฤษ หรือยังไม่แน่ใจว่าตนเองชอบหรือมีความสุขกับการเรียนภาษาอังกฤษหรือไม่ก็ตาม นักศึกษาอ้างปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความสำเร็จหรือล้มเหลวหลักสองปัจจัย ได้แก่ ความพยายามในการเรียน และครูผู้สอน ผลการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์ต่ออาจารย์ผู้สอนภาษาอังกฤษ ให้เข้าใจมุมมองนักศึกษาที่จัดอยู่ในกลุ่มที่มีผลการเรียนภาษาอังกฤษในระดับต่ำ และดำเนินการเกี่ยวกับปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความสำเร็จหรือล้มเหลวอย่างเหมาะสมเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดแรงจูงใจในการเรียน และความคาดหวังต่อความสำเร็จในเรียนในอนาคต

คำสำคัญ : ทัศนคติ, ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความสำเร็จหรือล้มเหลว, นักศึกษาที่มีผลการเรียนในระดับต่ำ

 

Abstract

Attitudes towards English language learning and causal attributions for success or failure in particular have been found to notably affect efforts and expectations for learning success. Grades, one of the crucial motivational factors, have often been interpreted by most students as a successful indicator of their learning. Therefore, students with low grades who possibly perceived themselves as performing poorly in learning may contribute to negative attitudes towards learning language in general. This study, therefore, aims at investigating through a questionnaire attitudes and causal attributions for the past success or failure of 542 low proficient students who enrolled in a Remedial English course. The findings suggest that students seemed to have positive attitudes towards English learning due to the importance of English for their study, future careers, and for communication, although some of them tended to dislike English, did not enjoy studying English, or even were unsure whether they liked or enjoyed studying English. They tended to attribute their success or failure to efforts and teacher influence. The findings can be applicable for teachers to understand students’ views on language learning and to deal effectively with their perceived attributions to facilitate learning motivation and expectations for future success.