ค่าตอบแทนกรรมการ ยื่นแบบ อะไร

และเมื่อเป็นเงินได้ตามมาตรา 40 ( 2 ) หากมีภาษีหัก ณ ที่จ่ายต้องนำส่งก็จะต้องหักและนำส่งตามแบบ ภงด. 1 แต่ไม่ว่าจะมีภาษีหัก ณ ที่จ่ายต้องนำส่งหรือไม่ เมื่อถึงปลายปีก็จะต้องมีการสรุปนำส่งตามแบบ ภงด. 1 ก. ด้วยครับ โดยต้องยื่นสรุปแบบ ภงด. 1 ก. ภายในเดือนกุมภาพันธ์ ของปีถัดไป

ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้(ฉบับที่ 58) เรื่อง กำหนดแบบแสดงรายการเกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

           กรรมการที่มีเงินได้จากค่าตอบแทนมากกว่าหนึ่งล้านแปดแสนบาทต่อปี ส่วนที่เกินถือเป็นการให้บริการทางธุรกิจหรือวิชาชีพที่มีมูลค่าของฐานภาษีเกินมูลค่าของฐานภาษีของกิจการขนาดย่อมที่ได้รับยกเว้นภาษี กรรมการจะมีหน้าที่เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มดังต่อไปนี้

ค่าตอบแทนกรรมการคืออะไร

ค่าตอบแทนกรรมการ หมายถึง ลักษณะและจํานวนค่าตอบแทนทีจ่ายให้แก่ก รรมการบริษัท แต่ละ รายในปีทีผ่า นมา (ในทีนีคือปี 2555) โดยระบุเฉพาะค่า ตอบแทนในฐานะทีเป็นกรรมการ หากกรณีทีกรรมการ ท่านใดได้รับค่าตอบแทนในฐานะผู้บริหารด้วย ให้แยกระบุค่าตอบแทนดังกล่าวไว้ในค่าตอบแทนในส่วนของ ผู้บริหาร

ค่าตอบแทนกรรมการ มีอะไรบ้าง

รูปแบบการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการสามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ 1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน เช่น ค่าตอบแทนประจำ เบี้ยประชุม และโบนัส/บำเหน็จ 2) ค่าตอบแทนที่ไม่เป็นตัวเงิน เช่น หุ้นบริษัท ใบสำคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุ้น สิทธิประโยชน์ เป็นต้น ซึ่งรูปแบบการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการนั้น ขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์และนโยบายค่าตอบแทนกรรมการ ...

ค่าเบี้ยประชุมยื่นแบบอะไร

แบบ ภ.ง.ด. 1ก คือ แบบสรุปการจ่ายเงินได้และภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตลอดทั้งปี จากการจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(1)(2) เช่น เงินเดือน โบนัส ค่านายหน้า ค่าเบี้ยประชุม เป็นต้น โดยกรมสรรพากรกำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้จะต้องสรุปข้อมูลส่งกรมสรรพากรปีละ 1 ครั้ง ไม่เกินวันที่ 28 กุมภาพันธ์ของทุกปี

ค่าที่ปรึกษา ถือเป็นเงินได้ประเภทใด

คำถาม : ค่าที่ปรึกษาเป็นเงินได้พึงประเมินประเภทใด ? คำตอบ : หากเป็นการให้คำปรึกษาทั่วไปเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (2) แต่หากเป็นการให้คำปรึกษาทางกฎหมาย บัญชี เป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (6)