การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา ตัวอย่าง

อย่างที่รู้กันนะครับว่า Market Segmentation ถือว่าสำคัญมากกับการทำธุรกิจและการทำความเข้าใจในกลุ่มลูกค้า ที่ส่งผลถึงความสำเร็จในการขายสินค้าหรือบริการ ซึ่งมันไม่ได้มีเพียงแค่ Demographic, Geographic, Psychological หรือ Behavioral ที่อยู่ในส่วนของกลยุทธ์ STP เท่านั้น แต่มันยังมีรายละเอียดที่ลึกลงไปมากกว่านั้น ซึ่งผมได้รวมตัวอย่างการแบ่ง Market Segmentation สำหรับคนที่ยังไม่รู้จักยังไม่คุ้นเคยและอยากเรียนรู้เพิ่มเติมมาฝากกันครับ

การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา ตัวอย่าง

Geographic Segmentation

Geographic Segmentation นั้นประกอบไปด้วยข้อมูลตามลักษณะที่ตั้งตามภูมิศาสตร์ของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะนับอยู่ในประเทศนั้นๆเป็นหลัก เว้นแต่มีการเลือกทำการตลาดไปยังต่างประเทศหรือระดับสากล

การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา ตัวอย่าง

  • ภาค (เหนือ / ใต้ / ออก / ตก / ตะวันออกเฉียงเหนือ / ตะวันออกเฉียงใต้ / ตะวันตกเฉียงเหนือ / ตะวันตกเฉียงใต้)
  • ประเทศ (ไทย / จีน / ญี่ปุ่น / สิงคโปร์)
  • สถานที่ศึกษา (มหาวิทยาลัยรัฐ / มหาวิทยาลัยเอกชน / โรงเรียนประถม / โรงเรียนมัธยม)
  • จังหวัด (กรุงเทพฯ / เชียงใหม่ / ภูเก็ต)
  • ทวีป (เอเชีย / ยุโรป / อเมริกา / แอฟริกา)
  • ชุมชนต่างๆ
  • พื้นที่ชนบท / พื้นที่ห่างไกล
  • เขตอากาศหนาว / เขตอากาศร้อน

Demographic Segmentation

Demographic Segmentation ถือว่าเป็นการแบ่งส่วนตลาดที่ใช้กันมากที่สุดหรือเรียกว่าแบ่งตามประชากรศาสตร์ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อชาติ อายุ เพศ และอื่นๆ

การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา ตัวอย่าง

  • อายุ (15-30, 31-40, 41-60)
  • เชื้อชาติ (ไทย / จีน)
  • ศาสนา (พุทธ / คริสต์ / อิสลาม)
  • เพศ (ชาย / หญิง / LGBT)
  • สถานะ (โสด / สมรส / หย่าร้าง)
  • อาชีพ (พนักงานบริษัท / ธุรกิจส่วนตัว / เจ้าของกิจการ / นักเล่นหุ้น)
  • ขนาดครอบครัว (อยู่เป็นคู่ / อยู่เป็นครอบครัว 4 คน / อยู่เป็นครอบครัวใหญ่ 5 คนขึ้นไป)
  • รายได้ (20,000 บาท / เดือน 30,000 บาท / เดือน)
  • การศึกษา (ปวช. / ปวส. / ปริญญาตรี / ปริญญาโท / ปริญญาเอก)
  • รูปแบบที่อยู่อาศัย (สไตล์โมเดิร์น / สไตล์ชิคๆ / สไตล์เรียบง่าย / สไตล์หรูหรา)
  • สถานะทางสังคม (คนทั่วๆไป / ผู้บริหารระดับสูง / ผู้บริหารระดับกลาง)

Psychographic / Lifestyle Segmentation

Psychographic / Lifestyle Segmentation หรือกลุ่มที่แยกย่อยไปในเรื่องของบุคลิกภาพ ความสนใจ ความคิดเห็น ซึ่งถือว่ามีความสำคัญมากกับการทำการตลาดในยุคใหม่ โดยเฉพาะการแบ่งกลุ่มตาม Lifestyle

การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา ตัวอย่าง

  • คลาส (ชนชั้นครอบครัว / ชนชั้นกลาง / ชนชั้นสูง)
  • บุคลิกภาพ (เคร่งขรึม / ชอบแสดงออก / มีความคิดสร้างสรรค์)
  • ทัศนคติ (ชอบคาดหวัง / คิดบวก / อยู่กับความจริง)
  • Lifestyle (ชอบท่องเที่ยว / สายกีฬา / สายสุขภาพ / รักอิสระ)
  • ลักษณะอื่นๆ (ชอบความท้าทาย / ชอบผจญภัย / เคร่งศาสนา)
  • ความคิดเห็น (การเมือง / เศรษฐกิจ / ตัวเอง)
  • งานอดิเรก (อ่านหนังสือ / เล่นเกม / ว่ายน้ำ)
  • ความสนใจ (อาหาร / เทคโนโลยี / แฟชั่น)

Behavioral Segmentation

Behavioral Segmentation หรือการแบ่งกลุ่มตามพฤติกรรมที่กลุ่มเป้าหมายตอบสนองกับการใช้สินค้าหรือบริการ

การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา ตัวอย่าง

  • โอกาสพิเศษ (วันเกิด / วันครบรอบ / วันจบการศึกษา)
  • Buyers Journey (ช่วงการรับรู้ / ช่วงการพิจารณา / การตัดสินใจซื้อสินค้า)
  • ความรู้ในตัวแบรนด์ (ไม่รู้เลย / รู้บ้าง / เข้าใจอย่างดี)
  • ประเภทความภักดีในตัวแบรนด์ (Brand Loyalty) (ไม่มีเลย / มีบ้าง / ระดับสาวก)
  • ความอ่อนไหวต่อราคา (อ่อนไหวต่อสินค้าราคาต่ำ / ไม่อ่อนไหวเลย)
  • พฤติกรรมการช้อปปิ้ง (ไม่ชอบเลย / มีความสุขเสมอ)
  • พฤติกรรมการใช้สินค้า (ใช้ปริมาณมาก / ใช้ปริมาณน้อย)
  • พฤติกรรมการซื้อสินค้า (นานๆที / ซื้อเป็นปกติ / ซื้อตามโอกาส)

Media Segmentation

Media Segmentation อาจดูไม่คุ้นสักเท่าไหร่แต่มันก็กลายเป็นเกณฑ์การแบ่งที่สำคัญไม่แพ้แบบอื่นๆ เพราะเนื่องจากในยุคนี้ที่มีช่องทางการสื่อสารมากมายอย่างโซเชียลมีเดีย ออนไลน์ และแพลตฟอร์มการสื่อสารอย่าง Line, Messenger

การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา ตัวอย่าง

  • โทรทัศน์ (เคเบิล / ดาวเทียม)
  • วิทยุ (ช่องท้องถิ่นของจังหวัด / ช่องทั่วไป)
  • โซเชียลมีเดีย (Facebook, Twitter, YouTube, Instagram)
  • สื่อสิ่งพิมพ์ (หนังสือพิมพ์ / นิตยสาร)
  • การค้นหาบนอินเทอร์เน็ต (Google / Yahoo / Bing)

Benefit Segmentation

Benefit Segmentation ก็นับเป็นอีกหนึ่ง Segmentation ที่ถือเป็นโอกาสของนักการตลาดครับซึ่งมันอยู่บนพื้นฐานของประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับจากสินค้าหรือบริการ

การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา ตัวอย่าง

  • ความสะดวกสบาย (ใช้ความพยายามในการหาสินค้า / ไม่ต้องใช้ความพยายามในการหาสินค้า)
  • การบริการลูกค้า (ตรงตามความคาดหวัง / ปกติทั่วไป / เหนือความคาดหมาย)
  • ความพิเศษ (ใช้งานง่าย / ใช้งานได้อย่างรวดเร็ว)
  • คุณสมบัติ (ต่ำ / กลางๆ / ดีมาก)

ทั้งหมดก็เป็นตัวอย่าง Market Segmetnation ในแต่ละแบบซึ่งก็หวังว่าใครที่ได้อ่านจะเข้าใจมากขึ้นและสามารถนำไปปรับใช้กับการกำหนดกลุ่มเป้าหมายทางธุรกิจได้อย่างชัดเจนและเหมาะสมมากยิ่งขึ้นครับ

ข้อใดเป็นการแบ่งส่วนการตลาดตามหลักจิตวิทยา

3.การแบ่งส่วนตลาดตามหลักจิตวิทยา (Psychographic segmentation) เป็นการใช้ ร่วมกับตัวแปรทางประชากรเพื่อให้สามารถ เข้าใจลูกค้าได้ดีกว่าเดิม โดยจะแบ่งกลุ่มลูกค้า ตามรูปแบบการด าเนินชีวิต บุคลิกภาพ ทัศนคติ ต่อชีวิต หรือค่านิยม

ข้อใดคือหลักของการแบ่งส่วนตลาด

จากความหมายการแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) หมายถึงกระบวนการการ แบ่งหรือแยกลูกค้าออกเป็นกลุ่มย่อยๆ เพื่อให้ลูกค้าที่มีลักษณะที่มีความต้องการคล้ายคลึงกันมาอยู่ใน กลุ่มเดียวกัน ทาให้เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานทางการตลาดเข้าถึงลูกค้าเป้าหมายแต่ละกลุ่ม ซึ่งมี ความต้องการแตกต่างกัน ระดับของการแบ่งส่วนการตลาด (Levels of ...

การแบ่งส่วนตลาดด้านภูมิศาสตร์ ได้แก่ อะไรบ้าง ยกตัวอย่าง

1.1 การแบ่งส่วนตลาดตามภูมิศาสตร์การแบ่งส่วนตลาด ประเภทนี้ จะประกอบด้วยเกณฑ์ทางภูมิศาสตร์เช่น 1. ภูมิภาค ภาคเหนือ กลาง ใต้ฯลฯ 2. ขนาดของพื้นที่ ขนาดใหญ่ขนาดเล็ก 3. ในเมือง ในเมือง ชานเมือง ชนบท 4. สภาพอากาศ ร้อน หนาว ฝนตก

ข้อใดคือตัวแปรที่นำมาใช้ในการแบ่งส่วนตลาดผู้บริโภคตามหลักประชากรศาสตร์

ด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ การแบ่ง อายุ เพศ ขนาด ครอบครัว รายได้ การศึกษา อาชีพ ครอบครัว ศาสนา เชื้อชาติ เป็นการแบ่งกลุ่มที่เห็นความชัดเจนทางด้านพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้บริโภค เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภค จะมีความเกี่ยวข้องกับตัวแปรทางประชากรศาสตร์สูง และที่สำคัญตัวแปรทางประชากรศาสตร์วัดผลได้ง่ายกว่าตัวแปรอื่นๆ