โครงงาน ถังขยะจากขวดพลาสติก บทที่ 2

โครงงานคอมพวิ เตอร เร่ือง ถังขยะจากขวดพลาสตกิ กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จัดทำโดย 1. นายพชั รพล ทรพั ยป ระเสริฐ เลขที่ 4 2. นายพิชชาภาส สหี รา เลขที่ 10 3. นายพีรพัฒน ราชจนิ ดา เลขที่ 15 ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 5/2 รายวชิ า ว 30284 โครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ปก ารศึกษา 2563 โรงเรียนเมอื งสรุ าษฎรธ านี สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารมัธยมศึกษา เขต 11 เก่ยี วกับโครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร

เรื่อง ถงั ขยะจากขวดพลาสติก กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ผูจดั ทำ 1.นายพัชรพล ทรพั ยประเสรฐิ เลขท่ี 4 ครทู ่ีปรกึ ษา 2.นายพิชชาภาส สีหร า เลขท่ี 10 3.นายพีรพัฒน ราชจนิ ดา เลขที่ 15 1. นายธนั พงศ พานชิ วงศ ตำแหนง ครู สถานศึกษา โรงเรียนเมอื งสรุ าษฎรธานี ปก ารศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนที่การมธั ยมศึกษา เขต 11 2563

กติ ติกรรมประกาศ โครงงานนสี้ ำเร็จข้ึนไดดวยความกรณุ าของคณะอาจารยห มวดคอมพวิ เตอร โรงเรยี นเมืองสรุ าษฎรธ านี จงั หวัดสรุ าษฎรธานี ซงึ่ ไดใ หคำปรกึ ษา ขอ ชแ้ี นะ และความชว ยเหลือ จนกระท่งั โครงงานสำเรจ็ ไปดวยดี ผูจดั ทำขอกราบขอบพระคณุ เปน อยางสูงมา ณ ที่น้ี ทา ยสดุ น้ผี ูจดั ทำหวังเปนอยางย่งิ วา โครงงานนจ้ี ะเปนประโยชนตอการศึกษาของและเปน ท่ี นาสนใจผสู นใจตอไป คณะผจู ัดทำ 1.นายพัชรพล ทรพั ยประเสรฐิ เลขที่ 4 2.นายพิชชาภาส สีหร า เลขที่ 10 3.นายพรี พฒั น ราชจินดา เลขท่ี 15

หัวขอ โครงงาน : ถังขยะจากขวดพลาสติก ประเภทของโครงงาน : ส่ือเพอื่ การศกึ ษา ผเู สนอโครงงาน : 1.นายพัชรพล ทรพั ยประเสรฐิ เลขท่ี 4 2.นายพิชชาภาส สหี รา เลขที่ 10 3.นายพรี พฒั น ราชจนิ ดา เลขท่ี 15 ครทู ปี่ รึกษาโครงงาน : ครู ธนั พงศ พานิชวงศ ปการศกึ ษา : 2563 บทคดั ยอ่ การจดั ทำโครงงานในครั้งนเ้ี พ่ือเปน การเรียนรกู ารสรา งอุปกรณท เี่ ปน ตัวอำนวยความสะดวกในการทิ้ง ขยะใหเปนที่เปน ทางและนำวัสดุเหลือใชประเภทพลาสติกมาประยกุ ตใ ช สามารถแบง แยกประเภท ของขยะใหเปน ระบบระเบียบและยงั สรา งนิสัยการท้ิงขยะอยางถกู ที่ การศกึ ษาถงึ วิธีการและขัน้ ตอน ในการสรา งเครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณแ ละการเลอื กใชวัสดุทีส่ รา งเสรมิ คุณภาพใหกับอุปกรณ อีกทง้ั ยงั สามารถประยกุ ตใ หใ ชไดกับขยะประเภทอนื่ ๆไดต ามความเหมาะสมและฟง กช นั การทำงานของ อุปกรณ เพื่อประหยดั ในเร่อื งของงบประมาณและทรพั ยากร ศกึ ษาเล็งเห็นวา คนหลายกลมุ กำลงั ประสบปญ หา เก่ยี วกับการกำจดั ขยะโดยเฉพาะขยะประเภทพลาสตกิ เมื่อปญ หาขยะลน ประเทศกำลงั สรา งความ เดอื ดรอ นดังนั้นสิ่งทปี่ ระชาชนจะสามารถชว ยไดอยา งนอยกเ็ ร่ิมท่ีตนเอง โดยการนำขยะทม่ี อี ยูใ นบา น มาประยุกตเ ปนของใชทส่ี ารมารถใชง านไดจ รงิ และมปี ระสิทธภิ าพ มคี ณุ ภาพ ดงั นั้นเมอ่ื เราคดิ ทจี่ ะนำ สงิ่ ของหรือขยะภายในบา นมาประยุกตแ ลว ถงั ขยะจากขวดพลาสติกกเ็ ปนความคิดท่ดี ที ี่จะกดั ขยะ ประเภทพลาสติกโดยไมมีการทำลายส่งิ แวดลอมและสง ผลตอ ชน้ั บรรยากาศของโลกและภาคพนื้ ดนิ จงึ เกดิ มาเปนถังขยะจากขวดพลาสตกิ ในครงั้ น้ี

สารบญั หนา ก เรื่อง ข เกีย่ วกบั โครงงาน ค กติ ติกรรมประกาศ 1 บทคัดยอ 1 บทท่ี 1 บทนำ 1 1 - ทมี่ าและความสำคญั ของโครงงาน 1 - วัตถุประสงค 2 - ขอบเขตการศกึ ษาคนควา 6 - ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดรับ 6 บทที่ 2 เอกสารและโครงงานทเี่ กยี่ วของ 6 บทที่ 3 วิธกี ารจัดทำโครงงาน 7 - วัสดแุ ละอุปกรณ 8 - วิธกี ารจดั ทำโครงงาน 9 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา บทที่ 5 ผลสรปุ และขอเสนอแนะ บรรณานกุ รม

บทที่ 1 บทนำ ทมี่ าและความสำคญั ของโครงงาน ปจจบุ นั ท้งั ในประเทศไทยและประเทศรอบนอกกต็ างประสบปญ หาใกลเคยี งกนั นน่ั กค็ ือ ปญ หาขยะลน ประเทศ โดยเฉพาะขยะประเภทพลาสตกิ ที่ทุกคนรกู นั ดวี า ขยะประเภทนยี้ อ ยสลายได ยากมากหรืออาจจะยอ ยสลายไมไดเลยดวยซ้ำ ดังน้ันในปจ จบุ นั จึงมวี นวตั กรรมตางๆที่จะสามารถ กำจัดขยะประเภทพลาสตกิ ดวยวิธีการตางๆโดยทวี่ ธิ ที ่นี ิยมและเกิดผลที่สดุ ก็คือ การนำกลับมาใชใหม ใหม ปี ระโยชนมากกวา เดมิ ทางผจู ดั ทำจงึ ไดคดิ คน ถงั ขยะจากขวดนำ้ พลาสติกทไ่ี มใชแลว ข้ึนมา โดยท่ี ในทกุ ครวั เรอื นจะสามารถเรยี นรวู ธิ ีการใชงานและวธิ ีการประดษิ ฐไ ดด วยตัวเอง ไมม คี วามซับซอน หรือใชเ คร่อื งมอื มากมายแตกลบั ไดคุณภาพและใชส อยไดน าน นอกเหนือจากเปนถังขยะแลวยงั สามารถตกแตง ใหก ลายเปน ของตกแตงบา นได อีกท้งั ยังรเิ รม่ิ ความคิดสรางสรรคใ หมๆ ในการใชว สั ดทุ ่ี สามารถหาไดใ นทองถ่ินของตนเองมาตกแตงอุปกรณไดตามตอ งการ และยังหาวสั ดไุ ดง ายหาก ตอ งการปรับปรงุ หรอื ซอ มแซม ดงั นั้นการใชถงั ขยะจากขวดพลาสติกน้จี งึ จำเปนอยางย่ิงในการกำจดั ขยะใหมีปริมาณลด นอยลงและเปนการประหยัดไปในตัว ประหยัดท้งั พน้ื ท่ีและงบประมาณ สามารถดัดแปลงไดต าม ตองการแตยงั คงมาตรฐานและคณุ ภาพเอาไว ปลอดภยั และสามารถประยกุ ตไ ดกับเทคโนโลยี วตั ถุประสงค 1. เพือ่ เปรยี บเทียบปริมาณขยะจากขวดพลาสติกระหวางการนำมาใชใหมก บั การใชแลว ทง้ิ 2. เพือ่ นำวสั ดเุ หลอื ใชภ ายในบานมาประยุกตทำถงั ขยะที่สามารถใชใ นชีวติ ประจำวันไดจ ริง ขอบเขตของการศึกษาคน ควา 1. สถานที่ โรงเรยี นเมอื งสุราษฎรธานี 2. สงิ่ ที่ศกึ ษา ศึกษาการทำถังขยะจากขวดพลาสติก ประโยชนท ี่คาดวาจะไดร บั 1. ปญหาขยะประเภทพลาสตกิ จะมีจำนวนนอ ยลงอนั นำไปสูก ารลดการเกดิ สภาวะโลกรอน 2. รูจ กั นำวัสดเุ หลอื ใชม าประยกุ ตใหเ กิดประโยชนส ูงสุด

บทที่ 2 เอกสารและโครงงานท่เี กี่ยวขอ้ ง ในการจัดทำโครงงานการคอมพวิ เตอรเ ร่ือง ถังขยะจากขวดพลาสตกิ เอกสารท่เี ก่ียวของ 1. ขยะ 2. ปญหาของขยะ 3. ขวดพลาสติก 1. ขยะ ขยะ คอื สิ่งตา งๆ ทไี่ มต องการและทิง้ มันไป ขยะมมี ากมายหลายรูปแบบ ทัง้ ท่ี เปน ของแข็ง ของเหลว ขยะท่ียอยสลายไดและทย่ี อยสลายไมไ ด ของท่ีใช ประโยชนไดแ ละท่ีใชประโยชนไมไ ด และขยะมีพิษตอมนษุ ยแ ละส่งิ แวดลอ ม ถา หากวามีการจดั การกำจดั ท่ไี มถ กู ตอ ง โดยท่วั ไปแยกเปน 4 ประเภท คอื . 1.1 ขยะเศษอาหาร หรือขยะทีเ่ นา เสยี ได เปน ขยะท่ียอ ยสลายไดง าย มี ความชื้นมาก สง กล่นิ เหมน็ ได อยา งรวดเร็ว ขยะประเภทนี้กำจัดและ นำไปใช ประโยชนไ ดโ ดยการหมักทำปุย ใชใ นการเกษตรได 1.2 ขยะอันตราย ตองแยกทิ้งตา งหาก เนอื่ งจาก สมบตั ิทางกายภาพ สารเคมี และสารชวี ภาพ มีคณุ สมบัตติ ดิ ไฟงา ย กดั ได มสี ารกดั กรอน ไดแ ก ถา นไฟฉาย หลอดไฟ กระปองยาฆา ยาแมลง เครอ่ื งสำอาง นำ้ มันเคร่ือง ภาชนะน้ำยา ทำความสะอาดสุขภณั ฑ เปนตน 1.3 ขยะท่ัวไป เปนขยะทไ่ี มสามารถนำมารไี ซเคลิ ได สามารถจำแนกออกเปน 2 ชนิด ไดแก ขยะแหง และขยะเปยก 1.4 ขยะรไี ซเคิล ขยะประเภทนี้ สามารถนากลบั มาแปรรปู กลับมาใชใหมได เปนการประหยดั พลงั งาน และทรัพยากรธรรมชาติ โดยทั่วไป การคัดแยกขยะทเ่ี กิดข้ึนจากแหลง กำเนิดตา งๆ ไมวา จะเปนชุมชน โรงเรียน ตลาดและสถานท่ีอน่ื ๆ นั้นแยกไดเ ปน 4 ประเภท คอื 1. ขยะอนิ ทรีย แยกเพอ่ื นำไปทำนำ้ หมักชีวภาพ และทำเปนปุยหมัก 2. ขยะรีไซเคลิ แยกเพ่ือการนำเอาส่งิ ของหรือวสั ด(ุ ขยะ)ที่จะทง้ิ ไปแปรรปู เพื่อนำกลับมาใชใหม 3. ขยะอันตราย แยกเพ่อื รวบรวมสง กำจดั ดวยวธิ ีทเ่ี หมาะสม อาจใชไ ดทงั้ วิธีการฝง กลบโดยวิธีพิเศษ 4. ขยะทั่วไป แยกโดยการเกบ็ นำไปกำจดั และทำลายตอ ไป

2. ปญหาของขยะ ปญหาขยะในเมอื งไทย เปนปญ หาโลกแตก เปนเวลาหลายสิบปทีเ่ จา หนา ทีท่ าง ราชการ หนวยงานวิจัย สถาบนั ทางการศึกษา พยายามหาหนทางในการแกไข ปญ หาเร่อื งขยะลนเมือง ไมม ที ่ีใดยอมใหกอสรางโรงกำจดั ขยะใกลท ่อี ยอู าศัย ของตนเอง ทำไมจงึ เปน เชนน้ัน ทั้งๆทเ่ี สยี งบประมาณตั้งมากมายพาเจาหนา ที่ ไปดูงานทตี่ า งประเทศ ใชงบประมาณในการรณรงคใ หค วามรูในการแกไข ปญ หาเรอ่ื งขยะ มเี ทคโนโลยมี ากมายที่สามารถจะนำมาใชในการแกไขปญ หา เรอ่ื งขยะ แตปจจบุ ันยังไมมที ไ่ี หนในประเทศไทย สามารถจัดการขยะไดอยาง ครบวงจรเปนทพ่ี ึงพอใจของคนทกุ ฝาย เพอ่ื ใหง า ยสรุปไดเ ปน ขอๆดงั น้ี 2.1 ประชาชนยังยึดติดกับการแกไ ขปญ หาขยะแบบเดมิ ๆ สถานทมี่ ีกลิ่นเหมน็ สกปรกไมน าชวนมอง จนทำใหไ มมใี ครยอมท่จี ะใหม กี ารสรา งโรงกำจัดขยะ ในบริเวณใกลเ คยี งกับทตี่ นเองอยอู าศยั เน่อื งจากวากย็ งั ไมมีทใ่ี ดในประเทศ ไทย มรี ะบบจดั การขยะทป่ี ระสบความสำเรจ็ สะอาด สถานทน่ี า ชวนมอง อยางที่ไปดงู านที่ตางประเทศ 2.2 เทศบาลไมม แี หลง กำจดั ขยะเนื่องจากสาเหตุขอแรก เพราะไมร วู า จะชีแ้ จง ยงั ไงใหป ระชาชนในพ้ืนที่เขาใจ จงึ ตอ งนำขยะไปทิง้ ในพื้นทห่ี า งไกล นอก พ้นื ที่ ในปา สถานที่รกราง สรา งปญหาใหก บั ชุมชนในพื้นทน่ี นั้ ๆตามมา 2.3 ทกุ คนยังมองไมเ ห็นคณุ คาของขยะเพราะวามีมลู คา เล็กนอ ย ไมทราบวา ขยะบางชนดิ มีมูลคา เมอื่ แยกขยะแลว จะไปขายท่ีไหนหรือมีวธิ ีใดบา งทจ่ี ะ จดั การขยะไดโดยเปลยี่ นใหเปน รายไดเขามา 2.4 เนอ่ื งจากทางภาครัฐยังไมม ีสถานท่ีและวีธกี ารทีถ่ กู ตอ งในการแกไขปญ หา ขยะ มกี ารกำจดั ขยะทสี่ ามารถรองรับการแยกขยะได จงึ ทำใหโครงการ รณรงคใ หป ระชนคัดแยกขยะ ไมประสบความสำเรจ็ เปนเพยี งแคไ ฟไหม ฟางในชว งตนๆ แตเม่ือประชาชนคัดแยกขยะแลว กลับไมม กี ารเกบ็ ขยะ แบบแยก เพื่อนำไปกำจดั อยางถูกวิธี ขยะเศษอาหารถกู เกบ็ นำไปปนกับ ขยะท่ัวไปเชน เดิม 2.5 การหาวธิ กี ารจัดการขยะยงั ไมลงลึกเพยี งพอในการแกไขปญหาขยะตาม สถานท่อี ยอู าศัยท่ตี า งๆกนั บานเรือน ตลาดสด อาคารพาณิชย โรงเรียน อาคารสงู อยา งโรงแรมและคอนโดมเิ นยี ม ชมชนชนบท บางท่ี สามารถกำจดั ขยะไดดวยตัวเอง บางท่ีทำไดเพยี งแยกขยะ ทำใหแ ตละที่ จะตอ งมีวธิ กี ารจดั การที่แตกตา งกนั เราสงเสริมใหประชาชนทำปุย จากขยะ แตผ ทู อี่ ยอู าศยั ในอาคารสูง อาคารพาณิชย ไมรวู า จะเอาปุยไปใชป ระโยชน ไดอยางไรเพราะไมไดมีพน้ื ท่ีปลกู พืช นีเ่ ปนตัวอยางชีใ้ หเ หน็ อยา งงา ยๆ ที่ แสดงใหเห็นเดนชัดถึงการใชวธิ ีจัดการขยะอยา งไมเหมาะสมกบั สถานที่

2.6 เทคโนโลยีทใ่ี ชก ำจดั ขยะ สามารถกำจดั ขยะไดเฉพาะขยะแยกประเภท ไม วา จะเปน การทำปุยหมกั จากขยะ การทำกา ซชวี ภาพจากขยะเศษอาหาร การนำขยะมาเผาเปนพลังงานความรอนเพือ่ ใชในการผลติ ไฟฟา แตข ยะท่ี เขาสูกระบวนการกำจัดยงั ไมไ ดแ ยกอยางสมบรู ณ ทำใหเ ทคโนโลยีดังกลาว ประสบปญหาในการดำเนินการ 2.7 การขัดผลประโยชนของกลุมผูฝงกลบขยะ โครงการใหมทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ เพอ่ื พฒั นาระบบกำจัดขยะจึงถกู ระงบั ถูกตอตานจากชุมชนโดยมผี ูมอี ทิ ธิผลที่ เสียผลประโยชนห นนุ อยภู ายหลงั 3. ขวดพลาสติก ในปจจุบันพลาสติกเขามามบี ทบาทตอ ชีวติ ประจำวนั ของมนุษยเ รามาก ทัง้ ของ เลน อปุ กรณเ ครอ่ื งใชไ ฟฟา เครอ่ื งประดบั รวมถึงภาชนะบรรจุสินคา ตา งๆ มากมาย พลาสติกทน่ี ำมาใชเ หลาน้มี ีหลายชนิด ซึ่งมคี ุณสมบตั แิ ตกตา งกันไป ในบรรดาของท่ีทำดว ยพลาสติกดงั กลา ว พลาสติกเพื่อการ บรรจหุ บี หอ นับวา ไดรับความสนใจเปนพิเศษ ทงั้ ในเชงิ การคา การตลาด และอตุ สาหกรรม มี อตั ราการเจริญเติบโตเพม่ิ ขนึ้ สูงมาก แบง ไดเปน 2 ประเภทดังน้ี 3.1 ภาชนะบรรจุชนิดแข็ง (rigid container) เชน ขวดนำ้ มันพชื ขวดนม กลอ ง โฟมและถาดพลาสติก 3.2 ภาชนะบรรจุชนิดออ นตัวได (flexible container) เชน ถุงใสน ำ้ แขง็ ถงุ ขนม ถงุ หวิ้ ทัง้ หลาย รวมทงั้ ฟลม หอ อาหาร สกนี แพค (skin pack) และบริ สเตอรแ พค(blister pack)เปนภาชนะพลาสติกท่ที ำจากแผนพลาสติก ทขี่ ้ึน รปู ดวยความรอนแลว นำมาประกบหรอื ประกอบกระดาษแข็ง ซงึ่ แผน พลาสตกิ ดงั กลา วทำมาจากพอลลไิ วนลิ คลอไรด (PVC) ตวั อยา งเชนเครื่อง เขยี น แปรงสฟี น เปนตน ชนิดของขวดพลาสติกแบง ไดด ังน้ี 1. ขวดทำจากพอลิไวนลิ คลอไรด คณุ สมบตั ทิ ว่ั ไปจะใส สามารถปองกนั กาซซมึ และไขมนั ซมึ ผานไดด ี ทนความเปนกรดไดดี ไมท นความรอ น และความเยน็ จึงเหมาะสำหรับใชท ่อี ณุ หภมู ิ ตามปกติ มักจะใชในการ บรรจุเครื่องสำอาง นำ้ ผลไม น้ำมันพืช น้ำสม สายชู และผลติ ภณั ฑทาง เคมี ขวดนำ้ พลาสติกนั้นเวลานำมาใชซ ำ้ ๆ จะมีสารเคมที สี่ ามารถ ละลายออกมาได โดยเฉพาะเมื่อขวดมีการยุบตวั รวมถึงขวดเพท และ

2. ขวดขาวขุนดวย(ขวดขาวขุนจะละลายออกมามากกวา โดยเฉพาะเมื่อ เกบ็ ไมถ กู วิธ)ี 3. ขวดทำจากพอลลิสไตรนี ปอ งกนั กาซและไอน้ำไดไมดนี ัก ทนความเปน กรดไดป านกลาง ไมท นความรอ นและความเย็น เหมาะสำหรับใชท ี่ อุณหภมู ปิ กติ โดยทัว่ ไปนยิ มใชบ รรจุ ยาเมด็ วติ ามิน เคร่อื งเทศ และ ทำใหมขี นาดใหญสำหรบั ใชบรรจุนมเพ่ือการขนสง แตไ มน ิยมใชใ นบาน เรา 4. ขวดทำจากพอลลิเอทีลีน มีการใชใ นสองลักษณะคือ พอลลิเอทลี นี ชนิด ความหนาแนน ตำ่ และพอลลิเอทีลนี ชนดิ ความหนาแนนสงู โดยทั่วไป ขวด ชนิดนีจ้ ะยอมใหไ อน้ำซมึ ผานไดน อ ย แตจ ะยอมใหกา ซซมึ ผานได ทนความเปนกรดไดป านกลาง ทนความรอนไดไมด ี มากนกั แตจะทน ความเย็นไดด ีมาก สำหรบั ขวดท่มี ชี นิดความหนาแนน สงู มักจะใชบ รรจุ นม ผงซกั ฟอก นำ้ ดม่ื สารเคมแี ละเคร่ืองสำอาง 5. ขวดทำจากพอลลโิ พรพลี นี คณุ สมบตั โิ ดยท่ัวไปแลวจะยอมใหไอนำ้ ซมึ ผา นไดนอยแตจ ะยอมใหกาซซมึ ผานไดดี ทนความเปนกรดไดปาน กลาง ทนความรอนไดดี แตจ ะไมท นความเยน็ จึงไมเ หมาะแกก ารแช เย็น โดยทว่ั ไปใชใ นการบรรจยุ า นำ้ ผลไม นำ้ เช่ือม เคร่ืองสำอาง แชมพู 6. ขวดทำจากพอลลเิ อทีลีนเทอรฟะทาเลตหรือพอลลเิ อสเธอร ขวดเพท คณุ สมบตั โิ ดยทว่ั ไปจะแขง็ ใส ปองกนั การซมึ ผา นของไอน้ำไดปานกลาง แตปองกนั การซึมผานกาซไดดมี าก ทนความเปนกรดไดแ ละความเย็น ไดดี มักนิยมใชบ รรจุเคร่อื งดื่มประเภทนำ้ อัดลม เบียร นอกจากน้ยี งั บรรจุของเหลวมแี อลกอฮอลไ ด เชน แชมพนู ้ำ โคโลญจ โลชัน่ เปน ตน

บทท่ี 3 วธิ กี ารจดั ทำโครงงาน วัสดุและอุปกรณ์ วัสดแุ ละอุปกรณท ใ่ี ชใ นการจดั ทำโครงงาน ไดแก 1. ปน ยงิ กาวซิลโิ คน จำนวน 1 เครอื่ ง 2. ขวดพลาสติก จำนวน 46 ขวด 3. โครงเหลก็ (ทำเปน ทรงกระบอก) จำนวน 5 เสน 4. ลวด จำนวน 1 มวน 5. คมี ตดั ลวด จำนวน 1 อัน วธิ ีการจดั ทำโครงงาน การศึกษาเรอ่ื ง ถงั ขยะจากขวดพลาสติก ไดด ำเนนิ การทดลอง ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ขัน้ ตอนการทำ ถังขยะจากขวดพลาสตกิ 1. วางขวดเรยี งตามโครงเหล็ก รัดขวดใหเ รยี งตดิ กนั ดว ย ลวด 2. ทำ 3 - 4 ชนั้ วางเรยี งใหส วยงาม 3. นำเหลก็ อีกเสน ที่เตรียมไวมาทำเปน ฝาปด 4. นำไปใสถ งุ ดำ เพือ่ ใสขยะ ตอนท่ี 2 ข้นั ตอนการทดลองถังขยะจากขวดพลาสติก 1. ทำการทดลองถังขยะจากขวดพลาสติก โดยการทดลองใชถงั ขยะจากขวดพลาสตกิ วาแขง็ แรง ทนทานและสวยงามตามทว่ี างแผนไว

บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา การจัดทำโครงงานคอมพวิ เตอรพัฒนาสือ่ เพอื่ การศึกษา เรอื่ ง ถังขยะจากขวดพลาสติก วตั ถุประสงคเพอ่ื เพอ่ื เปรียบเทยี บปริมาณขยะจากขวดพลาสติกระหวางการนำมาใชใหมก บั การใชแ ลวท้งิ และเพ่อื นำวัสดเุ หลือใชภายในบานมาประยกุ ตทำถังขยะที่สามารถใชใ นชวี ติ ประจำวัน ไดจ ริงมีผลการดำเนินโครงงาน ดงั น้ี การพัฒนาโครงงาน ถงั ขยะจากขวดพลาสติก อุปกรณท ใ่ี ชในการทง้ิ ขยะโดยประดิษฐจ ากสิง่ ของเหลือใชอ ยา งขวด น้ำพลาสตกิ เพ่ือลดโลกรอนและใชวัสดเุ หลอื ใชใหเ กดิ ประโยชนสงู สดุ

บทที่ 5 สรุปผลและขอเสนอแนะ การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอรเ ร่ือง ถงั ขยะจากขวดพลาสติก สามารถสรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงงานและขอ เสนอแนะ ดงั น้ี การดำเนนิ การจัดทำโครงงาน วัตถปุ ระสงคของโครงงาน 1. เพอ่ื เปรยี บเทยี บปรมิ าณขยะจากขวดพลาสติกระหวางการนำมาใชใหมก ับการใชแ ลวทง้ิ 2. เพ่ือนำวัสดเุ หลอื ใชภ ายในบานมาประยกุ ตทำถังขยะท่ีสามารถใชใ นชีวติ ประจำวัน สรปุ ผลการศึกษา การดำเนินงานโครงงานน้ีบรรลวุ ัตถปุ ระสงคท่ีไดกำหนดไว คือ เพอื่ เปรียบเทียบปริมาณขยะ จากขวดพลาสตกิ ระหวา งการนำมาใชใ หมก บั การใชแ ลว ทงิ้ และเพอ่ื นำวสั ดเุ หลือใชภ ายใน บา นมาประยุกตทำถงั ขยะท่ีสามารถใชในชวี ติ ประจำวันไดจรงิ ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรมแี บบแผนในการทำงานมากกวา่ นี้

บรรณานกุ รม https://sites.google.com/site/jatfluk/home-1/khwam-hmay-khxng-khwd- phlastik https://sites.google.com/site/khyarisikheil/khya-khux