โครงงานสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ 5 บท

กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงงานสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เรื่อง D.I.Y.เก้าอี้
ไดป้ ระสบความสำเรจ็ และไดป้ ระโยชนจ์ ากการศึกษาเป็นอย่างมาก ทง้ั ในเรอ่ื งของการรีไซเคิล และยังได้ความรู้
เพิ่มเดิมเกี่ยวกับเนื้อหาของงานที่ศึกษา เพราะได้รับการช่วยเหลือจากครูที่ปรึกษา รวมไปถึงผู้มีความรู้และ
ประสบการณ์ ผู้จัดทำขอขอบคุณ คุณครูวรินทร สังข์ลาย ครูท่ีปรึกษาผู้ให้การสนับสนุน ให้คำปรึกษา
ขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขปัญหาต่างาระหวา่ งทำโครงงาน และให้การชว่ ยเหลอื ในการเรยี บเรียงรปู เลม่ โครงงาน
โดยใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบวิธีการจัดทำรปู เลม่ โครงงานท่ีถูกต้อง ผู้อำนวยการสถานศึกษา กศน.อำเภอเรณูนคร
ทเี่ ออื้ เฟอ้ื สถานทใี่ นการทำการประดิษฐ์

คณะผูจ้ ัดทำ

คณะผ้จู ัดทำ : นางสาวอไุ ลพร ธรรมเม
นางสาวจริ าพร รักษาพล
นายอรรถพล อรรคสงั ข์
นายพรประสทิ ธ์ิ อรรคสังข์

ชอื่ เรือ่ ง : D.I.Y.เก้าอี้
ท่ีปรึกษา : นางสาววรนิ ทร สังข์ลาย
ปีการศึกษา : 2565

บทคัดยอ่

ในปัจจุบันความนิยมในการใช้ขวดพลาสติกในการบรรจุอาหารและเครื่องดื่มมีเป็นจำนวนมาก
เนื่องจากสะดวกในการใช้งาน หาง่ายและมีราคาถูก ผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะทำให้เกิดขยะมูลฝอยพลาส ติก
ซงึ่ เปน็ สาเหตุประการหน่ึงที่ก่อให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อมและมผี ลต่อสุขภาพ อนามยั ขยะมปี ริมาณเพิ่มข้ึนทุกปี
เพราะสาเทตุของการเพ่ิมข้ึนของประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกจิ และอตุ สาหกรรม นบั เป็นปัญหาท่ีสำคัญ
ซึ่งได้รับการแก้ไข การกำจัดขยะโดยการเผา ซึ่งต้องจัดการและแก้ไข ปริมาณกากของเสีย และสารอันตราย
ได้แก่ ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และสารพิษ ที่ปนเป้ือนอยู่ในแหล่งน้ำ ดิน และอากาศ ตลอดจนบางส่วนตกค้าง
อยู่ในอาหาร ทำให้ประชาชนทั่วไป เสี่ยงต่ออันตรายจากการเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคผิดปกติทาง
พันธุกรรม เป็นตน้

ในพื้นที่กศน.อำเภอเรณูนคร มีมีบุคลากรทั้งหมด 24 คน การซื้อน้ำดื่มมาบริโภคภายใน กศน.อำเภอ
เรณูนคร เมื่อบริโภคเสร็จคนในบุคลากรจะทิ้งขยะ ทำให้เกิดปัญหาขยะล้นถัง โดยที่ขยะพวกนั้น
ไม่ก่อประโยชน์อะไรเลย ทางคณะผู้จัดทำจึงคิดที่จะลดขยะด้วยการนำกลับไปใช้ใหม่อีกครั้ง ด้วยการทำ
โครงงานชนิ้ น้คี ือ การทำเก้าอขี้ วด เพอ่ื ช่วยลดขยะภายในกศน.อำเภอเรณนู คร และเป็นประโยชน์ตอ่ การใช้งาน
อกี ด้วย ซงึ่ ทางคณะผู้จดั ทำได้กำหนดขวดที่มลี ักษณะของก้นขวด เปน็ เหมือนปมุ่ เพอ่ื ความสวยงามและนำาใช้
จึงเลือกสีของขวดเปน็ สีโทนเดยี วกัน และ ไดเ้ ลือกขวด ทีม่ ีความแข็งเพื่อท่จี ะสามารถรองรับน้ำหนักของผู้ท่ีน่ัง
ได้ การทำโครงงานเรื่องเก้าอี้ขวดนี้ ไม่เพียงแต่ช่วยลดขยะกายในกศน.อำเภอเรณูนคร เท่านั้น แต่ยังสามารถ
เปน็ เคร่อื งชว่ ยให้ผ้ทู ่นี ัง่ นน้ั ผอ่ นคลายได้อกี ดว้ ย เน่อื งจากลกั ษณะของก้นขวดทท่ี างคณะผจู้ ดั ทำออกแบบขึ้นน้ัน
เปน้ ปุ่มขนาดเล็ก ซึง่ จะเป้นตวั ชว่ ยในการผอ่ นคลายให้แกผ่ ้ทู ่ีนง่ั หรือให้เก้าทส่ี ำหรับนอนพักผ่อนได้อีกด้วย

จากปัญหาดังกล่าวทางคณะผู้จัดทำจงึ ได้ทำการประดษิ ฐ์ “D.I.Y.เก้าอี้” ขวดขึ้น เพื่อต้องการ ที่จะลด
ขยะภายใน กศน.อำเภอเรณูนคร และเพอ่ื นำขยะนน้ั ไปประยุกตใ์ ช้ใหเ้ กิดประ โยซน์ ซึง่ การเลอื กเก้าอี้ขวดน้ีได้
เปน็ ส่ิงประดษิ ฐ์ทส่ี ามารถปัญหาขยะภายใน กศน.อำเภอเรณนู ครได้ และยงั สามารถนำไปต่อยอดในการทำเป็น
เฟอร์นิเจอรต์ กแต่ง

วัตถุประสงค์ เพ่อื ลดขยะภายใน กศน.อำเภอเรณนู คร เพอ่ื เสริมสร้างทักษะกระบวนการเรียนรู้ในการ
ทำงานเปน็ กลมุ่ เพอื่ ใหเ้ กิดความคดิ สร้างสรรคใ์ นการทำงาน

จากผลการทดสอบ พบว่า เก้าอี้ขวดพลาสติก มีความคงทนแข็งแรงและมีการรองรับแรงกระแทกได้ดี
กว่าพลาสติกทวั่ ไปเนื่องจากขวดน้ำพลาสติกไสมีคุณสมบัติ เหนยี วไม่แตกง่ายทนต่อแรงกระแทก ซง่ึ เป็นไปตาม
สมมตุ ฐิ าน 100%

สารบัญ จ
เรือ่ ง
หน้า
กิตติกรรมปะกาศ
บทคดั ยอ่ ก
สารบัญ ข
บทที่ 1 บทนำ ง
1
ความเป็นมาและความสำคัญ 1
วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 1
สมมตฐิ านของโครงงาน 1
ขอบเขตการทำโครงงาน 2
ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั 2
บทท่ี 2 เอกสารและโครงงานทเี่ ก่ียวข้อง 3
ความเปน็ มา 3
การใช้งาน 4
ตัวอยา่ งผลติ ภณั ฑท์ ่ที ำจาก LDPE 4
ความปลอดภยั 4
พลาสติก 4
สมบัตทิ ว่ั ไปของพลาสติก 4
ประเภทของพลาสติก 5
ระยะเวลาในการย่อยสลาย 6
บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนนิ งาน 7
วัสดุอปุ กรณ์ 7
วธิ ีการทำ 7
บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานและอภิปรายผลการดำเนินงาน 8
สรุปผลการดำเนินงาน 8
อภปิ รายผลการดำเนินงาน 9
บทท่ี 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ 10
สรุปผลการดำเนนิ งาน 10
ขอ้ เสนอแนะ 10
บรรณนุกรรม 11
ภาคผนวก 12
ภาพประกอบ 12

1

บทที่ 1
บทนำ

ทีม่ าและความสำคญั ของโครงงาน
ในปัจจุบันความนิยมในการใช้ขวดพลาสติกในการบรรจุอาหารและเครื่องดื่มมีเป็นจำนวนมาก

เนื่องจากสะดวกในการใช้งาน หาง่ายและมีราคาถูก ผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะทำให้เกิดขยะมูลฝอยพลาสติก
ซึง่ เป็นสาเหตปุ ระการหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อมและมผี ลต่อสุขภาพ อนามัย ขยะมปี ริมาณเพิ่มข้ึนทุกปี
เพราะสาเทตุของการเพิ่มข้ึนของประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกจิ และอุตสาหกรรม นับเป็นปัญหาท่ีสำคัญ
ซึ่งได้รับการแก้ไข การกำจัดขยะโดยการเผา ซึ่งต้องจัดการและแก้ไข ปริมาณกากของเสีย และสารอันตราย
ได้แก่ ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และสารพิษ ที่ปนเปื้อนอยู่ในแหล่งน้ำ ดิน และอากาศ ตลอดจนบางส่วนตกค้าง
อยู่ในอาหาร ทำให้ประชาชนทั่วไป เสี่ยงต่ออันตรายจากการเป็นโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคผิดปกติทาง
พนั ธกุ รรม เป็นตน้

ในพื้นที่กศน.อำเภอเรณูนคร มีมีบุคลากรทั้งหมด 24 คน การซื้อน้ำดื่มมาบริโภคภายใน กศน.อำเภอ
เรณูนคร เมื่อบริโภคเสร็จคนในบุคลากรจะทิ้งขยะ ทำให้เกิดปัญหาขยะล้นถัง โดยที่ขยะพวกน้ัน
ไม่ก่อประโยชน์อะไรเลย ทางคณะผู้จัดทำจึงคิดที่จะลดขยะด้วยการนำกลับไปใช้ใหม่อีกครั้ง ด้วยการทำ
โครงงานชน้ิ นค้ี อื การทำเก้าอขี้ วด เพื่อช่วยลดขยะภายในกศน.อำเภอเรณูนคร และเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน
อีกด้วย ซงึ่ ทางคณะผู้จัดทำได้กำหนดขวดท่ีมลี ักษณะของก้นขวด เปน็ เหมอื นปมุ่ เพือ่ ความสวยงามและนำาใช้
จึงเลือกสีของขวดเปน็ สโี ทนเดียวกัน และ ได้เลอื กขวด ท่ีมีความแข็งเพื่อท่ีจะสามารถรองรับน้ำหนักของผู้ที่น่ัง
ได้ การทำโครงงานเรื่องเก้าอี้ขวดนี้ ไม่เพียงแต่ช่วยลดขยะกายในกศน.อำเภอเรณูนคร เท่านั้น แต่ยังสามารถ
เป็นเครื่องชว่ ยใหผ้ ู้ที่นงั่ นน้ั ผอ่ นคลายได้อีกดว้ ย เนอื่ งจากลกั ษณะของก้นขวดที่ทางคณะผู้จดั ทำออกแบบขึ้นน้ัน
เปน้ ปมุ่ ขนาดเลก็ ซ่งึ จะเปน้ ตวั ชว่ ยในการผอ่ นคลายใหแ้ กผ่ ู้ทีน่ ่ังหรือใหเ้ ก้าทีส่ ำหรบั นอนพักผ่อนได้อีกดว้ ย

จากปัญหาดังกล่าวทางคณะผู้จัดทำจงึ ได้ทำการประดิษฐ์ “D.I.Y.เก้าอี้” ขวดขึ้น เพื่อต้องการ ที่จะลด
ขยะภายใน กศน.อำเภอเรณนู คร และเพือ่ นำขยะน้นั ไปประยุกตใ์ ช้ให้เกิดประ โยซน์ ซึง่ การเลือกเก้าอ้ีขวดน้ีได้
เป็นสิ่งประดิษฐ์ทีส่ ามารถปญั หาขยะภายใน กศน.อำเภอเรณนู ครได้ และยังสามารถนำไปต่อยอดในการทำเป็น
เฟอรน์ ิเจอร์ตกแต่ง

วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน
1. เพอื่ ลดขยะภายใน กศน.อำเภอเรณูนคร
2. เพอื่ เสริมสร้างทกั ษะกระบวนการเรียนรู้ในการทำงานเป็นกลุ่ม
3. เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความคดิ สร้างสรรค์ในการทำงาน

สมมติฐานของโครงงาน
เก้าอ้จี ากขวดพลาสติกมคี วามแข็งแรงสามารถนั่งได้ 100%

2

ขอบเขตในการดำเนนิ งาน
เริ่มดำเนินการ วันที่ 15 สิงหาคม 2565 ถึง 22 สิงหาคม 2565 พื้นที่ กศน.อำเภอเรณูนคร

จังหวดั นครพนม
ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รบั

1.จำนวนขยะภายใน กศน.อำเภอเรณนู คร มีจำนวนลดลง
2. นักศึกษา กศน.อำเภอเรณูนคร รู้จักการนำขยะไปประยุกต์ใช้ขยะ ให้เป็นของใช้และ ของตกแต่ง
ภายในบ้านได้

3

บทท่ี 2
เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง

เอกสารท่ีเก่ียวข้อง
ในการศึกษาโครงงานเรอื่ ง “D.I.Y.เก้าอ”ี้ จากขวดน้ำพลาสติกคณะผศู้ ึกษา ได้ค้นควา้ รวบรวมขอ้ มลู

จากเอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ งและจากเวบ็ ไซด์บนเครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เนต็ โดยขอนำเสนอตามลำดับ ดังนี้
2.1 ชนิดของขวดพลาสตกิ ท่ีใช้ทำเก้าอี้ขวดคือ พอลเิ อทิลนี , Low-density Polyethylene

2.2 สูตรโครงสร้างทางเคมี: พอลิเอทิลีนผลิตจากแก๊สเอทิลีนที่ผ่านกระบวนการเติมสารที่ทำให้
สามารถจับตัวกันเป็นพอลิเมอร์ได้ภายใด้แรงดันขนาดต่างๆ ทำให้ได้พอลิเมอร์ที่มีขนาคตั้งแต่น้ำหนักโมเลกุล
ตำ่ (ลักยณะเป็นน้ำมนั หรือไขขน้ ) ไปจนถงึ ขนาดโมเลกุลสูง (ลกั ษณะเป็นของแข็งท่ียืดหยุ่นได)้

2.3 คุณสมบัติทางกายภาพ : LDPE เป็น โพลีเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (0.9 10 - 0.940 กรัมต่อ
ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร) ท่ผี ลิตโดยใชแ้ รงดันสงู จากกระบวนการ Free Radical Polymeri zation มีความเหนี่ยว
และยืดหยุ่น ได้ดี ทนต่อการกรอบแตก มีความนิ่ม ความใส แต่ใสไม่เท่าพลาสติกชนิด PP (Po lypropylenc,
สัญลักษณ์เลข 5) โครงสร้างทางเคมีเป็นกิ่งสาขา (branching) มากกว่า โครงสร้างทางเคมีของ HDPE (High-
density polyethylene, สญั ลกั ษณ์เลข 2) จงึ มีแรงดึงดตู ระ หว่างโมเลกุลของพอลิ เมอร์ตำ่ กว่า และมีความ
แข็งแรงทนทานน้อยกว่า HDPE LDPE ทนความร้อนได้ไม่มากนัก แต่ทนสารเคมีได้ดี โดยทนความร้อน
(ทนอุณหภูมิสูงถึง 80 C และ ทนอุณหภมู ิสงู ถึง 95 C ในชว่ งส้นั ๆ) แต่ไม่สามารถทนอุณหภูมิสูงในหม้ออัดไอ
น้ำ (Autoclave) เทา่ พลาสตกิ ชนดิ PP และทนต่อสารเคมีน้อยกว่า HDPE เร่ิมหลอมตัวท่ี 20 C ทนความเย็น
ไดถ้ ึง 50 C ทนตอ่ สภาพอากาศไดด้ พี อสมควร แต่อากาศสามารถซมึ ผา่ นได้

LDEP ขาวขุ่น โปร่งแสง มีความสี่นมันในตัว มีความเหนียวและยืดหยุ่นไม่มีกลิ่นไม่มีรสมีความ
หนาแน่นจึงลอยนำ้ ได้ สามารถผสมใหม้ สี ตี า่ ง ๆ ได้
ความเปน็ มา

พอลิเอทิลิน (Polyethylene หรือ Polythene) ถูกค้นพบในปี 1933 โดย Reginald Gibson and
Eric Fawcett แห่งบริษัท Imperial Chemical Industries (ICI) ในประเทศอังกฤษ วัสดุประเภทนี้มี 2
รูปแบบ คือ LDPE และ HIDPE โดย LDPE ใช้ผลิตแผ่นฟิล์มและวัสดุสำหรับบรรจุภัณฑ์ ส่วน HDPE มีความ
แข็งแรงกวา่ ใช้ผลิตบรรจุภัณฑท์ อ่ น้ำและอุปกรณ์ยานยนต์

4

LDPE เป็นวัสอุประเกท Polyethylene Thermoplastic ที่ได้จากอุตสาหกรรมปีโตรเลียมจัดเป็น
พลาสติก ที่ได้รับ สัญลักษณ์เลข 4 ซึ่งหมายถึง Resin Identification Code 4 เพื่อความสะดวกสำหรับ
การจำแนกชนิดของพลาสติกในการนำกลับไปเวยี นทำใหม่ (recycled)
การใชง้ าน

LDPE มคี วามเหนยี วและมีความยืดหยนุ่ เหมาะสำหรับผลติ แผน่ ฟิล์มต่าง ๆ เช่น วัสดุสำหรบั บรรจุหีบ
ห่ออาหาร ซองอาหาร ถุงใสข่ อง และเคลอื บด้านในของลังกระดาษ
ตวั อย่างผลติ ภณั ฑท์ ่ที ำจาก LDPE

- ถงุ เย็น ถุงก๊อบแก๊บ
- ซองใส่อาหาร
- เครอื่ งเลน่ เดก็
- ฉนวนหุ้มสายไฟฟา้ สายเคเบล้ิ
- ขวดพลาสติกชนิดบบี ได้ โดยฉพาะขวดท่ใี ชใ้ นห้องปฏิบัติการ
ความปลอดภัย
เนื่องจากภาชนะที่ใช้ในการบรรจุอาหารต้องสัมผัสกับอาหาร โดยตรง ผู้บริโภคจึงควรคำนึงถึง ความ
ปลอดภัยของภาชนะเหล่านั้นว่ามีการทำปฏิกิริยากับอาหารที่บรรจุอยู่หรือไม่ และมีการปลดปล่อยสารต่าง ๆ
ออกมาสู่อาหารหรือไม่ สำหรับถุงพลาสติกทีท่ ำจาก LDPE ซึ่งมีสีต่าง ๆ ผู้ใช้อาจได้รับอันตราย จากตะกั่วและ
แคคเมียมท่ีปนเป้ือนอยูใ่ นเม็ดสที ่ีเติมเข้าไปในการผลติ
อย่างไรก็ตามสารเคมีอันตรายหลายตัว ที่ถูกนำมาใช้ในระหว่างกระบวนการผลิตและ การนำกลับไป
เวียนทำใหมข่ อง LDPE ได้แก่
- เบนซีน ซ่ึงใชเ้ ป็นตวั ทำละลาย มผี ลต่อระบบประสาทส่วนกลาง เช่น มึนงง คลืน่ ไส้ นอนไมห่ ลับ
- บิวทลิ โฮโครเพอร์ออกไซด์ และกิวมีนไฮโดรเพอร์ออกไซด์ ใช้ในกระบวนการจับตัวเปน็ โพลเี บอรข์ อง
โพลเี อทลิ ีน สารนีอ้ าจแสดงอันตรายหากกลนื กิน หายใจ หรอื ซมึ ผ่านผวิ หนัง
- โครเมียม (6) ออกไซค์ ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในกระบวนการจับตัวเป็นโพลีเมอร์ของโพลืเอทินท้ัง
ชนิดความหนาแน่นสูงและต่ำข้อมูลจากสัตว์ทคลองพบว่าสารนี้อาจเกย่ี วข้องกับการก่อมะเรง็ และก่อการกลาย
พนั ธก์ุ ารทำงานกบั สารน้ี เปน็ เวลานานอาจเกิดอนั ตรายตอ่ ตบั และ ระบบประสาท
พลาสตกิ
พลาสติก (Plastie) คือ สารที่สามารถทำให้เป็นรูปต่าง ๆ ได้ด้วยความร้อน พลาสติกเป็นพอลิเมอร์
ขนาคใหญ่ มวลโมเลกลุ มาก
สมบตั ทิ ่วั ไปของพลาสตกิ
- มคี วามเสถยี รมากในธรรมชาติ สลายตัวยาก มมี วลนอ้ ย และเบา
- เป็นฉนวนความร้อนและไฟฟ้าท่ีดี
- ส่วนมากออ่ นตัวและหลอมเหลวเมือ่ ไดร้ ับความร้อน จึงเปล่ียนเปน็ รปู ต่างๆ ไดต้ ามประสงค์

5

ประเภทของพลาสตกิ

1. เทอร์มอพลาสติก เมื่อ ได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว สามารถเปลี่ยนรูปได้
พลาสตกิ ประเภทน้ี โครงสรา้ งโมเลกุลเป็น โซ่ตรงยาว มกี ารเชื่อมต่อระหว่างโซ่พอลิเมอร์น้อยมาก จึงสามารถ
หลอมเหลว หรือเม่ือผ่านการอัดแรงมากจะไม่ทำลายโครงสร้างเดิม ตัวอย่าง พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอ
ลสิ ไตรีน

2. พลาสติกเทอร์มอเซต จะคงรูปหลังการผ่านความร้อนหรอื แรงดันเพียงครั้งเดียว เมื่อเย็นลงจะแข็ง
มาก ทนความร้อนและความดัน ไมอ่ ่อนตวั และเปล่ียนรูปรา่ งไม่ได้ แต่ถ้าอุณหภมู สิ งู ก็จะแตกและ ไหม้เป็นขี้เถ้า
สีดำ พลาสติก ประเภทนี้ โมเลกุลจะเชื่อม โยงกันเป็นร่างแหจับกันแน่น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมลกุลแข็งแรง
มากจงึ ไม่สามารถนำมาหลอมเหลวได้ ตัวอย่าง เมลามนี พอลยิ ูรีเทน

6

ชนดิ ระยะเวลาในการย่อยสลาย
ผ้าฝ้าย
เศษกระดาษ ระยะเวลาในการย่อยสลาย
เชอื ก 1-5 เดือน
เปลือกสม้ 2-5 เดือน
ผา้ ขนสตั ว์ 3-14 เดอื น
ถ้วยกระดาษเคลือบ 6 เดือน
1 ปี
ไม้ 5 ปี
กน้ กรองบุหร่ี 13 ปี
รองเทา้ หนงั 15 ปี
กระป๋องอะลูมเิ นยี ม 25-40 ปี
กระป๋องเหล็ก 80-100 ปี
ขวดพลาสตกิ 100 ปี
ถุงพลาสติก 450 ปี
450 ปี

7

บทที่ 3
วธิ ีการดำเนนิ การ

วธิ กี ารดำเนินการทำโครงงาน มีข้นั ตอนการดำเนนิ งาน ดงั น้ี
อุปกรณ์

1.เสื้อผ้าเกา่
2.เทปแลค็ ซีน
3.กรรไกร
4.ขวดนำ้ 1.5 ลิตร จำนวน 12 ขวด
5.เศษไม้อัดเกา่
6.เขม็ กับด้าย
7.เบาะน่ังใบเก่า
8.ปนื กาว
วิธีการทำ
1.คณะผู้จัดทำเก็บขวดน้ำพลาสติก 1.5 ลิตร
2.นำขวดนำ้ พลาสตกิ มาลา้ งให้สะอาด จำนวน 12 ขวด
3.นำขวดนำ้ พลาสตกิ ทีเ่ รยี งเป็น 3 ขวด พนั ด้วยเทปแล็คซีน และพนั ประกบเพม่ิ 3 ขวด
เปน็ 6 ขวด พนั เพ่ิมอีก 3 ขวด เปน็ 9 ขวด พันเพิ่มอีก 3 ขวด เป็น 12 ขวด แลว้ พันให้แน่น
ป้องกันการเอนเอยี งขณะนั่ง
4.นำไมอ้ ัดท่ีตัดความกว้าง 30 เซนตเิ มตร ยาว 40 เซนติเมตร วางบนขวดทีพ่ ันไวแ้ ล้ว
5.ยงิ กาวรอ้ น บนขวดทั้ง 12 ขวด เพอื่ นำไม้อดั ท่ีตัดไวม้ าวางไว้
5.นำเบาะเก่าเยบ็ กับเส้ือผา้ เก่าเปน็ ชายเก้าอ้ีเพื่อเปน็ เบาะรองนัง่
6.นำเบาะรองนัง่ ที่เย็บไว้แล้วมาวางขวดพลาสติกเพ่ือความสวยงาม

8

บทท่ี 4
ผลการดำเนินงานและอภิปรายผลการดำเนนิ งาน

ตาราง แสดงการประเมินความพึงพอใจ เรอ่ื ง D.I.Y.เกา้ อ้ี บุคลากร กศน.อำเภอเรณนู คร ผลปรากฎวา่
ระดับชว่ งคะแนนความพงึ พอใจ

ลำดับที่ รายการ 5 4 3 2 1 รอ้ ยละ

1 ความประณตี ความสวยงามของช้ินงาน

2 ความคงทน ความแขง้ แรง

3 ความสะดวกสบายในการเคลอื่ นยา้ ย

4 ความปลอดภัยในการใช้ช้นิ งาน

5 ประสิทธิภาพของชน้ิ งาน

6 สามารถซ่อมแซมบำรงุ ไดง้ า่ ย

7 ความนา่ สนใจในชนิ้ งาน

8 ความสะดวกสบายในการใชช้ ิ้นงาน

9 การใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ

10 ประโยชน์ของช้นิ งานเม่ือนำไปใช้ใน

ชีวติ ประจำวัน

ชว่ งคะแนน 81.00 – 100.00 ระดบั 5 หมายถึง ดีมาก
ชว่ งคะแนน 71.00 – 80.00 ระดบั 4 หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน 61.00 – 70.00 ระดบั 3 หมายถึง ปานกลาง
ชว่ งคะแนน 61.00 – 70.00 ระดบั 3 หมายถึง น้อย
ชว่ งคะแนน 61.00 – 70.00 ระดับ 3 หมายถึง นอ้ ยทส่ี ดุ

อภิปรายผลการดำเนินงาน 9

ประเมินความพงึ พอใจ เรือ่ ง D.I.Y. เก้าอี้ 1
2
7.9, 11% 8.2, 11% 3
4
8.8, 12% 8.5, 11% 5
6
7.6, 10% 8.8, 12% 7
8
6.7, 9% 5.5, 7% 9
10
5.5, 7% 7.5, 10%

10

บทท่ี 5
สรุปผล และขอ้ เสนอแนะ

จากการจัดทำโครงงานสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เรื่อง D.I.Y.เก้าอี้จาก
ขวดพลาสติก ในครั้งนี้ พบว่าการประดิษฐ์เก้าอี้ขวดน้ำพลาสติกได้เก้าอี้ขวดน้ำพลาสติก ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ได้
จากขวดน้ำพลาสติกเหลือใช้ โดยมลี กั ษณะเดน่ ดงั น้ี

1. มีนำ้ หนกั เบา
2. เคลอื่ นยา้ ยไดง้ า่ ยและสะดวก
3. ทนต่อแรงกระแทกได้ดีกว่าเก้าอี้พลาสติกทั่วไป การทดสอบความคงทนแข็งแรง และรองรับแรง
กระแทกผลการทดสอบพบว่า เกา้ อ้ขี วดนำ้ พลาสติก สามารถรองรบั นำ้ หนกั ได้ดีเทา่ กับเก้าอี้พลาสติกท่ัวไปส่วน
การรองรับแรงกระแทกพบว่า ในระดับ ความสูงตั้งแต่ 4 - 6 เมตร เก้าอี้จากขวดหลาสติกยังคงสภาพเดิม
รองรบั แรงกระแทกได้ดี ส่วนเกา้ อี้พลาสติก ทัว่ ไปมีรอยรา้ วตรงขาเกา้ อ้ี
การอภิปรายผลการดำเนนิ งาน
จากผลการทดสอบ พบว่า เก้าอี้ขวดพลาสติก มีความคงทนแข็งแรงและมีการรองรับแรงกระแทกได้ดี
กวา่ เก้าอ้ี พลาสตกิ ทวั่ ไปเนื่องจากขวดนำ้ พลาสติกใสมีคุณสมบัติ เหนียวไมแ่ ตกงา่ ยทนต่อแรงกระแทก
ขอ้ เสนอแนะ
1.ขวดน้ำพลาสติกสามารถน้ำาไปรีไซเคิลเป็นอุปกรณ์อื่นๆ ได้อีก เช่นเสื้อชูชีพ, โคมไฟ.ที่ใส่
เครอ่ื งประดบั ฯลฯ
2. ในการประดิษฐ์เก้าอี้ขวดน้ำพลาสติกนั้นสามารถเปลี่ยนวัสดุจากขวดน้ำดื่มเป็นขวดน้ำอั ดลมที่มี
ความแข็งและหนากวา่ ขวดนำ้ ด่ืม

11

บรรณานุกรม

อังคุมาลี ไชยสาร. (2562). การทำโครงงาน. สบื ค้น 17 สงิ หาคม 2565 ,
จาก http://www. https://anyflip.com/lfzlo/bktp

ณัฐพล หวังสเถียร. (2565). โครงงานการประดิษฐ์เก้าอี้ D.I.Y. สบื ค้น 17 สงิ หาคม 2565 ,
จาก http://www. chairdiy.blogspot.com/2013/09/diy_3694.html

12

ภาคผนวก

ภาพประกอบ

13

14

15

16

17