คลื่นปฐมภูมิ คลื่นทุติยภูมิ

          ʹ����������š���������ٻ�ç��� (�Ҿ��� 8) �Է�ԾŢͧ�������з�����ҹ����������ǧ�ҷԵ���դ������ҧ���¡��Ҵ�ҹ�ç�����ǧ�ҷԵ�� ʹ����������š�������觤���� ���ա������¹�ŧ������������Ѻ�����˹��-�� �ء� ˹�����蹻� 㹻Ѩ�غѹʹ����������š����㹪�ǧ����ա��ѧ��͹ ʹ����������š����觷����繷��������ӹ��㹡�ô�ç���Ե �ҡ���Ȩҡʹ����������š���� ͹��Ҥ��ѧ�ҹ�٧�ҡ�ǧ�ҷԵ������ǡ�� �о�觪���鹼���š ���������ժ��Ե�������ö��ç������ (����������´�������㹺���� 3 ��ѧ�ҹ�ҡ�ǧ�ҷԵ��)

แบบ คือ คลื่นพื้นผิว (Surface wave) และคลื่นในตัวกลาง (Body wave) คลื่นพื้นผิวเดินทางไปตามพื้นผิวโลกทำให้อาคาร สิ่งปลูกสร้าง ชำรุด พังทะลาย  ส่วนคลื่นในตัวกลางเดินทางผ่านเข้าไปภายในของโลกผ่านไปยังพื้นผิวโลกที่อยู่ซีกตรงข้าม นักธรณีวิทยาจึงใช้คลื่นในตัวกลางในการสำรวจโครงสร้างภายในของโลก คลื่นในตัวกลางซึ่งมี 2 ประเภท ได้แก่ คลื่นปฐมภูมิ (P wave)  และ คลื่นทุติยภูมิ (S wave) ดังภาพที่ 1

คลื่นปฐมภูมิ คลื่นทุติยภูมิ

 

ภาพที่ 1  คลื่นปฐมภูมิ (P wave) และคลื่นทุติยภูมิ (S wave)

[คลิกเพื่อชมภาพเคลื่อนไหว]

 

  • คลื่นปฐมภูมิ (P wave) เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป คลื่นนี้สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เป็นคลื่นที่สถานีวัดแรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 7 กิโลเมตร/วินาที  คลื่นปฐมภูมิทำให้เกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน 


  • คลื่นทุติยภูมิ (S wave) เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลางโดยอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิดนี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น ไม่สามารถเดินทางผ่านของเหลว  คลื่นทุติยภูมิมีความเร็วประมาณ  3 – 4 กิโลเมตร/วินาที  คลื่นทุติยภูมิทำให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง 

คลื่นปฐมภูมิ คลื่นทุติยภูมิ


ภาพที่ 2  การเดินทางของ P wave (เส้นสีขาว) และ S wave (เส้นสีดำ)

[คลิกเพื่อชมภาพเคลื่อนไหว]

 

 

        ขณะที่เกิดแผ่นดินไหวจะเกิดแรงสั่นสะเทือน ทำให้คลื่นไหวสะเทือนเคลื่อนที่ออกจากศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวโดยรอบทุกทิศทุกทาง

        จากนั้นนำระยะทางที่ได้มาสร้างวงกลมสามวงบนแผนที่ โดยให้จุดศูนย์กลางอยู่ที่เครื่องวัดคลื่นไหวสะเทือนแต่ละเครื่อง และให้รัศมีของวงกลมแต่ละวงเป็นยาวเท่ากับระยะทางที่คำนวณได้จากกราฟระยะทาง-เวลาในภาพที่ 8  วงกลมทั้งสามวงก็จะตัดกันที่จุดเดียวกันคือ จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Epicenter)    

คลื่นทุติยภูมิคืออะไร

คลื่นทุติยภูมิ (อังกฤษ: secondary wave หรือ s wave) เป็นคลื่นตัวกลางที่เกี่ยวข้องกับการเฉือนและการหมุนของเนื้อวัสดุเมื่อคลื่นเดินทางผ่านโดยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางปริมาตร ความเร็วในการเคลื่อนที่ของคลื่นทุติยภูมิสามารถคำนวณได้จากสมการ เมื่อ μ, ρ แทน โมดูลัสของแรงเฉือน และความหนาแน่นของตัวกลางตามลำดับ

คลื่นปฐมภูมิเป็นคลื่นชนิดใด

คลื่นปฐมภูมิ(P wave) เป็นคลื่นไหวสะเทือนที่มีลักษณะการเคลื่อนที่แบบอัดและ ขยายลักษณะดังภาพที่3.7 โดยอนุภาคภาคที่เป็นตัวกลางสามารถเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ เมื่อเกิดแผ่นดินไหวเกิดขึ้น คลื่นปฐมภูมิจะเป็นคลื่นชนิดแรกที่ สถานีแผ่นดินไหวตรวจวัดได้ คลื่นปฐมภูมิมีความเร็วในการเคลื่อนที่ประมาณ 6-7 km/วินาทีขึ้นอยู่ ...

คลื่นทุติยภูมิที่เกิดจากคลื่นปฐมภูมิพบได้ที่ส่วนประกอบของโลกในชั้นใด

1. ธรณีภาค (Lithosphere) เป็นชั้นนอกสุดของโลก ในชั้นนี้คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิเคลื่อนที่ผ่านได้ มีความลึกประมาณ 100 กิโลเมตร ประกอบด้วยหินแข็ง

ชั้นใดที่คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิมีการเปลี่ยนแปลงแบบไม่คงที่

ชั้นใดที่คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิมีการเปลี่ยนแปลงแบบไม่คงที่ ชั้นธรณีภาค