ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง หมายถึง

สวัสดีครับท่านผู้อ่านที่เคารพ ช่วงนี้บ้านเราเจอปัญหาวิกฤตหลายต่อหลายเรื่อง ไม่ว่าฝุ่น PM 2.5 ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาโควิท -19 มาจนเรื่องปัญหาการเมืองที่เริ่มร้อนระอุตามหน้าร้อนอีก พวกเราก็ต้องระมัดระวังกันทุกเรื่องไม่พยายามขยายปัญหาไปยิ่งกว่านี้ แต่ก็นั่นละครับทุกอย่างแก้ไขได้ถ้าพวกเราทุกคนเห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และช่วยกันป้องกันไม่ให้อันตรายใดๆ ลุกลามไปมากกว่านี้ เรามาว่าเรื่องของเราต่อไปนะครับ

เราจะมาเริ่มเรื่องกระบวนการไต่สวนของ ป.ป.ช.ต่อ หลังจากเล่าเรื่องการตรวจสอบทรัพย์สินไปบ้างแล้ว ส่วนกรณีศึกษาจะค่อยๆ แทรกมาบ้างตามสถานการณ์ครับ ถามว่า ป.ป.ช.ทำงานไต่สวนอย่างไรนั้น ความจริงตามที่เกริ่นมาแต่ต้นว่า เริ่มแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ประกาศใช้ และเกิด ป.ป.ช.ขึ้นมา

กระบวนการสืบสวนสอบสวนของ ป.ป.ป.แต่เดิม จึงมาเป็นไต่สวนรูปแบบวิธีการจึงเปลี่ยนแปลงไปมาก รัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญให้อำนาจ ป.ป.ช.มากกว่าที่เคยเป็นมาแต่ครั้ง ป.ป.ป.ทั้งนี้ ก็เพื่อให้ ป.ป.ช.เป็นองค์กรอิสระปราศจากการแทรกแซงของการเมือง

กรรมการ ป.ป.ช.ที่จะสรรหามา ก็มีคณะกรรมการสรรหาเป็นผู้คัดเลือก โดยกำหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามไว้มากมาย แต่ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองอีกสองสามครั้ง เกิดรัฐธรรมนูญปี 2550 และปัจจุบันรัฐธรรมนูญ ปี 2560 องค์กรอิสระแห่งนี้ก็ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลงถึงอำนาจอะไรมากนัก เว้นแต่เฉพาะตัวคณะกรรมการ ป.ป.ช.นั้น ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากพอควร โดยการร่างของ กรธ.ที่นายมีชัย ฤชุพันธ์เป็นประธานนั่นละครับ ซึ่งได้บอกเล่ากันไปในตอนก่อนๆ แล้ว ว่ากันถึงกระบวนการไต่สวนแล้วในรัฐธรรมนูญกำหนดหน้าที่และอำนาจไว้กว้างๆแต่จะไปเขียนขยายความไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ โดยรัฐธรรมนูญ     ปี 2560 มาตรา 234 ให้ ป.ป.ช.มีหน้าที่และอํานาจไต่สวนและมีความเห็น กรณีมีการกล่าวหาว่าผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ หรือผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ร่ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อํานาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายหรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง

ส่วนเจ้าหน้าที่ของรัฐจะเป็นเรื่องร่ำรวยผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม ก่อนที่จะกล่าวต่อไป ท่านผู้อ่านจะเห็นว่าในรัฐธรรมนูญฯเขียนคำว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐ และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ซึ่งแต่เดิมคำว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐครอบคลุมข้าราชการทุกประเภท แต่ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ปี 2561 ได้เขียนคำนิยามที่ครอบคลุมความเป็นข้าราชการประเภทต่างๆ อีกต่างหาก

คือมีคำว่า เจ้าพนักงานของรัฐ ขึ้นมาอีกคำ ซึ่งรวมข้าราชการทุกประเภทหมายถึง เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ และคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งจะเห็นว่าคำว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐแยกจากตำแหน่งทางการเมืองชัดเจน โดยคำนิยาม “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายถึง ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมีตําแหน่งหรือเงินเดือนประจํา ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐหรือในรัฐวิสาหกิจ ผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่น และสมาชิกสภาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ หรือเจ้าพนักงานอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ และให้หมายความรวมถึงกรรมการ

อนุกรรมการ ลูกจ้างของส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ และบุคคลหรือคณะบุคคลบรรดาซึ่งมีกฎหมายกําหนดให้ใช้อํานาจหรือได้รับมอบให้ใช้อํานาจทางปกครองที่จัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐด้วย

ว่าไปแล้วเจ้าหน้าที่ของรัฐจึงรวมเอาข้าราชการในกระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจทุกแห่งรวมถึงท้องถิ่นด้วย ส่วนอีกคำ“ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง” ก็คือ นายกรัฐมนตรี  รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ทั้งยังรวมถึงข้าราชการการเมืองอื่นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการรัฐสภา ดังนั้น เมื่อกล่าวถึงนักการเมืองท้องถิ่นแล้ว ไม่ว่าผู้บริหาร รองผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่น จึงเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ มิใช่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนะครับ ซึ่งต่อไปเวลามีคดีทุจริตต้องดูว่าจะแยกไปขึ้นศาลใดตามเขตอำนาจระหว่างศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองกับศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบครับ

ว่ากันแค่คำนิยามก็จบอีกตอนแล้วครับ ยังมีอีกคำที่ชาวท้องถิ่นควรสนใจคือ ผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่น ซึ่งจะเล่าในตอนต่อไปนะครับ

บริการ ติดโพย (PopThai) เป็นบริการเปิดพจนานุกรมอัตโนมัติ โดยผู้ใช้สามารถป้อนข้อความ ทีละประโยค หรือ เป็นหน้าเลยก็ได้ ไม่จำเป็นต้องทีละคำสองคำ ระบบจะทำการแนบความหมายของคำหรือวลีภาษาต่างประเทศ (ปัจจุบันสนับสนุน ภาษาอังกฤษ, ญี่ปุ่นและเยอรมัน) ติดกับเนื้อหานั้นๆ และจะแสดงผลความหมายเมื่อเอาเมาส์ไปวางเหนือคำหนึ่งๆ ช่วยให้สามารถเข้าใจเนื้อหาของเวบภาษาต่างประเทศได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

ความหมายของคำจะปรากฏขึ้นมาเมื่อท่านเอาเมาส์ไปวางบนคำหรือวลีที่มีอยู่ในพจนานุกรม โดยไม่จำเป็นต้องกดปุ่มใดๆ ดังตัวอย่างในรูปข้างล่างนี้

ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง หมายถึง

คุณสมบัติ / Features

  • แสดงความหมายของคำโดยอัตโนมัติ เพียงวางเมาส์ไว้บนคำที่ต้องการทราบความหมาย
  • สนับสนุนเวบหลากภาษา (ปัจจุบัน ภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น และเยอรมัน)
  • ค้นหาความหมายจากพจนานุกรมหลายชุดพร้อมๆกัน ในฐานข้อมูลของ Longdo ได้แก่ Lexitron2, Hope, Nontri, Longdo อังกฤษ-ไทย, Longdo เยอรมัน-ไทย เป็นต้น
  • แสดงได้ทั้งความหมายของคำเดี่ยว และคำผสม ได้อย่างถูกต้อง เช่น Secretary of State=รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐฯ (ในภาพตัวอย่าง), High school=โรงเรียนมัธยมปลาย
  • แสดงความหมายของคำที่แปรรูปจากคำในพจนานุกรมได้ เช่น เมื่อวางเมาส์ไว้บนคำว่า executed/abusing ซึ่งไม่มีในพจนานุกรม เครื่องจะแสดงความหมายของคำว่า execute/abuse ให้โดยอัตโนมัติ
  • เรียกใช้งานได้ง่ายเพียงกดปุ่ม PopThai บน Longdo Toolbar เพื่อแนบความหมายหน้าจอที่เปิดชมอยู่ในขณะนั้น
  • แก้ไข Link ในหน้าที่แสดง เพื่อให้สามารถเปิดชม Link เหล่านั้นผ่านบริการ PopThai ได้ทันทีเช่นเดียวกัน
  • สนับสนุนบราวเซอร์ชั้นนำทั่วไป เช่น Internet Explorer, Firefox, Chrome, Safari, Konqueror, etc.
  • แสดง Link ให้ผู้ใช้ช่วยป้อนความหมายสำหรับคำที่ยังไม่มีอยู่ในพจนานุกรม
  • ใหม่: บริการ Vocabulary แสดงสรุปรายการคำศัพท์พร้อมความหมาย สำหรับพิมพ์ออกมาอ่านได้สะดวก วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Vocabulary แทน PopThai. (PopThai ในโหมดปกติ จะเหมาะกับการใช้งาน on-line หน้าจอคอมพิวเตอร็ ส่วนบริการ Vocabulary เหมาะสำหรับท่านที่ต้องการพิมพ์รายการคำศัพท์และความหมายออกมาบนกระดาษไว้อ่าน off-line)
  • ใหม่: บริการ Pronunciation Guide แสดงคำอ่านของคำใน เว็บ หรือ text ที่ป้อนให้ ข้างบนคำนั้นๆ, นอกเหนือไป จากการแสดง pop-up ความหมาย. วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Pronunciation. ขณะนี้ใช้ได้กับภาษาอังกฤษ (แสดงคำอ่านภาษาอังกฤษ) และภาษาญี่ปุ่น (แสดง hiragana เหนือคันจิ). บริการนี้ ใช้ extension ของ browser ที่ชื่อ Ruby ปัจจุบันมีแค่ IE browser ที่สนับสนุน ถ้าเป็น browser อื่นๆ จะเห็นคำอ่านปรากฎในวงเล็บแทน

วิธีใช้

ท่านสามารถป้อนเนื้อหาหรือ URL ของเว็บไซต์ที่ต้องการให้แนบความหมายนี้ ในช่องใส่ข้อความค้นหาปกติ

หลังจากนั้นเลือกบริการที่ต้องการ (เช่น ถ้าป้อนข้อความ ให้เลือก PopThai (text) ถ้าป้อน URL ให้เลือก PopThai (URL)) ถ้าท่านไม่เลือกบริการ ระบบจะเดาบริการที่ท่านต้องการ จากข้อความที่ท่านใส่เข้ามา (ว่าเป็นข้อความหรือเป็น URL) โดยอัตโนมัติ, จากนั้นกด Submit เป็นอันเสร็จ

ในกรณีที่ท่านใส่ URL ระบบจะไปทำการดาวน์โหลดเนื้อหาของหน้านั้นๆ มาและแนบความหมาย พร้อมแก้ไขลิงค์ต่างๆ ให้เป็นผ่านบริการ PopThai เ พื่อที่ว่าเมื่อท่านกดที่ลิงค์ใดๆ ต่อไปจากเพจนั้นๆ ก็จะมีการแนบความหมายมาให้ด้วยในทันที

เพื่อเพิ่มความสะดวกในการใช้ท่านสามารถใช้ PopThai ผ่าน Longdo Toolbar โดยเมื่อท่านเปิดดูเว็บไซต์ใดๆ อยู่ตามปกติ และต้องการใช้บริการ PopThai สำหรับ หน้านั้นๆ สามารถทำได้ทันที โดยคลิกที่ปุ่ม PopThai บน Toolbar รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดอ่านที่ Longdo Toolbar

คำเตือน ในกรณีของ URL นี้ ถึงแม้ทางผู้ดูแลระบบลองดูจะได้ทำการทดสอบกับหลายเว็บไซต์ แล้วก็ตาม ยังมีบางเว็บไซต์ที่ข้อมูลเวลาที่ระบบไปโหลดมาจะแตกต่างจากที่ท่านเปิดดูโดยใช้ browser โดยตรง โปรดระวังด้วย และไม่ควรใช้กับหน้าเว็บไซต์ที่ ต้องการความถูกต้องสูง)

Problems & TODO

  • inflected word support (German)
  • support HTTP POST
  • other foreign language support (Japanese, French)

ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง หมายถึง

เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

ใครเป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง

คือ ผู้ที่ปฏิบัติการทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเมืองพรรค (party politics) ผู้ดำรงหรือมุ่งดำรงตำแหน่งทางการเมืองไม่ว่ามาจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง และไม่ว่าอย่างเป็นอาชีพหรืออย่างอื่น ตำแหน่งมีได้ตั้งแต่ตำแหน่งท้องถิ่นไปจนถึงตำแหน่งฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติและตุลาการของรัฐบาลระดับรัฐและชาติ เจ้าพนักงานบังคับใช้ ...

ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง เป็นศาลอะไร

ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เป็นแผนกหนึ่ง ในศาลฎีกาซึ่งก่อตั้งขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เป็นศาลที่เป็นส่วนหนึ่งของศาลยุติธรรม ที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี บางประเภทและผู้ที่จะถูกดำเนินคดีในศาลจำกัดเฉพาะบุคคลผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมืองและผู้ดำรงตำแหน่งอื่นตามที่ ...

นักการเมืองแบ่งออกเป็นกี่ระดับอะไรบ้าง

นักการเมืองแบ่งตามแนวคิดทางการเมือง‎ (1 ม) นักการเมืองแบ่งตามพรรคการเมือง‎ (2 ม) นักการเมืองสตรี‎ (7 ม, 17 น) นักการเมืองอิสระ‎ (5 น)