ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://inex.co.th/shop/media/catalog/product/cache/1/image/1200x/040ec09b1e35df139433887a97daa66f/s/i/simplify3d_8_1.jpg



2. แชร์แวร์ (Shareware)

   เป็นโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์เช่นกัน โดยอาจจถูกพัฒนาขึ้นโดยองค์กรหรือโปรแกรมเมอร์เพียงคนเดียวก็ได้ มีการแจกจ่ายให้ทดลองฟรีภายในระยะเวลาที่กำหนด ที่สำคัญ โปรแกรมที่ให้ทดลองใช้ฟรีนั้น อาจมีเครื่องมือบางตัวถูกจำกัดขอบเขตการใช้

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://downloaddd.in.th/knowledge/wp-content/uploads/2013/11/%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%8C-200x200.png




3. ฟรีแวร์ (Freeware)

   คือซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้ฟรี โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายหรือค่าธรรมเนียมใดๆ ผู้ใช้สามารถนำโปรแกรมนี้มาใช้งานได้ฟรี แล้วยังสามารถแบ่งปันหรือคัดลอกไปให้ผู้อื่นก็ได้ แต่อย่างไรก็ตามผู้เขียนโปรแกรมยังคงเป็นเจ้าของสิทธิ์อยู่

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.geocities.ws/55003498089/Image089/115.png




4. ซอฟต์แวร์สาธารณะ

   คือโปรแกรมที่ปราศจากลิขสิทธิ์ใดๆ โดยเจ้าของสิทธิ์ในตัวโปรแกรม ที่เป็นผู้พัฒนาโปรแกรมนี้ขึ้นมา มีจุดประสงค์บริจาคแก่สาธารณะ ดังนั้น ซอฟต์แวร์ชนิดนี้ นอกจากยังใช้งานฟรีแล้ว ยังสามารถคัดลอก ดัดแปลง แก้ไข และแจกจ่ายให้กับบุคคลอื่นๆ ได้โดยไม่มีข้อจำกัดและข้อผูกมัดใดๆ

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://4.bp.blogspot.com/-Yqc8NYscYjE/VnFCBECztSI/AAAAAAAAADc/9_QTFmNo1Ms/s1600/1-8-638.jpg




ระบบปฏิบัติการตามมาตรฐานปิดและมาตรฐานเปิด

      ซอฟต์แวร์ตามมาตรฐานปิด คือซอฟต์แวร์ที่มีกรรมสิทธิ์ความเป็นเจ้าของ (Proprietary) ไม่มีการเปิดเผยชุดคำสั่ง กล่าวคือ เป็นซอฟต์แวร์ที่มีเจ้าของลิขสิทธิ์แต่เพียงผู้เเดียว โดยได้รับใบอนุญาตภายใต้สิทธิตามกฎหมาย ทั้งนี้ ผู้ที่นำซอฟต์แวร์นี้ไปใช้จะต้องซื้อลิขสิทธิ์ที่ถูกต้อง เพื่อขอใบอนุญาตการใช้งานที่อยู่ภายใต้ขอบเขตและเงื่อนไขที่ระบุไว้อย่างเคร่งครัด

     ซอฟต์แวร์ตามมาตรฐานเปิด คือซอฟต์แวร์แบบ Open Source ที่ถูกสร้างขึ้นด้วยแนวคิดการอาศัยความร่วมมือจากโปรแกรมเมอร์หรือนักพัฒนาซอฟต์แวร์ทั่วโลก โดยมีความตั้งใจที่จะเปิดเผยชุดคำสั่งสู่สาธารณะ เพื่อให้เหล่าพัฒนาช่วยกันสร้างซอฟต์แวร์เหล่านี้ขึ้นมา และให้ผู้ใช้งานทั่วไป สามารถนำไปใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย 


ระบบปฏิบัติการ Windows 7

   ระบบปฏิบัติการ Windows 7 ได้เริ่มวางจำหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2552 อย่างเป็นทางการ และยังสร้างยอดจำหน่ายสูงอย่างเป็นประวัติการณ์ โดยระยะเวลาเพียง 3 ปีถัดมา มียอดจำหน่ายมากกว่า 600 ล้านชุด และกลุ่มผู้ใช้งานเดิมอย่าง Windows XP และ Windows Vista ได้เปลี่ยนใจหันมาใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 7 มากขึ้นเรื่อยๆ

  ระบบปฏิบัติการ Windows 7 ยังมีให้เลือกใช้ทั้งแบบ 32 บิตและ 64 บิต โดยมีคุณสมบัติแตกต่างกันตามรายละเอียดต่อไปนี้

  • Windows 7 แบบ 32 บิต รองรับหน่วยความจำได้สูงสุด 4 กิกะไบต์
  • Windows 7 แบบ 64 บิต รองรับหน่วยความจำได้ไม่จำกัด
  • Windows 7 แบบ 64 บิต ทำงานได้อย่างรวดเร็วกว่าแบบ 32 บิต

ขั้นตอนการติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 7

    เมื่อคอมพิวเตอร์ที่ประกอบไว้ผ่านการทดสอบแล้วว่ามีความสมบูรณ์และพร้อมที่จะใช้งาน ขั้นต่อไปคือการจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถบูตเครื่องได้ จึงต้องติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการลงไปก่อน ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อตอบสนองการใช้งานแก่ผู้ใช้ตามความประสงค์

ต่อไปนี้จะเป็นการสาธิตวิธีการติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows  7  ซึ่งต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ที่สำคัญต่างๆ ดังนี้

ชุดคอมพิวเตอร์ที่พร้อมใช้งาน

แผ่นติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows  7 

แผ่นไดรเวอร์เมนบอร์ด 

วิธีการติดตั้ง ดังนี้

1. ทำการตั้งค่า BIOS ของ คอมพิวเตอร์ของเรา โดยทำการเปิดคอมพิวเตอร์ > จากนั้นกด ปุ่ม “Delete” บน keyboard เพื่อเข้าในหน้า Bios > จากนั้นตั้งให้ Boot จาก DVD เป็นอันดับแรก > จากนั้นทำการบันทึกค่าที่เราเปลี่ยน จากนั้นคอมพิวเตอร์จะ Restart


หมายเหตุ : สำหรับ Notebook บางรุ่นอาจจะให้กด F2 , F10 แล้วแต่ยี่ห้อนะครับ


วิธีการเข้า BIOS : การเข้าไบออสคอมพิวเตอร์แต่ละรุ่น


Note : แต่ถ้าเราต้องการกดใช้ Boot menu เลย ทั้ง Notebook / PC ส่วนมากจะกด F12 , F10 (กดย้ำๆเลยนะครับ) เผื่อทำการเลือกเลยว่าเราจะ Boot จากอะไรในตอนเปิดคอมพิวเตอร์ โดยให้เลือกจาก DVD / USB ตามที่เราต้องการที่จะติดตั้ง Windows 7


Tab : Boot  “ภาพด้านล่างเป็นการปรับ BIOS โดยถ้าต้องการให้ ให้ Boot USB ก็ให้ทำการเลื่อน USB ขึ้นมาบนสุด แต่ถ้าจะให้ CD/DVD Boot ก็ให้เลื่อนให้ขึ้นมาบนสุด โดยการกด +/- ในการ เลื่อนขึ้นลง ”

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/SET-BIOS-COMPUTER-600x450.jpg


สำหรับ Windows 7 แนะนำให้ปรับ Mode SATA Operation : ให้เป็น AHCI 


AHCI (Advanced Host Controller Interface ) this is a hardware mechanism that allows the software to communicate with Serial ATA (SATA) devices.


โดย AHCI เป็น ฮาร์ดแวร์ที่ควบคุมกลไกการทำงาน ระหว่างซอฟต์แวร์กับ SATA

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/AHCI-Mode-HDD-600x450.jpg


2. จากนั้นจะขึ้นข้อความ Press any key to boot cd or dvd ….   ให้ทำการกด Enter 1ครั้ง  หรือรัวๆเลยก็ได้แล้วแต่ครับ


3. เริ่มเข้า Starting Windows

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7.jpg


3. เข้าสู่หน้า Windows 7 Setup


Language to install : เลือก English


Time and Currency format : เบิอก English (United States)


Keyboard or input method  : เลือก US

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-Setup.jpg



4. ทำการกด Install Now

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-install.jpg


5. เลือก I accept the license terms > กด Next

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-Setup-license.jpg


6. ทำการเลือก Custom (advance) ในการติดตั้ง

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-custom.jpg


7. ในขั้นตอนตรงนี้มี 2 กรณี ให้้เลือกตามที่ผมกำลังจะอธิบายนะ

7.1 กรณีแรก : กรณีเพิ่งซื้อคอมพิวเตอร์มาใหม่ และยังไม่เคยลง Windows แปลว่า Harddisk ยังไม่ได้ใช้แลยังไม่ได้แบ่ง Partition 


7.1.1 .ทำการเลือก DISK ที่เรามีโดยเอาเมาส์คลิกซ้ายเลือก และจะเห็นเมนูให้ทำการกด Drive option (advanced)

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-drive-option-advance.jpg


7.1.2 ทำการกด New >


Size ให้ทำการใส่จำนวน Harddisk Drive C ที่เราอยากได้ เช่น 100 GB ก็ให้เอา 1024 คูณไป ก็จะได้ 102400 MB (ผมแนะนำให้ Drive C = 100 GB)  ส่วนที่เหลือก็ให้ทำการคลิก New อีกครั้งแล้วก็แบ่งให้หมดจะได้เป็น Drive D

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-new-disk.jpg



7.1.3  ให้ทำการเลือก Drive ที่เราแบ่งไว้ที่จะเป็น Drive : C โดยทำการคลิกบน Drive นั้นๆ และทำการกด Next

หมายเหตุ : ไม่ต้องสนใจ Disk ที่เป็น Type : System / System Reserved

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-install-windows.jpg


7.2 กรณีสอง : กรณีลง Windows มาแล้ว แต่อยากทำการลง Windows 7 ใหม่


7.2.1 ให้ทำการเลือกไปที่ Drive ที่เป็น Drive C เดิมของเราปัจจุบัน (คลิกเมาส์ซ้ายเลือก) จากนั้นกด Format (โดยให้สังเกตุก่อนการ Format ว่า Drive C ของเราคือ Drive ไหน โดยให้สังเกตุจากความจุของ Harddisk หรือเราจะเข้าไปเปลี่ยน Label ของ Drive ก่อนการ Format ก็ได้ เราก็จะได้ไม่ Format ผิด Drive)


ก่อนการ format เราต้อง Backup ข้อมูลของ Drive C ที่เราที่สำคัญของเราด้วยนะ

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-format-disk.jpg



7.2.2  จากนั้นก็เลือก Drive C ที่เรา format ไป > กด Next

หมายเหตุ : ไม่ต้องสนใจ Disk ที่เป็น Type : System

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-install-windows.jpg


8. รอทำการติดตั้ง Windows 7

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-watting-install.jpg



9. ตั้งชื่อ Type a user name : ให้เราตั้งชื่อ User ในการ Login Windows  อาทิเช่น Patompon

Type a computer name : ให้ตั้งชื่อคอมพิวเตอร์

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-username.jpg


10. ทำการตั้ง Password ใส่ก็ได้ไม่ใส่ก็ได้ โดยถ้าไม่ใส่ ก็ให้ทำการกด Next ได้เลย

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-password.jpg



11. ใส่ Product Key Windows 7 (สำหรับใครไม่เป็นหน้านี้ก็ให้ข้ามไปได้เลยครับ)

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-produckey.jpg



12. สำหรับใครที่ใช้ Windows 7 แท้ ให้เลือก User Recommended Settings ในการ Update Windows 7

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-securiry.jpg


13. ตั้งเวลาของ Windows โดยให้เลือก


Time zone : UTC+7 Bangkok

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-settime.jpg



14. เลือก Publish Network (สำหรับใครไม่เป็นหน้านี้ก็ให้ข้ามไปได้เลยครับ)

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

http://www.windowssiam.com/wp-content/uploads/2014/10/install-Windows-7-publish.jpg


15. เสร็จสิ้นการติดตั้ง Windows 7

การปิดระบบใน Windows 7 

ระบบปฏิบัติการ Windows 7 จะมีรูปแบบการปิดระบบหรือปิดเครื่อง คล้ายกับเวอร์ชั่นก่อนๆ คือคลิกที่ปุ่ม Start Shut down เพื่อปิดโปรแกรมและออกจากระบบ แต่ก็ยังมีทางเลือกในการเลือกโหมดเพื่อออกจากระบบในรูปแบบอื่นๆอีกเช่นกัน ด้วยการคลิกที่ปุ่มลูกศร ซึ่งอยู่ข้างปุ่ม Shut down ที่ด้านขวาโดยที่

  • Shuttdown เป็นการปิดเครื่อง
  • Switch user เป็นการล็อกออนเข้าบัญชีผู้อื่น โดยงานของบัญชีผู้ใช้งานเดิมยังคงอยู่ ซึ่งสามารถกลับมาใช้งานบัญชีเดิมได้ในภายหลัง
  • Log off เป็นการปิดการทำงานของบัญชีผู้ใช้ที่ใช้อยู่ปัจจุบันเพื่อล็อกออนเข้าบัญชีผู้ใช้รายอื่น
  • Lock เป็นการหยุดพักการทำงานแบบชั่วคราว โดยจะต้องกรอกรหัสผ่านให้ถูกต้องเมื่อต้องการกลับมาใช้งานต่อ
  • Restart เป็นการปิดระบบ แล้วบูตเครื่องใหม่
  • Sleep เป็นการหยุดพักระบบหรือให้ระบบหลับชั่วคราว ครั้นเมื่อต้องการกลับมาใช้งานก็สามารถขยับเมาส์หรือกดปุ่มคีย์ใดๆ บนคีย์บอร์ด ระบบก็ตื่นขึ้นมาให้เราสามารถกลับมาใช้งานได้อย่างรวดเร็ว
  • Hibernate เป็นการหยุดพักการทำงานชั่วคราว ด้วยการจัดเก็บงานที่ค้างคาอยู่ ณ ขณะรั้นไว้ในฮาร์ดดิสก์ ดังนั้น ระหว่างที่ระบบกำลังปิด จะต้องใช้เวลาสักครู่หนึ่งเพื่อคัดลอกข้อมูลลงในฮาร์ดดิสก์ ครั้นเมื่อคัดลอกเสร็จ เครื่องก็จะถูกปิดไป จนกระทั่งเวลาต่อมาเมื่อต้องการกับมาใช้งาน ก็ให้เปิดเครื่องตามปกติ ระบบก็จะโหลดโปรแกรมทร่ค้างคาอยู่ขึ้นมา เพื่อให้เราได้ใช้งานต่อ

ระบบปฏิบัติการ Windows 8

      ระบบปฏิบัติการ Windows 8 ได้มีการปรับปรุงรูปลักษณ์พร้อมกับสนับสนุนการใช้งานผ่านจอสัมผัส ซึ่งคล้ายกันกับ Windows Phone โดยไมโครซอฟต์เรียกอินเตอร์เฟซนี้ว่า "Metro Interface" นอกจากนี้ กรณีผู้ใช้ยังอยากลับไปใช้งานอินเตอร์เฟซแบบเดสก์ท๊อปที่คุ้นเคยมานานก็สามารถทำได้ แต่อย่างไรก็ตาม  ระบบปกฏิบัติการ Windows 8 อาจทำให้ผู้ที่เริ่มต้นใช้งานต้องปรับตัวไม่น้อยในเรื่องรูปแบบอินเตอร์เฟซ โดยเฉพาะปุ่ม Start ตรงตำแหน่งทาสก์บาร์ที่เรามักคุ้นเคยกันดี ได้ถูกตัดออกไป


ขั้นตอนการติดตั้ง

1.ก่อนอื่นใส่แผ่นติดตั้งลงในเครื่องอ่านดีวีดีของคอมพิวเตอร์ ทำการบูตเครื่องให้ไปตั้งไบออสของเครื่องให้บูตจากแผ่นดีวีดีเป็นอันดับแรกซึ่งการเข้าไบออสนั้นส่วนมาก ถ้าเป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะก็จะกดปุ่ม Del ส่วนแลปทอปก็จะกดปุ่ม F2 ให้ดูที่คู่มือของแต่ละเครื่องก็แล้วกัน


เมื่อเครื่องบูตขึ้นมาจนเห็นคำว่า Press any key to boot from CD or DVD…ให้กด ENTER เลยครับ


ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_02.jpg



2.ปล่อยให้เครื่องทำงานไปจนได้จนปรากฎดังภาพ ให้คลิกเลือกรายการตามนี้


  • Language to install : English
  • Time and currency format : Thai(Thailand)
  • Keyboard or input method : ตัววินโดวส์จะเลือกให้เป็น Thai เพราะเห็นว่า Time and currency formatตั้งเป็น Thai ให้เราเลือกกลับมาเป็น US ก่อน เหตุผลเพราะเมื่อติดตั้งเสร็จหน้าล็อกออนเข้าระบบจะเป็นภาษาไทย เราอาจงงได้ในการกรอกชื่อผู้ใช้และพาสเวิร์ด

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_03.jpg


3.ในหน้าต่าง Windows Setup ให้คลิก Install now เพื่อเริ่มการติดตั้ง Windows 8

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_04.jpg


4.ในหน้าต่าง License terms คลิกถูก I accept the term license จากนั้นคลิก Next

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_05.jpg


5.ในหน้าต่าง Which type of installation do you want ให้เลือกเป็น Custom: Install Windows only (advanced)

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_06.jpg


6.ในหน้าต่าง Where do you want to install Windows ให้เลือกฮาร์ดดิสก์หรือพาร์ติชันที่ต้องการติดตั้ง (ในที่นี้เลือก Drive 0) เสร็จแล้วคลิก Next

ข้อควรจำในขั้นตอนนี้

ขั้นตอนนี้เราเลือก Drive ที่จะลง Windows8 ส่วนมาก จะลงใน Disk/Drive 0 นะครับ ก็คือ Drive C: ของ Windows เรานั้นเอง ระวังให้ดีอย่าลงผิดไดร์ฟนะ ในกรณีที่มีพาร์ติชันมากกว่า 1 พาร์ติชัน

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_07.jpg

ในการ Format Windows ข้อมูลจะหายเฉพาะที่ Drive C นะครับ

 สำหรับเครื่องที่มี Windows XP , Windows 7 แล้วจะลงใหม่เป็น Windows 8

1.ให้ทำการ Format Drive ที่เป็นวินโดวส์ตัวเก่าก่อน โดยทำการกด Drive options (advanced) จากนั้นเลือก ไดร์ฟของวินโดวส์เก่าแล้วคลิก Format …ย้ำอีกทีดูดีๆนะครับ ถ้าผิดไดร์ฟข้อมูลในไดร์ฟหายหมดนะ

2. จากนั้นก็เลือก Drive/disk ที่เรา Format ไปจากข้อที่ผ่านมา จากนั้นกด Next

สำหรับเครื่องที่เพิ่งซื้อมาใหม่หรือฮาร์ดดิสก์ลูกใหม่

1 ให้เราทำการกด Drive options จากนั้นเลือกฮาร์ดดิสก์แล้วคลิก New เพื่อทำการแบ่งพาร์ติชันวินโดวส์ให้แบ่งมาสัก 80 -100 GB ก็พอ ( 1GB = 1024 MB)

2 จากนั้น ก็แบ่งส่วนที่เหลือไว้ให้กับ Drive D , E ตามความเหมาะสม

3 ต่อมาให้เลือกไดร์ฟที่จะให้ลงวินโดวส์ โดยทำการคลิกบน Drive/Disk แล้วคลิก Next

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_08.jpg


7.ระบบจะเริ่มทำการติดตั้ง Windows 8 โดยจะดำเนินการขั้นตอนต่างๆ ของวินโดวส์ตามนี้ Copying Windows files, Getting files ready for installation, Installing features, Installing updates และ Finishing up ให้รอจนการติดตั้งแล้วเสร็จ ก็ประมาณ 15 – 20 นาที ขึ้นอยู่กับเครื่องว่าแรงขนาดไหน


ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_09.jpg


8.เมื่อ Windows 8 ติดตั้งเรียบร้อย เครื่องจะรีสตาร์ท 1 ครั้ง

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_10.jpg


9.หลังจากทำการติดตั้งแล้วเสร็จ Windows จะทำการรีสตาร์ทเครื่อง 1-2 รอบ จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Personalize ให้ทำการเลือกสีของ Background และกำหนดชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใส่ชื่อที่ต้องการในช่อง PC name เสร็จแล้วคลิก Next

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_11.jpg



10.ขั้นตอนการ Settings ให้เราเลือก Use Express Settings เพื่อทำการตั้งค่าระบบแบบด่วน

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_12.jpg


11.ในหน้าต่าง Sign in to your PC ให้คลิก Sign in without a Microsoft account แล้วคลิก Next


** ในขั้นตอนนี้จะมีวิธีการ Sign in to your PC อยู่ 2 วิธี ได้แก่ Email Address และ Sign in without a Microsoft account สำหรับในที่นี้ผมขอให้เลือก Sign in without a Microsoft account เพราะสะดวกกว่า ส่วน Email Address เราต้องต่ออินเตอร์เน็ตและต้องมีอีเมลของ outlook.com หรือ Hotmail.com อยู่ก่อนแล้ว ซึ่งเราสามารถสร้างได้ภายหลังที่เข้าใช้วินโดวส์แล้วก็ได้**

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_13.jpg


12.หน้าต่างต่อมาให้คลิก Local account

ระบบปฏิบัติการ มาตรฐานเปิด ปิด

https://notebookspec.com/web/wp-content/uploads/2012/11/clean_install_8_14.jpg


13.ต่อมาให้กำหนดชื่อผู้ใช้ในช่อง User name แล้วกำหนดรหัสผ่านที่ต้องการ 2 ครั้ง ในช่อง Password และ Reenter password จากนั้นข้อความช่วยจำรหัสผ่านในช่อง Password hint แล้วคลิก Finish

ระบบปฏิบัติการใดเป็นระบบปฏิบัติการบนมาตรฐานปิด *

ระบบปฏิบัติการมาตรฐานแบบปิดที่นิยมใช้งานมีดังนี้ 2 ระบบปฏิบัติการลูกข่าย ระบบปฏิบัติการเครื่องลูกข่ายที่นิยม เช่น ระบบปฏิบัติการของบริษัท ไมโครซอฟต์ Microsoft Windows XP, Windows , Windows 8 รุ่นปัจจุบันคือ Windows 8.1 ระบบ ปฏิบัติการของบริษัท Mac ได้แก่ Mac OS รุ่นปัจจุบันคือ Mac OS X 10.

ระบบปฏิบัติการบนมาตรฐานเปิดคืออะไร

ระบบปฏิบัติการแบบเปิด เป็นระบบปฏิบัติการที่เปิดให้ผู้ใช้หรือผู้ที่มีความสามารถในการพัฒนาระบบ เปิด Source Code ให้ผู้ใช้สามารถแก้ไข หรือพัฒนาต่อยอดระบบปฏิบัติการนั้นได้ เช่น ระบบปฏิบัติการ Ubuntu, FreeBSD, Open Solaris เป็นต้น

ระบบปฏิบัติการแบบมาตรฐานปิดกับมาตรฐานเปิดแตกต่างกันอย่างไร

2. ระบบเปิด ระบบปิด 2.1 ระบบปิด หมายถึง ระบบที่มีการควบคุมการทำงาน และการแก้ไขด้วยตัวของระบบเอง โดยระบบไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอก เข้าไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง 2.2 ระบบเปิด หมายถึง ระบบที่ไม่มีการควบคุมการทำงานด้วยตัวระบบเอง จะต้องดูแลควบคุมดูแลด้วยมนุษย์ ระบบที่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้า ไปปฏิบัติงานได้

ระบบปฏิบัติการแบบเปิด มีอะไรบ้าง

1. ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX).
2. ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (LINUX).
3. ระบบปฏิบัติการวินโดวส์(Microsoft Windows).
4. ระบบปฏิบัติการ APPLE Mac OS X..
5. ระบบปฏิบัติการ Apple iOS..
6. ระบบปฏิบัติการ GOOGLE Android..
7. ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine).