ทัศนคติและพฤติกรรมการเรียนออนไลน์

The export option will allow you to export the current search results of the entered query to a file. Different formats are available for download. To export the items, click on the button corresponding with the preferred download format.

By default, clicking on the export buttons will result in a download of the allowed maximum amount of items.

To select a subset of the search results, click "Selective Export" button and make a selection of the items you want to export. The amount of items that can be exported at once is similarly restricted as the full export.

After making a selection, click one of the export format buttons. The amount of items that will be exported is indicated in the bubble next to export format.

�ô��ҹ����ԡҡ�͹�ʴ��������
1. ��ͤ����ͧ��ҹ�Т���ʴ����ѵ��ѵԷѹ�շ�����Ѻ������
2. �����ʵ� ��ͤ�������������Դ�����ع�ç�ҧ�ѧ�� ��ͤ������������Դ�����������������������µ�ͺؤ�ŷ�����, �������Ѿ��,
�ٻ�Ҿ�������������������Ǫ������Ҿ����͹Ҩ�� ���͡�з��֧ʶҺѹ�ѹ�繷����þ ��������駡�з���Ѻ�Դ�ͺ����ͧ
����Ѻ�Դ�ͺ����ѧ�� ����ٻ�Ҿ ���͢�ͤ�����觼š�з���ͺؤ����� ����ҹ�����������������´������˹�ҷ��
���͵���Ѻ��Ǽ���зӼԴ����
3. ��Ҫԡ����ʵ��������ҹ�� �Ҩ�١���Թ��շҧ�����¨ҡ������������
4. ���͹حҵ����ա���ɳ��Թ���� � ������ ��駷ҧ�ç��зҧ����
5. �ء�����Դ����繢�ͤ������ҧ����������������������駡�з������䫵� �ҧ���䫵� kroobannok.com �������ǹ����Ǣ�ͧ�� ������
6. �ҧ����ҹ��ʧǹ�Է���㹡��ź��з����������������ѹ�� ������ͧ�ա�ê��ᨧ�˵ؼ��� �����Ңͧ������繹�鹷�����
7. �ҡ������ٻ�Ҿ ���͢�ͤ���������������� ��س����ҷ�������� [email protected] ���ͷӡ��ź�͡�ҡ�к�����

 ** ����Ҫ�ѭ�ѵ���Ҵ��¡�á�зӼԴ����ǡѺ���������� �.�.����**

������㹤�������дǡ ���ͧ�ҡ��һ��ʺ�ѭ��
�ռ���ʵ��ͤ����������������������������繨ӹǹ�ҡ
��ٺ�ҹ�͡�ͷ����֧�ͤ������������Ҫԡ
��س��������к���͹�ʴ�������繤�Ѻ��Ѥ���Ҫԡ����

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของนักศึกษา ต่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มนักศึกษา จำนวน 385 คน ที่ผ่านการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในภาคการศึกษาที่ 1/2563 ของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ใช้แบบสอบถามตามแนวคิดของ CIPP model ในการเก็บข้อมูลในระหว่างเดือนมีนาคม – เมษายน 2564


ผลการศึกษา พบว่า นักศึกษามีทัศนคติที่ดีกับการเรียนการสอนออนไลน์ในด้านผู้สอน/รายวิชา/วิธีการสอน (Input evaluation: I) มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.02 (S.D.=0.74) และมีทัศนคติที่ดีน้อยที่สุด ในด้านการประเมินผลผลิต (Product evaluation: P) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.73 (S.D.= 0.91) รูปแบบการสอนออนไลน์ที่เหมาะสมกับบริบทการเรียนของผู้เรียนในปัจจุบัน คือ การสอนสดออนไลน์ผ่านทางโปรแกรมต่าง ๆ เช่น Google meet, Zoom, MS Team เป็นต้น เพราะโปรแกรมดังกล่าวฯ สามารถสอนและบันทึกคลิปวิดีโอการสอนซึ่งจะเป็นผลดีต่อผู้เรียนที่สามารถทบทวนเนื้อหา ที่เรียนย้อนหลังได้ตลอดเวลา มหาวิทยาลัยควรมีระบบสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น การจัดหาและให้ยืม เครื่องคอมพิวเตอร์/โน๊ตบุ้คแก่นักศึกษา หรือจัดหาห้องที่ใช้สำหรับให้นักศึกษาเรียนออนไลน์ โดยมีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่จำเป็นสำหรับนักศึกษาที่ไม่มีอุปกรณ์

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

ฉบับ

ปีที่ 5 ฉบับที่ 14 (2022): เมษายน-มิถุนายน 2565

บท

Research Article

References

เกตุม สระบุรินทร์, ศราวุฒิ แย้มดี และ ณัฏฐวัฒน์ ไชยโพธิ์. (2559). ทัศนคติและพฤติกรรมของนักเรียนต่อการใช้บทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle กรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่7. (1-9) มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.

นรินธน์ นนทมาลย์. (2560). การพัฒนารูปแบบการออกแบบการสอนแบบเปิดด้วยวิธีการคิดอย่างเป็นระบบและกระบวนการกลุ่มโดยใช้วิดีโอเป็นฐาน เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นรินธน์ นนทมาลย์, นริศรา เสือคล้าย, กัลวรา ภูมิลา, สุมิตรา อินทะ และณัฐพงษ์ พรมวงษ์. (2564). การสำรวจปัญหาการจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปของนิติมหาวิทยาลัยพะเยา. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, 16(20), https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ectstou/article/ download/245679/167174/

ปัณฑิตา อินทรักษา. (2562). การจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อสังคมออนไลน์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 21(4), https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/116500/152329

วิทยา วาโย, อภิรดี เจริญนุกูล, ฉัตรสุดา กานกายันต์ และจรรยา คนใหญ่. (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้ สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 : แนวคิดและการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9.14(34), https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RHPC9Journal/article/view/242473/165778

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด. (2564, 25 ธันวาคม). เรียนออนไลน์ “ผู้ปกครอง” พร้อมไหม. https://www.kasikornre search.com/th/analysis/k-social-media/Pages/Ed-Online-FB-14-06-21.aspx

สุวัฒน์ บรรลือ. (2560). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่เหมาะสมสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 11(2), https://rerujournal.reru.ac.th/wp- content/uploads/2018/03/OK-27สุวัฒน์-บรรลือ.pdf

พฤติกรรมการเรียน มีอะไรบ้าง

ตัวแปรต้น คือ เพศ และชั้นปี ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมการเรียน 10 ด้าน ได้แก่ 1) ทัศนคติในการเรียน (Attitude) 2) แรงจูงใจในการเรียน (Motivation) 3) การจัดการกับเวลาในการเรียน (Time Management) 4) ความวิตกกังวลในการเรียน (Anxeity in learning) 5) การมีสมาธิและการเอา ใจใส่ในการเรียน (Concentration) 6) กระบวนการรวบรวมข้อมูล ( ...

ผลกระทบจากการเรียนออนไลน์ มีอะไรบ้าง

อย่างไรก็ตาม การเรียนออนไลน์แม้ว่าจะส่งผลกระทบต่อผู้เรียนในหลายๆ ด้าน เช่น ความเครียด ความ เบื่อหน่าย ความเหนื่อยล้า ปวดตา ปวดไหล่ และปวดหลัง ซึ่งเป็นผลมาจากการเรียนออนไลน์ที่ผู้เรียนไม่ สามารถหลีกเลี่ยงได้โดยจะต้องใช้ระยะเวลาในการเรียนเฉลี่ยประมาณ 5-8 ชั่วโมงต่อวัน จากงานวิจัยชี้ให้เห็น Page 4 Journal of Modern ...

รู้สึกยังไงกับการเรียนออนไลน์

การเรียนออนไลน์นอกจากสร้างความเหนื่อยล้าสะสม ยังทำให้เด็กเบื่อหน่าย ขาดจินตนาการ และขาดโอกาสในการทำกิจกรรมอื่นๆ เพราะชีวิต 50% คือการเรียนออนไลน์ และอีก 50% ที่เหลือคือการทำการบ้าน ทำให้แทบไม่มีเวลาพักผ่อนหรือแบ่งให้กิจกรรมอื่นๆ ที่สร้างความสุขในชีวิตได้เลย เพราะตื่นมาก็ต้องอยู่หน้าคอมและอยู่อย่างนั้นทั้งวัน แทบจะไม่ ...

ข้อดีและข้อเสียของการเรียนทางออนไลน์คืออะไร

ข้อดี-ผู้เรียนสามารถเลือกว่าจะเรียนที่ไหนก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นที่บ้านหรือตามร้านกาแฟ ข้อเสีย-อาจจะถูกรบกวนจากสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้ง่ายเช่น คนในครอบครัวเรียกใช้ระหว่างเรียนหรือเสียงดังจากสิ่งรอบตั