สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ ติดต่อ

ประวัติสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
เริ่มดำเนินงาน
           สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (ชื่อเดิม) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2504 และพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการสำนักนายกรัฐมนตรี (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2504 มีฐานะเป็นหน่วยงานราชการระดับกรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี ต่อมาภายหลังมีการปรับปรุงโครงสร้างระบบราชการ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 กำหนดให้สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติเปลี่ยนชื่อเป็น “สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ” สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
            สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ มีภารกิจเกี่ยวกับการเป็นหน่วยงานกลางให้การเสนอแนะนโยบาย แนวทางและแผนยุทธศาสตร์ด้านพลังงานปรมาณูในทางสันติกำกับให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ใช้และประชาชน โดยการบริหารจัดการด้านพลังงานปรมาณูกำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสี กำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และสนับสนุนการกำกับดูแลความปลอดภัยจากพลังงานปรมาณู เพื่อให้มีนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านพลังงานปรมาณูในทางสันติให้เป็นไปตามพันธกรณีและมาตราฐานสากล สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืนและให้มีการพัฒนาและใช้พลังงานปรมาณูให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ใช้และประชาชน


จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

Office of Atoms for Peace
สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ ติดต่อ

ตราสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้งพ.ศ. 2504
หน่วยงานก่อนหน้า

  • สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ

สำนักงานใหญ่16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
งบประมาณประจำปี284.2965 ล้านบาท (พ.ศ. 2559)[1]
หน่วยงานฝ่ายบริหาร

  • เพิ่มสุข สัจจาภิวัฒน์, เลขาธิการ
  • สุชิน อุดมสมพร, รองเลขาธิการ
  • เพ็ญนภา กัญชนะ, รองเลขาธิการ

เว็บไซต์oap.go.th

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (Office of Atoms for Peace : OAP) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม มีหน้าที่เสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ รวมทั้งการบริหารจัดการด้านการใช้พลังงานนิวเคลียร์ตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาประเทศ

ประวัติ[แก้]

สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (ชื่อเดิม) จัดตั้งขึ้นครั้งแรกตามพระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2504 และพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการสำนักนายกรัฐมนตรี (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2504 มีฐานะเป็นหน่วยงานราชการระดับกรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี

ต่อมาภายหลังมีการปรับปรุงโครงสร้างระบบราชการ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545[2] กำหนดให้สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติเปลี่ยนชื่อเป็น “สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ” สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เป็นหน่วยงานกลางให้การเสนอแนะนโยบาย แนวทางและแผนยุทธศาสตร์ด้านพลังงานปรมาณูในทางสันติ กำกับให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ใช้และประชาชน โดยการบริหารจัดการด้านพลังงานปรมาณู กำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสี กำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และสนับสนุนการกำกับดูแลความปลอดภัยจากพลังงานปรมาณู เพื่อให้มีนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านพลังงานปรมาณูในทางสันติให้เป็นไปตามพันธกรณีและมาตรฐานสากล สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืนและให้มีการพัฒนาและใช้พลังงานปรมาณูให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ใช้และประชาชน

อ้างอิง[แก้]

  1. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เล่ม 132 ตอนที่ 91ก วันที่ 25 กันยายน 2558
  2. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอน 99ก วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2545

ดูเพิ่ม[แก้]

  • การใช้พลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ Archived 2005-11-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

แม่แบบ:กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติตั้งอยู่ที่ใด

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เลขที่ 16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900.

สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ ทำอะไรบ้าง

(๑) ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง (๒) รับผิดชอบงานเลขานุการของคณะกรรมการพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ (๓) กำกับดูแลความปลอดภัยและความมั่นคงปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสี รวมทั้งพิทักษ์ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์

เครื่องกําเนิดรังสีมีกี่ประเภท

ประเภทเครื่องกําเนิดรังสีแบงออกเปน ๓ ประเภท(ตารางที่ ๑) ตามความเปน อันตรายดังนี้ ๓.๑ เครื่องกําเนิดรังสีประเภท ๑ หรือเรียกวา เครื่องกําเนิดรังสีที่เปนอันตราย มาก (very dangerous) ๓.๒ เครื่องกําเนิดรังสีประเภท ๒ หรือเรียกวาเครื่องกําเนิดรังสีที่เปนอันตราย (dangerous) ๓.๓ เครื่องกําเนิดรังสีประเภท ๓ หรือเรียกวา ...

ใบอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสีอายุกี่ปี

27. ใบอนุญาต RSO มีอายุกี่ปี ไม่เกิน ๕ ปี