วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ หลัก 6 อ

วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ หลัก 6 อ

การมีสุขภาพที่ดีเป็นหนึ่งในข้อสำคัญของชีวิตคนเรา ซึ่งไม่ได้ถึงร่างกายภายนอกเท่านั้น สุขภาพทางด้านจิตใจก็เป็นเรื่องที่สำคัญเช่นกัน เพราะหากเรามีสุขภาพจิตใจที่ดีแล้ว ย่อมส่งผลต่อภาวะอารมณ์ในการจัดการกับชีวิตประจำวันของเราได้อย่างดี สำหรับวิธีการสร้างสุขภาพจิตที่ดีก็ทำได้ไม่ยาก เรามาดูกันค่ะว่ามีวิธีไหนบ้าง

  • ฝึกทำจิตใจให้สดชื่นแจ่มใส มองโลกในแง่ดี ฝึกเป็นคนสุขุมรอบคอบ ไม่ใจร้อน โกรธง่าย ไม่เอาจริงเอาจังกับทุกอย่างจนเกินไป ไม่หวั่นไหวง่าย ไม่ควรหมกมุ่นกับเรื่องไร้สาระ
  • เสริมสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นครอบครัว หรือเพื่อนฝูง สังคมล้อมรอบเรา เปิดใจความรู้สึกของตนเอง และเข้าใจถึงจิตใจของผู้อื่น รู้จักให้เวลาตนเอง และคนสำคัญในชีวิต ให้มีเวลา กิจกรรม ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
  • ดูแลรักษาสุขภาพทั้งกายและจิตใจให้แข็งแรงอยู่เสมอ ออกกำลังกายเป็นประจำ รับประทานอาหาร ที่มีประโยชน์ พักผ่อนให้เพียงพอ
  • เมื่อมีความเครียดทางจิตใจหรือมีปัญหา ควรหาโอกาสผ่อนคลาย ด้วยการทำงานอดิเรก ออกกำลังกายจะทำให้มีจิตใจที่สบายขึ้น
  • เรียนรู้วิธีเข้าใจอารมณ์ของตัวเอง มุ่งเน้นจัดการความคิดในเชิงบวก ควรมีเวลาแต่ละวันในการทำสมาธิ เพื่อที่จะได้เข้าใจสภาวะจิตใจในแต่ละช่วงขณะ

ปรึกษาหรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
คลินิกสุขภาพจิต โรงพยาบาลวิชัยยุทธ

โทร.02-265-7777

ให้คะแนนบทความนี้

[คะแนนบทความนี้: 2.6]

แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน

วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ หลัก 6 อ

         (1.) ควบคุมอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร โดยการคุมกำเนิดเพื่อให้ลดลงเหลือร้อยละไม่เกิน 1.0 จะทำให้ประเทศไทยมีประชากรไม่มากจนเกินไป การบริการด้านสุขภาพของภาครัฐและเอกชน ก็จะสามารถตอบสนองความต้องการได้เพียงพอและทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

               (2.) การปรับปรุงสภาพแวดล้อม โดยจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ จัดการสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมเพื่อลดปัญหามลพิษต่างๆ เช่น อากาศเสีย น้ำเสีย เสียงดัง ขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล

วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ หลัก 6 อ

                 (3.) เน้นกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้มากขึ้น ปัจจุบันภาครัฐได้มีการส่งเสริมสุขภาพมากกว่าแต่ก่อน เช่น การส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายเป็นประจำ ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักเลือกบริโภคอาหาร และควบคุมในเรื่องของอาหารที่เป็นพิษภัยต่อสุขภาพ เพราะการป้องกันนั้นดีกว่าการแก้ไข ถ้าประชาชนรู้จักดูแลรักษาสุขภาพของตนเองให้ดี ก็จะลดความเจ็บป่วยและอุบัติภัยต่างๆได้ เป็นต้น


         (4.)  จัดสวัสดิการในการรักษาพยาบาลแก่ผู้ที่ยากจนหรือผู้ที่ด้อยโอกาส ปัจจุบันรัฐบาลได้ดำเนินโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่ยากจนหรือด้อยโอกาสมีโอกาสเข้ารับการรักษาพยาบาลกับ สถานพยาบาลของรัฐและของเอกชนบางแห่งที่เข้าร่วมโครงการ

วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ หลัก 6 อ

        (5.)  เพิ่มงบประมาณด้านสาธารณสุข โดยเพิ่มทั้งด้านการซื่อยา เครื่องมือแพทย์ เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ การสร้างสถานพยาบาลต่างๆ และการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ ซึ่งได้มีการกำหนดไว้ในแผนพัฒนาสุขภาพฉบับที่ 9 ว่าควรจะมีอัตราส่วนของบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรในชนบทไม่เกิน 1 ต่อ 6,000 คน เมื่อสิ้นแผน

วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ หลัก 6 อ


        (6.)   ต้องกระจายบุคลากรทางแพทย์ให้ทั่วถึง ปัจจุบันในตัวเมืองมีอัตราของแพทย์มากกว่าในชนบท ควรมีการให้แรงจูงใจแก่แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงานในชนบท เช่น ค่าตอบแทน สวัสดิการ เป็นต้น เพราะแพทย์ที่อยู่ในชนบทมีโอกาสที่จะหารายได้ได้น้อยกว่าแพทย์ที่อยู่ในตัวเมือง

วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ หลัก 6 อ

        (7.)การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ต้องให้การศึกษาแก่ประชาชนและส่งเสริมให้ประชาชนลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ มีสุขนิสัยและสุขปฏิบัติที่ดี ในเรื่องนี้ถ้าทำได้ดีก็จะช่วยแก้ไขปัญหาสุขภาพได้อย่างมาก

นโยบาย 6 อ มีอะไรบ้าง

โอกาส : มีนโยบายรัฐบาลที่เน้นเรื่องการสร้างสุขภาพ โดยเฉพาะนโยบาย 6 อ. ได้แก่ อาหารปลอดภัย ออกกำลังกาย อารมณ์ โรคยา อนามัยสิ่งแวดล้อม และลด ละ เลิกอบายมุข อุปสรรค : ปัญหาอุบัติการณ์โรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ รวมทั้งมีโรคระบาดซึ่งเป็นปัญหาของพื้นที่คือ โรคไข้เลือดออก

หกอคืออะไร

มาตรการสร้างเสริมสุขภาพจะใช้นโยบาย 6 อ. คือ ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ อนามัยสิ่งแวดล้อม โรคยา และอบายมุข ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ไม่ตายก่อนวัยอันสมควร ตามที่รัฐบาลได้ประกาศ วาระแห่งชาติ“เมืองไทยแข็งแรง” เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2547 ตั้งเป้าภายในปี 2560 เด็กไทยไอคิวมากกว่า 100 คนไทยอายุยืน 80 ปีขึ้นไป

นักเรียนมีวิธีการป้องกันปัญหาสุขภาพอย่างไร

Work-From-Home..
1. ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่ ... .
2. ควรดื่มน้ำ 6-8 แก้วต่อวัน ... .
3. กินอาหารมากวิตามิน ... .
4. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ... .
5. ทำอารมณ์ให้แจ่มใส.

กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพตามนโยบาย 6 องค์ประกอบด้วยอะไรบ้าง

๑.การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน สามารถจัดทำได้ในรูปแบบของ ชุมชนสร้างสุขภาพ ที่เน้นกิจกรรมสร้างสุขภาพตามนโยบาย ๖ อ คือ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ รับประทานอาหารที่สะอาด มีคุณค่า มีอารมณ์ที่ดี สร้างอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน ส่งเสริมให้คนไทยปลอดโรคอโรคยา ลดละเลิกอบายมุข