โลหะ สี เงิน แวววาว สวยงาม คือ คุณสมบัติของโลหะ ใด

หน่วยท่ี 5

โลหะผสมทไี่ ม่ใช่เหลก็

ทองแดงผสม

ทองเหลอื ง (Brass) : Ms

เป็นโลหะสีเหลือง แวววาว สวยงาม ไดจ้ ากส่วนผสมระหวา่ งทองแดงกบั สังกะสี โดยมี
ทองแดงเป็นโลหะหลกั ไม่นอ้ ยกวา่ 50 % ถา้ มี 70 % ข้ึนไปจะมีช่ือเฉพาะเรียกวา่ “ ทอมบคั ”
ทองเหลืองที่นิยมใชใ้ นปัจจุบนั มีดงั น้ี

- ทองเหลอื งหล่อ ประกอบดว้ ยส่วนผสมของทองแดง สงั กะสี และดีบุก มีความ
แขง็ แรงสูง ทนต่อการสึกหรอ การผกุ ร่อน นิยมใชท้ าก๊อกน้า ท่อในงานท่ีตอ้ งการความคงทน
สูง

- ทองเหลอื งรีด ไดจ้ ากการนาทองเหลืองแท่งมารีดเป็นเสน้ เป็นแผน่ เป็นท่อ โดยการ
รีดร้อนหรือรีดเยน็ มีความแขง็ และทนความเคน้ ไดส้ ูง ตวั อยา่ งงานไดแ้ ก่ ทองเหลืองเส้นกลม
เส้นหกเหล่ียม ทองเหลืองแผน่ ท่อทองเหลือง ลวดทองเหลือง

- ทองเหลอื งพเิ ศษ ไดแ้ ก่ทองเหลืองท่ีผสมโลหะอื่นเพม่ิ เติม เพอื่ ใหไ้ ดท้ องเหลืองท่ีมี
คุณสมบตั ิตามตอ้ งการ ไดแ้ ก่ ทองเหลืองดีบุก ทองเหลืองตะกว่ั ทองเหลืองอะลมู ิเนียม
ทองเหลืองเหลก็ ทองเหลืองแมงกานีส

ภาพที่ 5.1 ทองเหลอื ง
ท่ีมา http://cedarcityrecycling.com/brass/

ภาพที่ 5.2 ตัวอย่างผลติ ภณั ฑ์จากทองเหลอื งหล่อ
ที่มา https://www.pinterest.com/pin/288582288594826964/

ภาพที่ 5.3 ตัวอย่างผลติ ภัณฑ์จากทองเหลอื งรีด
ที่มา http://www.ecvv.com/product/3795931.html

ภาพท่ี 5.4 ตวั อย่างผลติ ภัณฑ์จากทองเหลอื งพเิ ศษ
ที่มา http://www.ecvv.com/product/3795931.html

บรอนซ์(Bronze) : Bz

เป็ นโลหะผสมระหว่างทองแดงกบั โลหะอื่น โดยมีทองแดงเป็ น
โลหะหลกั อยรู่ ะหวา่ ง 60 - 98 % โลหะท่ีนามาผสมไดแ้ ก่ อะลูมิเนียม
ดีบุก นิกเกิล ซิลิกอน ฟอสฟอรัส แมงกานีส หรือสังกะสีเพียง
บางส่วน การผสมอาจใชโ้ ลหะมากกว่า 1 ชนิดก็ได้ บรอนซ์ท่ีนิยมใช้
ในอุตสาหกรรมทวั่ ไปไดแ้ ก่

- บรอนซ์ดบี ุก เป็นโลหะทองแดงผสมดีบุกประมาณ 4 – 20 % สี
ทองปนเหลือง มีความแข็ง ทนการผุกร่อน ยืดตวั ไดด้ ี เทหลงแบบ
หล่อง่าย นิยมใชท้ าแบริ่ง หล่อระฆงั ฯลฯ

- บรอนซ์ตะกวั่ เป็นโลหะทองแดงผสมตะกว่ั ประมาณ 25 % สี
คลา้ ยทองแดง มีความเรียบ ล่ืน และนุ่ม สามารถดูดซับแรงกระแทก
ไดด้ ี เทหลงแบบหล่อง่าย นิยมใชท้ าบล็อกแบริ่ง เพลาขอ้ เหว่ียงของ
เคร่ืองยนต์ ฯลฯ

- บรอนซ์อะลูมิเนียม เป็ นโลหะทองแดงผสมอะลูมิเนียม ทนการ
กดั กร่อนไดด้ ี ทนความเคน้ แรงดึงไดส้ ูง เชื่อมได้ แต่บดั กรีไม่ได้ นิยม
ใชท้ าเพลาชุดเฟื องทา้ ยใบพดั เรือ และทุ่นอาร์มาเจอร์ ฯลฯ

- บรอนซ์เบริลเลียม เป็ นโลหะทองแดงผสมเบริลเลียมประมาณ
2 % มีสีน้าตาลปนแดง มีความแขง็ แรงมาก ทนการยดื หยนุ่ ตวั ไดส้ ูง
นิยมใชท้ าเครื่องมือ เช่น สกดั ดอกเจาะสาหรับงานเช่ือเพลิงและวตั ถุ
ระเบิด

ภาพที่ 5.5 ตวั อย่างผลติ ภัณฑ์จากบรอนซ์
ท่ีมา http://www.prweb.com/releases/2013/12/prweb11438234.htm

เงนิ เยอรมนั (German Silver) : Ns

เป็ นโลหะผสมระหว่างทองแดง 40 - 70 % สังกะสี 20 - 45 %
นิกเกิล 10 - 30 % มีสีคลา้ ยเงิน ผลิตคร้ังแรกในประเทศเยอรมนั มี
ความแขง็ คม ทนอุณหภูมิไดส้ ูง ทนการกดั กร่อน ดึง รีด ข้ึนรูปขณะ
เย็นได้ง่าย นิยมใช้ทาเคร่ื องมือท่ีมีคม เครื่ องมือเขียนแบบ และ
ส่วนผสมของลวดเช่ือมเงิน ฯลฯ

คอนสแตนแตน(Constantan)

เป็ นโลหะทองแดงผสมนิกเกิลประมาณ 40 - 50 % มีความแข็ง
ทนอุณหภูมิสูง ทนการกดั กร่อน ทนการสึกหรอไดด้ ี ใชท้ าอุปกรณ์งาน
ไฟฟ้ า เช่น สตาร์ทเตอร์ เรกกูเลเตอร์ เทอร์โมคปั เปิ ล ลวดความ
ตา้ นทาน ฯลฯ

ภาพที่ 5.6 ตัวอย่างผลิตภณั ฑ์จากเงนิ เยอรมัน
ท่ีมา https://www.lempertz.com/en/catalogues/lot/1048-1/131-an-extensive-german-

silver-partially-gilt-429-piece-cutlery-set-comprising-36-dinner-knivesfor.html

ภาพท่ี 5.7 ตวั อย่างผลติ ภัณฑ์จากคอนสแตนแตน
ที่มา http://www.rgalloy.com/en/html/1810.htm

สังกะสีผสม

สังกะสีรีด

เป็ นสังกะสีท่ีมีส่วนผสมของอลูมิเนียม 4 – 12 % ทองแดงและ
แมงกานีสบา้ งเลก็ นอ้ ย ใชง้ านลกั ษณะเดียวกบั ทองเหลือง

สังกะสีหล่ออดั

เป็ นสังกะสีท่ีให้งานที่มีความเท่ียงตรง และความประณี ตสูง
ประกอบดว้ ย

- สังกะสีหล่ออัดผสมดีบุก มีความแข็งแรงน้อยกว่าแต่ความ
เที่ยงตรงสูง

- สังกะสีหล่ออดั ผสมอลูมิเนียม ให้ความแข็งแรงสูง แต่มีความ
เที่ยงตรงนอ้ ยกวา่

ดบี ุกผสม

โลหะบัดกรี
รายละเอียดมาตรฐาน ส่วนผสม และอุณหภูมิของโลหะบดั กรี จะข้ึนอยกู่ บั
ลกั ษณะงานท่ีใช้ แสดงไดด้ งั ตาราง

ชนิดโลหะ มาตรฐาน ส่ วนผสม อุณหภูมิ ลกั ษณะงาน
งานตา่ สุด

โลหะบดั กรี L Sn 25 ดีบุก 25 % พลวง 1.7 % 257 º C บดั กรีดว้ ยเปลวไฟจากหวั เชื่อม

ตะกวั่ ที่เหลือ

โลหะบดั กรี L Sn 60 ดีบุก 60 % พลวง 3.3 % 185 º C บดั กรีสายไฟ ลวด งานทว่ั ไป

ตะกวั่ ที่เหลือ

โลหะบดั กรี 66.6 - 33.4 ดีบุก 66.7 % ตะกว่ั 33.4 % บดั กรีงานทวั่ ไป

โลหะบดั กรี 50 - 50 ดีบุก 50 % ตะกว่ั 50 % 214 º C บดั กรีเหลก็ แผน่

โลหะบดั กรี 33.4 – 66.6 ดีบุก 33.4 % ตะกวั่ 66.6 % บดั กรีท่อต่ออ่อนในงานประปา

ตารางที่ 5.1 การเลอื กใช้โลหะบดั กรีให้เหมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน

ดบี ุกผสมหล่ออดั

ใชท้ าระบบกลไกในมิเตอร์วดั ไฟฟ้ า และมาตรวดั น้า

โลหะแบริ่ง

มีส่วนผสมของดีบุกประมาณ 88.9 % พลวง 7.4 % ทองแดง 3.7 %
ใชร้ องรับส่วนที่หมุนของเคร่ืองยนตเ์ พื่อลดแรงเสียดทาน ลดแรงกระแทก
และดูดซบั แรงสน่ั สะเทือน ทาใหง้ านหมุนคล่อง เรียบ สม่าเสมอ

ตะกวั่ ผสม

ตะกว่ั แขง็

เป็นตะกว่ั ที่มีส่วนผสมของพลวง 5 – 25 % เป็นตะกว่ั ท่ีมีความแขง็ แรง
มาก นิยมใชห้ ล่อตวั พิมพช์ นิดต่างๆ

ตะกวั่ บดั กรี

เป็ นเป็ นตะกวั่ ผสมท่ีใชร้ ่วมกบั ดีบุก เพราะโลหะบดั กรีจะมีส่วนผสม
ของตะกวั่ และดีบุก สดั ส่วนจะมากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะงานท่ีใช้

ตะกวั่ แบริ่ง

เป็ นตะกว่ั ที่มีส่วนผสมของพลวง ดีบุก ทองแดง แคดเมียม เพ่ือเพิ่ม
คุณสมบตั ิดา้ นความล่ืน ความเรียบ การดูดซบั แรงกระแทก แรงสั่นสะเทือน
การผสมผสานกบั วสั ดุหล่อล่ืน การคงรูป และความแขง็ แรง

ภาพท่ี 5.8 ตะกวั่ บัดกรี
ท่ีมา http://www.everychina.com/m-lead-free-solder-wire

อะลมู เิ นียมผสม

อะลูมิเนียมผสมมีมากมายหลายชนิด ธาตุที่นิยมใชผ้ สมในอลูมิเนียมคือ
แมกนีเซียม ทองแดง ซิลิกอน แมงกานีส สังกะสี นิกเกิล ตะกวั่ โครเมียม
ใชผ้ สมเพ่ือเสริมคุณภาพดา้ นความแขง็ แรง ทนต่อการกดั กร่อน ทนต่อการ
สึกหรอ ทนความร้อน การยดื หยนุ่ ตวั ฯลฯ แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ

อะลูมเิ นียมผสมเหนียว

ใชร้ ีดหรือดึงใหเ้ ป็นแผน่ เป็นเสน้ เป็นท่อ บางชนิดสามารถชุบแขง็ ได้

อะลูมเิ นียมผสมหล่อ

แยกย่อยไดอ้ ีก 2 ชนิด คืออะลูมิเนียมผสมชนิดหล่อแบบทรายหรือ
แบบถาวร และอะลูมิเนียมผสมชนิดหล่ออดั ส่วนผสมของอะลูมิเนียมจะ
เลือกใชต้ ามคุณสมบตั ิของธาตุผสมที่ตอ้ งการ และลกั ษณะงานที่จะนาไปใช้

แมกนีเซียมผสม

คุณสมบตั ิที่เด่นชัดท่ีสุดของแมกนีเซียมคือความเป็ นโลหะท่ีมี
น้าหนักเบา สามารถนาไปแปรรูปโดยการรีด การดึง การตี ได้ง่าย
และยงั มีความแขง็ แรงสูง ซ่ึงความแขง็ แรงของของแมกนีเซียมจะข้ึนอยู่
กับความบริสุทธ์ิ ยิ่งบริสุทธ์ิมากความแข็งแรงของแมกนีเซียมก็จะ
นอ้ ยลง ดงั น้นั แมกนีเซียมส่วนใหญ่เกือบท้งั หมดที่ถูกนามาใชจ้ ะอยใู่ น
รูปของแมกนีเซียมผสม ส่วนผสมของแมกนีเซียมกบั โลหะอื่นจะมาก
หรื อน้อย ข้ึนอยู่กับคุณสมบัติและลักษณะการใช้งานท่ีต้องการ
แมกนีเซียมผสมแบ่งได้ 2 ชนิดคือ แมกนีเซียมผสมเหนียว และ
แมกนีเซียมผสมหล่อ