เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ Honeywell-Bull DPS 7

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: mainframe computer) คือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ใช้ในองค์กรเพื่อประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก เช่น สำมะโนประชากร สถิติผู้บริโภค การบริหารทรัพยากรขององค์กร เป็นต้น

ประวัติ[แก้]

เครื่องเมนเฟรมเป็นเครื่องที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วไปจัดเป็นเครื่องที่มีประสิทธิภาพรองลงมาจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งในช่วงปลาย ค.ศ 1950 บริษัท IBM จัดเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์โดยเกิดจากการมีส่วนแบ่งตลาดในการขายเครื่องระดับเมนเฟรมถึง 2 ใน 3 ของผู้ใช้เครื่องเมนเฟรมทั้งหมด เครื่องเมนเฟรมจะเป็นเครื่องที่มีขนาดใหญ่ต้องอยู่ในห้องที่ได้รับการอุณหภูมิและปราศจากฝุ่นละอองเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์

เครื่องเมนเฟรมนิยมมาใช้ในงานที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ เครื่องรุ่นใหม่ ๆ จะได้การพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยทำงานพร้อม ๆ กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่มีจำนวณประมวลผลน้อยกว่าหน่วยเมนเฟรมจัดอยู่ในความเร็วของหน่วยเมกะฟรอป (megaflop) หรือการคำนวณหนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที

ประเภทของเมนเฟรม[แก้]

ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรมส่วนมากจะมีหน่วยคอมพิวเตอร์ย่อย ๆ ประกอบอยู่ด้วยเพื่อช่วยในการทำงานบางประเภทให้กับเครื่องหลัก สามารถแยกตามหน้าที่ได้ดังนี้

  • Host processor (หน่วยประมวลผลโฮสต์) เป็นเครื่องหลักทำหน้าที่ควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้าง และการคำนวณต่าง ๆ
  • Font-end processor มีหน้าที่ควบคุมติดต่อระหว่างหน้าจอของผู้ใช้งานที่เรียกว่าจอเทอร์มินัลระยะไกล (remote terminal) กับระบบคอมพิวเตอร์หลัก
  • Back-end processor มีหน้าทีจัดการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูล

โปรเซสเซอร์ส่วนต่าง ๆ บนเมนเฟรม[แก้]

ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรมมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะรองรับผู้ใช้ได้หลายร้อยคนพร้อม ๆ กันซึ่งผู้ใช้เหล่านั้นอาจจะนั่งทำงานอยู่ใกล้เครื่องเมนเฟรมหรืออาจจะอยู่ที่อื่นซึ่งไกลออกไปก็ได้เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผู้ใช้เหล่านั้นไว้ในหน่วยความจำหลักและมีการสับเปลี่ยนหรือสวิทซ์การทำงานระหว่างโปรแกรมต่าง ๆ เหล่านั้นอย่างรวดเร็วโดยที่ผู้ใช้จะไม่รู้สึกเลยว่ามีการสับเปลี่ยนการทำงานไปทำงานของคนอื่นอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วกว่ามนุษย์มากหลักการที่เครื่องเมนเฟรมสามารถทำงานหลายโปรแกรมพร้อมๆกันนั้น เรียกว่า "มัลติโปรแกรมมิง" (multiprogramming)

               หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีสมรรถะสูง แต่ยังต่ำกว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ มีความเร็วสูงมาก มีหน่วยความจำขนาดมหึมา เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จำนวนหลายร้อยคน ที่ใช้โปรแกรมที่แตกต่างกันนับร้อยพร้อมๆ กันได้ เหมาะกับการใช้งานทั้งในด้านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลจำนวนมากๆ

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ

            เครื่องเมนเฟรมได้รับการพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยพร้อมๆ กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่จะมีจำนวนหน่วยประมวลที่น้อยกว่า และเครื่องเมนเฟรมจะวัดความเร็วอยู่ในหน่วยของ เมกะฟลอป (Megaflop) หรือการคำนวณหนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ

ข้อเด่นของการใช้เมนเฟรมจึงอยู่ที่งานที่ต้องการให้มีระบบศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานไปเป็นจำนวนมากเช่น ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมต่อกับฐาน เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผู้ใช้เหล่านั้นไว้ในหน่วยความจำหลัก และมีการสับเปลี่ยนหรือสวิทช์การทำงานระหว่างโปรแกรมต่างๆ เหล่านั้นอย่างรวดเร็ว โดยที่ผู้ใช้จะไม่รู้สึกเลยว่าเครื่องเมนเฟรมที่ใช้ มีการสับเปลี่ยนการทำงานไปทำงานของผู้ใช้คนอื่นๆ อยู่ตลอดเวลา หลักการที่เครื่องเมนเฟรมสามารถทำงานหลายโปรแกรมพร้อมๆ กันนั้นเรียกว่า มัลติโปรแกรม-มิง (Multiprogramming)

 ประเภทของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน สามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้ 

1. ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)

     ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพสูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ เครื่องซูปเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก มีขนาดใหญ่

 สามารถคำนวนทางคณิตศาสตร์ได้หลายแสนหลานครั้งต่อวินาที และได้รับการออกแบบเพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อม ดังนั้น ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจำที่ใหญ่มาก ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วยประมวลผล (Processing unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทำงานหลายอย่างได้พร้อม ๆ กัน 


2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computer)
     เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ำกว่าซูปเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมีความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคิมพิวเตอร์ หรือ ไมโครคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จำนวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจำนวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้ โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่องเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบันองค์กรใหญ่ ๆ เช่น ธนาคาร  ใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทำบัญชีลูกค้า หรือ การให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงินแบบอัตโนมัติ (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใข้งานมากในการบริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเคอร์จึงต้องมีหน่วยความจำที่ใหญ่มาก

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ



3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
     มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งานได้หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจำนวนที่เที่ยบเท่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ จึงทำให้มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสำหรับองค์กรขนาดกลาง หรือสำหรับแผนกหนึ่งขององค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ


4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
     ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก หรือเรียกว่า พีซี (Personal Computet : PC) สามารถใช้เป็นเครื่องต่อเชื่อมในเครือข่าย หรือใช้เป็นเครื่องปลายทาง (terminal) ซึ่งอาจจะทำหน้าที่เป็นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผลสำหรับป้อนข้อมูลและดูผลลัพธ์โดยดำเนินการการประมวลผลบนเครื่องอื่นในเครือข่าย กล่าวได้ว่าไมโครคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางเป็นไมโครโพรเซสเซอร์ ใข้งานง่าย ทำงานในลักษณะส่วนบุคคลได้ สามารถแบ่งแยกไมโครคอมพิวเตอร์ตามขนาดของเครื่องได้ดังนี้
       1. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop computer)
เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กถูกออกแบบมาให้ตั้งบนโต๊ะมีการแยกชิ้นส่วนประกอบเป็น ซีพียู จอภาพ และแผงแป้นอักขระ

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ


       2. โน้ตบุ๊ก (Notebook or laptop)
โน้ตบุ๊ก คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อนำติดตัวไปใช้ในที่ต่างๆ มีขนาดเล็ก และน้ำหนังเบา ในปัจจุบันมีขนาดพอ ๆ กับสมุดที่ทำด้วยกระดาษ

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะ


       3. แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ (Laptop computer)
เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่วางใช้งานบนตักได้ จอภาพที่ใช้เป็นแบบแบนราบ ชนิดจอภาพผนึกเหลว (Liquid Crystal  Cisplay : LCD) น้ำหนักของเครื่องประมาณ 3-8 กิโลกรัม       4. ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ (Palmtop computer)
เป็นไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับทำงานเฉพาะอย่าง เช่น มีขนาดพอ ๆ สมุดท้่ทำด้วยกระดาษ       5. เน็ตบุ๊ก (Netbook or laptop)
เน็ตบุ๊ก คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และเล็กกว่าโน้ตบุ๊ก ถูกออกแบบไว้เพื่อนำติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ มีขนาดเล็ก และน้ำหนักเบท       6. แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ (Tablet computer
แท็บเล็ตคิทพิวเตอร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แท็บเล็ต คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ในขณะเคลื่อนที่ได้ ขนาดกลางและใช้หน้าจอสัมผัสในการทำงานเป็นอันดับแรก มีคีย์บอร์ดเสมือนจริงหรือปากกาดิจิตอลในการใช้งานแทนแป้นพิมพ์คีย์บอร์ด และมีความหมายครอบคลุมถึงโน้ตบุ๊กแบบ convertible ที่มีหน้าจอแบบสัมผัสและมีแป้นพิมพ์คีย์บอร์ดติดมาด้วยไม่ว่าจะเป็นแบบหมุนหรือแบบสไลด์

อ้างอิงข้อมูล : https://sites.google.com/site/computerinbusiess/types-of-computers