ใบ กิจกรรมที่ 3.1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์

หน่วยที่ 2 | สารบรสิ ุทธิ์ 115
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

เฉลยคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม

1. ธาตใุ ดบ้างท่มี ีสมบตั ิความมันวาว การน�ำไฟฟ้า และความเหนียว เหมือนกัน
แนวคำ� ตอบ ธาตุอะลมู ิเนยี ม เหล็ก ทองแดง สงั กะสี และพลวง มีความมนั วาว การนำ� ไฟฟา้ ได้ดี และเหนยี ว

เหมือนกนั ส่วนธาตกุ ำ� มะถันและถ่านไม้ ไมม่ ันวาว นำ� ไฟฟา้ ได้ไม่ดี และไมเ่ หนียวเหมือนกัน
2. เมอ่ื จำ� แนกธาตโุ ดยใชส้ มบตั ติ อ่ ไปนเ้ี ปน็ เกณฑร์ ว่ มกนั ไดแ้ ก่ ความมนั วาว การนำ� ไฟฟา้ ความเหนยี ว จดุ เดอื ด

จดุ หลอมเหลว และการน�ำความร้อน ไดผ้ ลการจำ� แนกเปน็ อย่างไร
แนวค�ำตอบ เมอ่ื ใช้สมบัตติ ่าง ๆ เปน็ เกณฑร์ ่วมกัน สามารถจ�ำแนกธาตเุ ป็น 2 กล่มุ โดยกลมุ่ ที่ 1 มคี วามมนั วาว

น�ำไฟฟ้าได้ดี เหนียว จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง น�ำความร้อนได้ดี ได้แก่ อะลูมิเนียม เหล็ก
ทองแดง สังกะสี กลุ่มท่ี 2 ไม่มันวาว น�ำไฟฟ้าได้ไม่ดี ไม่เหนียว จุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่�ำ
น�ำความรอ้ นไดไ้ ม่ดี ได้แก่ กำ� มะถนั และถ่านไม้
3. จากกจิ กรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
แนวค�ำตอบ ธาตุแต่ละชนิดอาจมีสมบัติท่ีเหมือนหรือแตกต่างกัน สามารถใช้สมบัติเหล่านี้เป็นเกณฑ์ในการ
จ�ำแนกธาตุได้ ธาตุท่มี พี ้นื ผวิ มนั วาว นำ� ไฟฟ้าและน�ำความรอ้ นไดด้ ี จุดเดือดและจดุ หลอมเหลวสูง
ไม่เปราะ เหนยี ว จดั เปน็ กลุ่มหน่งึ ส่วนธาตทุ ่ีมพี ืน้ ผวิ ด้าน ไมม่ นั วาว นำ� ไฟฟ้าและน�ำความรอ้ นได้
ไม่ดี จุดเดือดและจดุ หลอมเหลวตำ่� เปราะ ไม่เหนียว จดั เป็นอีกกลมุ่ หนง่ึ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

116 หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์

กิจกรรมท้ายบท การน�ำธาตุไปใชม้ ีผลอย่างไรบา้ ง

นกั เรียนจะได้เรียนรเู้ ก่ียวกบั ผลจากการใช้ธาตทุ ม่ี ตี ่อส่ิงมชี วี ิต สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกจิ และสังคม

จุดประสงค์ รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มลู และน�ำเสนอผลจากการใช้ธาตบุ างชนดิ

เวลาทใี่ ช้ใน 50 นาที
การทำ� กจิ กรรม

การเตรียมตัว • ครูอาจเตรียมแหลง่ ขอ้ มลู เกีย่ วกบั การใชธ้ าตุโพแทสเซียมในรปู ของแร่โพแทช หรอื การใชธ้ าตุ
ลว่ งหนา้ สำ� หรับครู อน่ื ๆ จากแหลง่ ขอ้ มลู ทเ่ี ชอ่ื ถอื ไดไ้ วล้ ว่ งหนา้ โดยอาจใชค้ ำ� คน้ หา เชน่ โพแทช โปแตช Potash
ส่อื การเรยี นรู/้ mining Potash mining environment หรือศกึ ษาจากวดี ิทัศน์จาก youtube ที่เชอื่ ถือได้
แหล่งเรียนรู้
• กรมอตุ สาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอตุ สาหกรรม
http://www.dpim.go.th/maincontent/viewdetail?catid=116&articleid=6616

โพแทช : แร่เศรษฐกิจที่สำ� คญั ของไทยในอนาคต กรมอุตสาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมืองแร่
http://www.industry.go.th/industry/index.php/th/knowledge/item/10610-2016-

05-23-05-43-19 “แรโ่ พแทช” กระทรวงอุตสาหกรรม 23 พค. 59
http://www.dpim.go.th/dpimnews/article?catid=102&articleid=7075
• กองประเมินผลกระทบตอ่ สุขภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข
http://203.157.65.18/doh_info/web/uploads/pdf_1544/2KDa5o2B83IU5dF-

DEQ1pRthh2qH8tGTQ6-lFfvdwzv2JQoU5YiB59lluDqmwNLOvPE1aVvP8xoaT-
BrKxTswsht47_3ypb9tOzjES.pdf
• United Nations Environment Programme (UNEP) (นกั เรยี นสามารถใช้ Chrome หรือ
Google Translate ให้แปลข้อมูลในเว็บไซต์จากภาษาองั กฤษเป็นภาษาไทยได้)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 2 | สารบริสทุ ธิ์ 117
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์

ตัวอยา่ งผลการทำ�กิจกรรม

1. ถา้ บริษทั ได้รับอนุญาตใหท้ ำ� เหมอื ง บรษิ ทั จะต้องจา่ ยเงนิ ให้รฐั บาลเพ่อื ไปใชพ้ ฒั นาท้องถ่นิ
ขอ้ ด.ี ...... รัฐบาลมีเงนิ งบประมาณส�ำหรับพฒั นาประเทศมากขน้ึ
ขอ้ เสีย... เงนิ งบประมาณทไ่ี ดอ้ าจนำ� ไปใชพ้ ฒั นาในสว่ นอนื่ ของประเทศ แตใ่ ชพ้ ฒั นาทอ้ งถน่ิ ทที่ ำ� เหมอื งเพยี ง

สว่ นนอ้ ย
2. การขุดเหมืองและจ้างงาน บริษัทเหมืองแร่จ้างคนงานและใช้เครื่องจักรจ�ำนวนมากเพื่อขุดเหมืองและ

ลำ� เลยี งแร่ออกมาจากปา่ ไม้
ขอ้ ด.ี ...... คนในชุมชนมีงานท�ำจากการท�ำเหมือง
ขอ้ เสีย... ในชุมชนอาจมกี ารประกอบอาชพี อืน่ ๆ น้อยลง อาจเสียพื้นทปี่ ่าไม้
3. การใช้ดิน เหมืองแรอ่ าจใช้วธิ ีขุดเปิดหนา้ ดนิ หรอื ขดุ อโุ มงค์ ควรมีการจดั การทีด่ ี เพื่อป้องกนั การเกดิ ฝ่นุ

ละอองในอากาศ
ข้อด.ี ...... มกี ารวางแผนจัดการทดี่ ินที่ดีขน้ึ แทนทจี่ ะปลอ่ ยทใี่ หร้ กรา้ งวา่ งเปลา่
ข้อเสยี .... มฝี นุ่ ละอองในอากาศ อาจมพี น้ื ทสี่ ำ� หรบั ทำ� การเกษตรนอ้ ยลงเนอ่ื งจากใชพ้ น้ื ทไ่ี ปในการทำ� เหมอื ง
4. การใชน้ ำ้� และพลงั งานไฟฟา้ เหมอื งแรใ่ ชน้ ำ้� และพลงั งานไฟฟา้ ในการลา้ งแร่ และใชใ้ นทอี่ ยอู่ าศยั ของคน

งาน ควรมีการจดั การนำ้� ใชก้ ่อนปลอ่ ยคนื สู่แหล่งนำ้� และการวางแผนการจ่ายไฟฟ้าใหเ้ พยี งพอ
ข้อด.ี ...... มีการวางแผนการจัดการน้�ำและผลติ กระแสไฟฟ้าทดี่ ี
ข้อเสยี ... ถ้าขาดการจัดการน้�ำที่ดีอาจมีปริมาณน�้ำสะอาดส�ำหรับการอุปโภคบริโภคไม่เพียงพอ หรืออาจมี

ปญั หาน้ำ� เสยี หรือผลติ กระแสไฟฟา้ ได้ไมเ่ พยี งพอ
5. โรงงาน เม่อื แร่มาถึงโรงงาน จะถกู นำ� ไปผลติ เปน็ ปยุ๋ เคมี ท�ำใหเ้ กษตรกรไดใ้ ช้ปยุ๋ ดรี าคาถูก และป๋ยุ บาง

ส่วนอาจสง่ ออกไปขายต่างประเทศ
ขอ้ ด.ี ...... เกษตรกรไดใ้ ชป้ ุ๋ยดรี าคาถกู มีรายได้จากการส่งออกปยุ๋ ไปขายต่างประเทศ
ข้อเสยี .... ถ้ามีการใชป้ ุ๋ยเคมีมากข้นึ อาจมีการใช้ปยุ๋ อนิ ทรียห์ รือปยุ๋ ชวี ภาพน้อยลง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

118 หน่วยที่ 2 | สารบรสิ ทุ ธ์ิ
ค่มู อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์

เฉลยคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม

1. จากข้อมลู ขา้ งต้น จะเสนอแนะแนวทางการใชธ้ าตุอย่างปลอดภยั ค้มุ คา่ ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง
แนวคำ� ตอบ นักเรยี นตอบไดต้ ามความคดิ เห็นโดยอาศยั หลักฐานจากขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ เช่น ควรอนุญาตให้มี

การทำ� เหมอื งแรด่ งั กลา่ ว โดยมเี งอ่ื นไขใหป้ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ กฎหมายและมาตรการดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม
จดั การดา้ นการใชน้ ำ้� ถนน และทรพั ยากรอนื่ ๆ รว่ มกบั ชมุ ชนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และนำ� เงนิ รายได้
จากผลประโยชน์จากเหมืองแร่มาพัฒนาชุมชนในรูปของกองทุนด้านส่ิงแวดล้อม กองทุนสุขภาพ
ของประชาชน และพฒั นาถนนหรอื ทางรถไฟ
2. จากกิจกรรม สรุปไดว้ ่าอย่างไร
แนวค�ำตอบ การท�ำเหมืองแร่โพแทชเพ่ือน�ำธาตุโพแทสเซียมไปใช้ในการผลิตปุ๋ยเคมี มีผลดีและผลเสียใน
แต่ละข้ันตอน เช่น การขุดเหมืองแร่จ้างคนงาน มีข้อดีคือเพิ่มรายได้ให้กับคนงานในท้องถิ่น
แต่อาจมีข้อเสียจากการท่ีมีคนงานอพยพย้ายไปอยู่บริเวณนั้นมากเกินไป หรือการใช้เครื่องจักร
จ�ำนวนมากอาจเกิดเสียงดงั

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 2 | สารบริสุทธ์ิ 119
คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์

เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท

1. นำ� ขอ้ ความต่อไปนใ้ี สใ่ นช่องวา่ งของผงั มโนทศั นใ์ หถ้ กู ตอ้ งและครบถว้ น*
แนวคำ� ตอบ

จำ� แนกตามองคป์ ระกอบ สารบริสทุ ธิ์ จำ� แนกตามองคป์ ระกอบ

ธาตุ สารประกอบ
จำ� แนกตามสมบตั ทิ างกายภาพ จำ� แนกตามสมบตั ทิ างกายภาพ
จำ� แนกตามสมบัติทางกายภาพ

โลหะ กึง่ โลหะ อโลหะ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

120 หนว่ ยท่ี 2 | สารบรสิ ุทธิ์
คมู่ อื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์

2. ธาตใุ นแตล่ ะกล่มุ มีสมบตั ทิ างกายภาพเหมือนหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร เขยี นอธิบายโดยใชแ้ ผนผังดงั ภาพ**
แนวคำ� ตอบ

สมบตั ิของโลหะ สมบตั ขิ องอโลหะ

โลหะ สมบตั ิของก่งึ โลหะ อโลหะ
- มันวาว - ไมม่ นั วาว
นจนุดำำ�� คไเดฟวอืฟาดม้ารไจด้อดุ ด้นหีไลดอ้ดมี เหลว-บม-าบีนงาสำ� งไมฟสบมฟัตบ้าิคไัตลดิคา้้ดลยีข้าอน้ึยโเโลมลหอื่หะะ
- อณุ หภมู สิ งู ขึ้น - ไม่นำ� ไฟฟา้
- - ไม่นำ� ความรอ้ น
- - เปราะ

ความหนาแน่นสงู

- เหนียว

3. ในยคุ กลางของยโุ รป (500 – 1,000 ปกี ่อน) นกั เลน่ แรแ่ ปรธาตคุ น้ คว้าหาวธิ เี ปลี่ยนปรอทหรอื ตะกว่ั ให้เป็นทองค�ำ
นักเรียนคิดว่าพวกเขาน่าจะท�ำได้ส�ำเร็จหรือไม่ เพราะเหตุใด หากจะท�ำได้ส�ำเร็จจะต้องเปล่ียนแปลงอะตอมส่วน
ใด เพราะเหตใุ ด *

แนวคำ� ตอบ นา่ จะท�ำไมส่ �ำเร็จ เนื่องจากอะตอมของแตล่ ะธาตมุ ลี ักษณะเฉพาะส�ำหรบั ธาตุนน้ั ในปัจจุบันการเปลีย่ น
อะตอมของปรอทหรอื ตะกว่ั ใหเ้ ปน็ ทองคำ� ไมส่ ามารถทำ� ได้ หากจะทำ� ไดส้ ำ� เรจ็ จะตอ้ งเปลยี่ นแปลงจำ� นวน
โปรตอนภายในนวิ เคลยี สของอะตอม เพราะอะตอมแต่ละชนดิ แตกต่างกันที่จ�ำนวนโปรตอน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธ์ิ 121
คมู่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์

4. นักเรียนเขียนเครอ่ื งหมาย  หน้าข้อความท่ถี กู ต้อง และเครือ่ งหมาย  หนา้ ข้อความทผี่ ิดและแก้ไขขอ้ ความ
ท่ผี ดิ ให้ถกู ตอ้ ง โดยเขยี นลงในที่ว่าง *

แนวคำ� ตอบ

 4.1 ธาตตุ ่างกันรวมตวั กนั เป็นสารประกอบทำ� ให้ได้สารใหม่ทม่ี ีสมบัตแิ ตกต่างจากธาตเุ ดมิ

........................................................................................................................................................................................

 4.2 ธาตุท่สี ามารถแผร่ ังสไี ด้ เรียกว่า ธาตกุ ัมมันตรังสี

........................................................................................................................................................................................

 4.3 คารบ์ อน ไฮโดรเจน และไนโตรเจน เปน็ สารบรสิ ุทธ์ิทไี่ ม่สามารถแยกโดยวธิ ีทางเคมีได้อีก

........................................................................................................................................................................................

 4.4 มลพิษทางอากาศ ได้แก่ แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) แก๊ส
คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) เปน็ สารประกอบท้งั ส้ิน

........................................................................................................................................................................................

 4.5 นิกเกลิ มีความมันวาว แข็ง สามารถน�ำไฟฟ้าและน�ำความร้อนไดด้ ี จดั เป็นธาตโุ ลหะ

........................................................................................................................................................................................

 4.6 ปรอทเปน็ โลหะ เพราะปรอทไมม่ คี วามมันวาว ไมน่ �ำความร้อน และไม่นำ� ไฟฟ้า

..............................................ปรอทจัดเปน็ โลหะเพราะ มคี วามมันวาว และนำ� ไฟฟ้าไดด้ ี .............................................

 4.7 โบรมีนมสี มบตั ินำ� ความรอ้ นและนำ� ไฟฟ้าไมด่ ี มีสถานะของเหลว จดั เป็นธาตุโลหะ

.........................................โบรมีนเปน็ อโลหะ .................................................................................................................

5. จากสูตรเคมตี ่อไปน้ี จดั กล่มุ ว่าสารใดเป็นธาตุ สารใดเปน็ สารประกอบ เพราะเหตใุ ด *

O3 H2O H2 N2 H2O2 CO2 NO2 NaCl HCl I4
แนวคำ� ตอบ Oสา3รปHร2ะNก2อบI4 เเนป่ือน็ งธจาาตกุ มเนธี าื่อตงุตจัง้าแกตม่ีอ2ะชตนอมิดเขพึน้ ยี ไงปชรนวดิ มเดตยีวั กวนั สด่วว้ นยอHัต2รOาสH่ว2นOค2งCทO่ี 2 NO2 NaCl HCl เปน็

6. อ่านบทความเรื่อง กัมมนั ตภาพรังสใี นส่งิ แวดล้อม ต่อไปนี้ แลว้ ตอบคำ� ถาม (จะปรบั ค�ำถามในหนังสอื เรยี นใหเ้ ป็น
สถานการณ์)

เราอาศยั อยู่บนโลกท่มี ีกมั มนั ตภาพรังสอี ย่ทู ั่วไปในสิง่ แวดล้อม ส่วนใหญ่เปน็ รงั สที ีม่ ีอยูต่ ามธรรมชาติ และบางสว่ นเกิด
ขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย์ ตน้ ก�ำเนิดของกัมมันตภาพรงั สใี นสิ่งแวดล้อม แบง่ ออกได้เป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

122 หน่วยท่ี 2 | สารบริสทุ ธิ์
คู่มอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์

1. กมั มนั ตภาพรังสจี ากพ้ืนโลก ซง่ึ มาจากแรแ่ ละธาตุต่าง ๆ ท่เี ปน็ องค์ประกอบของโลก ทีม่ ีมาตง้ั แต่โลกถอื ก�ำเนิดขน้ึ
มา ธาตกุ มั มนั ตรังสที พ่ี บในธรรมชาติหลายชนิดเป็นต้นกำ� เนิดทส่ี ำ� คัญของรงั สที เ่ี ราไดร้ ับในแตล่ ะวนั

2. กัมมนั ตภาพรังสจี ากรงั สีคอสมกิ หรือรังสีที่มาจากนอกโลก
3. กมั มนั ตภาพรงั สที เี่ กดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากกจิ กรรมของมนษุ ย์ ซง่ึ มสี ดั สว่ นทค่ี อ่ นขา้ งตำ�่ เมอื่ เทยี บกบั ปรมิ าณรงั สที ง้ั หมดใน

ธรรมชาติ

จากการศึกษาวิจยั และปฏบิ ัติงานเกีย่ วขอ้ งกบั พลงั งานนิวเคลยี ร์ รังสี และวัสดกุ ัมมันตรังสี ตลอดช่วงเวลา 100 ปี ที่
ผา่ นมาได้มีการสรุปผลความเสีย่ งและอันตรายของรังสีต่อมนษุ ย์ ดงั น้ี
ตาราง ระดับความแรงรังสีและอนั ตรายท่ีอาจจะเกิดขน้ึ

ระดบั ความแรงรังสี อันตรายทอ่ี าจเกิดขึน้
(หน่วยเป็นมิลลิซีเวิร์ท)
10,000 มลิ ลซิ ีเวิร์ท ในระยะเวลาส้ัน ๆ เกิดการบาดเจบ็ ทางรังสีทันที
และท�ำใหถ้ ึงแกค่ วามตายใน 2-3 สปั ดาห์
1,000 มิลลิซีเวริ ์ท ในระยะเวลาสั้น ๆ เกดิ การบาดเจบ็ ทางรังสี เชน่ คลนื่ ไส้อาเจยี นแตไ่ ม่ถงึ ตาย

20 มลิ ลิซีเวริ ท์ ต่อปี และอาจเกดิ เป็นมะเร็งในภายหลัง
2 มิลลซิ เี วริ ์ทต่อปี เกณฑ์ความปลอดภยั ทางรังสสี ำ� หรับผู้ปฏบิ ตั ิการ
0.05 มิลลซิ ีเวริ ์ท
ในสถานปฏิบตั งิ านทางรงั สี
ไม่เปน็ อนั ตราย

ไมเ่ ป็นอนั ตรายต่อผ้ปู ฏบิ ตั ิงานดา้ นนิวเคลียร์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 2 | สารบริสุทธ์ิ 123
คู่มือครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์

จากคำ� กลา่ วทวี่ า่ “หากใครไดร้ บั ธาตกุ มั มนั ตรงั สี จะทำ� ใหเ้ ปน็ อนั ตรายถงึ แกช่ วี ติ ” นกั เรยี นเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ เพราะ
เหตใุ ด โดยใช้ขอ้ มูลจากบทความมาอธบิ ายประกอบ

แนวคำ� ตอบ ไมเ่ หน็ ดว้ ย ขน้ึ อยกู่ บั ระดบั ความแรงรงั สที ไี่ ดร้ บั จากตารางในหนงั สอื เรยี น ระดบั ความแรงรงั สที จ่ี ะท�ำให้
เปน็ อนั ตรายถงึ แก่ชวี ติ คอื ตั้งแต่ 10,000 มิลลซิ เี วิรท์ ในระยะเวลาสนั้ ๆ หากไดร้ ับรังสใี นระดับความแรง
นอ้ ยมากไม่นา่ จะเปน็ อนั ตรายถงึ แกช่ ีวิต

7. การผลิตกระป๋องน้�ำอัดลมโดยการรีไซเคิลอะลูมเิ นียม ใช้พลงั งานน้อยกว่าการผลิตกระป๋องจากอะลูมิเนยี มท่ีสกัด
ใหม่ถึง 20 เทา่ แนวทางการใชธ้ าตอุ ะลูมิเนียมโดยการรีไซเคิลเปน็ ผลดตี ่อมนุษย์อย่างไร

แนวคำ� ตอบ แนวทางการผลติ กระปอ๋ งนำ้� อดั ลมโดยการรไี ซเคลิ อะลมู เิ นยี ม เปน็ การประหยดั พลงั งาน ประหยดั ตน้ ทนุ
และทรพั ยากรธรรมชาติ และลดการเกิดขยะจากการผลิตกระปอ๋ งจากอะลูมเิ นยี มสกัดใหม่

8. อะตอมของธาตชุ นดิ หน่งึ ประกอบดว้ ย 8 โปรตอน 8 นวิ ตรอน และ 8 อเิ ล็กตรอน วาดภาพแบบจำ� ลองอะตอมนี้
ใหถ้ กู ต้อง *

แนวคำ� ตอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

124 หนว่ ยที่ 2 | สารบริสทุ ธิ์
คมู่ อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์

เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วย

1. พบขวดสารเคมที ไี่ มต่ ดิ ฉลากบรรจสุ ารทมี่ สี ถานะของแขง็ สขี าว ไมม่ กี ลน่ิ เมอ่ื นำ� ไปทดสอบ โดยหาจดุ หลอมเหลว
พบว่าสารเร่มิ หลอมเหลวทีอ่ ณุ หภมู ิ 156 oC และหลอมเหลวหมดที่อุณหภูมิ 156.5 oC ขอ้ สรุปใดถูกต้อง

ก. สารน้ีเปน็ สารผสมเพราะมจี ุดหลอมเหลวไมค่ งที่
ข. สารนเี้ ป็นสารผสมเพราะจดุ หลอมเหลวสูงกวา่ 100 oC
ค. สารน้เี ปน็ สารบริสทุ ธเ์ิ พราะเป็นของแข็ง สีขาว ไมม่ ีกล่นิ
ง. สารนี้เป็นสารบรสิ ุทธ์เิ พราะมชี ว่ งอุณหภูมทิ ี่หลอมเหลวแคบ
เฉลย ขอ้ ง เนื่องจากชว่ งอุณหภมู ทิ ี่หลอมเหลวเท่ากับ 0.5 °C ซง่ึ ค่อนข้างแคบจึงจดั เป็นสารบรสิ ทุ ธ์ิ

2. นำ� ของเหลว 3 ชนดิ ไปใหค้ วามรอ้ นและบนั ทกึ ผลอณุ หภมู ทิ กุ ๆ 3 นาที จากนนั้ นำ� ขอ้ มลู มาเขยี นกราฟความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งการเปลยี่ นแปลงอุณหภูมขิ องสารกบั เวลา ได้ดังนี้

อณุ หภูมิ (๐C)

80

70 สาร A
60

50 สาร B
40

30 สาร C
20

10

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 เวลา (นาท)ี

ข้อสรปุ ใดถูกตอ้ ง
ก. สาร A เป็นสารผสม สว่ นสาร B และ C เปน็ สารบริสุทธ์ิ
ข. สาร C เปน็ สารบรสิ ุทธิ์ สว่ นสาร A และ B เปน็ สารผสม
ค. สารท้ัง 3 ชนิด เปน็ สารบรสิ ทุ ธิ์
ง. สารท้ัง 3 ชนิด เป็นสารผสม
เฉลย ขอ้ ข เมือ่ พจิ ารณากราฟแล้วพบวา่ เมื่อให้ความร้อนกับสาร C ไประยะหน่ึงแลว้ มีอณุ หภูมขิ ณะเดือดคงที่ ส่วน

สาร A และ B มอี ุณหภมู ขิ ณะเดอื ดเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ ไม่คงที่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 2 | สารบรสิ ทุ ธ์ิ 125
คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์
พิจารณากราฟแลว้ ตอบคำ� ถามข้อ 3 - 4

อณุ หภมู ิ (๐C)

100 จุดเดือด
80

60 จุดหลอมเหลว
40

20 สาร
ABCD
0

3. สาร D มีจุดเดอื ดและจดุ หลอมเหลวกี่องศาเซลเซยี ส *

ก. จุดเดือด 0 oC และจุดหลอมเหลว 40 oC ข. จดุ เดือด 40 oC และจดุ หลอมเหลว 0 oC

ค. จุดเดอื ด 60 oC และจดุ หลอมเหลว 80 oC ง. จุดเดอื ด 80 oC และจดุ หลอมเหลว 60 oC

เฉลย ข้อ ง พิจารณาจากกราฟ

4. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ถี กู ตอ้ ง **

ก. สาร A มจี ุดหลอมเหลวสงู กว่าสาร C และสาร D ข. สาร A มจี ุดเดอื ดต�่ำกว่าสาร B สาร C และสาร D

ค. สาร C มจี ุดเดอื ดตำ่� กวา่ สาร B และสูงกวา่ สาร D ง. สาร C มจี ดุ หลอมเหลวสูงกวา่ สาร B และต�่ำกว่าสาร D

เฉลย ขอ้ ง พิจารณาจากกราฟ

5. พิจารณาข้อมูลจากกราฟแล้วตอบค�ำถาม

ปรมิ าตร (cm3)

5 5 มวล (g)
4C
3B
2
1A
01 2 3 4

ถา้ นำ� วัตถุทงั้ 3 ชนิดหย่อนลงในน้�ำมนั พชื ท่ีมคี วามหนาแนน่ 0.90 g/cm3 วัตถุชนดิ ใดลอยในนำ�้ มันพืชได้ **

ก. A และ B ข. A และ C ค. B และ C ง. A B และ C

เฉลย ข้อ ค วัตถุที่ลอยในนำ�้ มนั พชื ได้จะมคี วามหนาแนน่ น้อยกว่านำ้� มันพชื

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

126 หน่วยท่ี 2 | สารบริสทุ ธ์ิ
คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์

6. ตารางมวลและปริมาตรของวัตถุ 4 ชน้ิ

วตั ถุ มวล (g) ปริมาตร (cm3)
A 20 20
B 75 25
C 50 25
D 70 20

เมือ่ หาความหนาแน่นของวตั ถุทั้ง 4 ชิน้ แผนภมู แิ ทง่ ขอ้ ใดสอดคลอ้ งกบั ข้อมูลในตาราง

ก. ความหนา่ แน่น (g/cm3) ข. ความหน่าแน่น (g/cm3)

4 4
3
2 3
1
0 AB C 2

1

D ชนิดของวตั ถุ 0 AB CD ชนิดของวัตถุ

ค. ความหนา่ แนน่ (g/cm3) ง. ความหนา่ แนน่ (g/cm3)

44

33

22

11

0 A B C D ชนิดของวตั ถุ 0 AB CD ชนิดของวัตถุ

เฉลย ขอ้ ค เมอื่ คำ� นวณความหนาแน่นของวตั ถุท้งั 4 ชิ้น ไดด้ ังนี้ วัตถุ A = 1 g/cm3 B = 3 g/cm3 C = 2 g/cm3
และ D = 3.5 g/cm3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 2 | สารบรสิ ทุ ธิ์ 127
ค่มู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

7. แกส๊ A มคี วามหนาแนน่ 0.80 g/cm3 แกส๊ B มคี วามหนาแนน่ 1.14 g/cm3 และ แกส๊ C มคี วามหนาแนน่ 0.07 g/cm3
หากบรรจแุ กส๊ แตล่ ะชนดิ มวล 50 กรมั ในลกู โปง่ ทอี่ ณุ หภมู หิ อ้ งและความดนั บรรยากาศ ใหเ้ รยี งลำ� ดบั ขนาดลกู โปง่ ท่ี
บรรจุแกส๊ จากเลก็ ไปใหญ่ **
ก. B A C ข. C A B ค. C B A ง. B C A

เฉลย ข้อ ก ขนาดของลูกโป่งพิจารณาได้จากปริมาตรของแก๊ส หากแก๊สมีปริมาตรมากจะท�ำให้ลูกโป่งมีขนาดใหญ่
ซง่ึ อาจพิจารณาไดจ้ ากคา่ ความหนาแน่น หรอื คำ� นวณจากค่าความหนาแน่นของแก๊สที่โจทย์ก�ำหนด ดังนั้น จึง
สามารถเรียงลำ� ดับลกู โปง่ ท่มี ขี นาดเล็กไปใหญ่ไดเ้ ปน็ B A และ C

8. ตารางมวลและปริมาตรของวตั ถุทเ่ี ปน็ สารบรสิ ุทธ์ิ 4 ชนิ้

วัตถุ มวล (g) ปริมาตร (cm3)

A 50 25

B 100 25

C 100 50

D 25 50

จากตาราง วตั ถุชิน้ ใดเปน็ วตั ถชุ นิดเดียวกนั

ก. วตั ถุ A และ C ข. วัตถุ A และ D ค. วัตถุ B และ C ง. วัตถุ B และ D
เฉลย ขอ้ ก สารบรสิ ทุ ธช์ิ นดิ เดยี วกนั จะมคี วามหนาแนน่ เทา่ กนั ดงั นนั้ ตอ้ งพจิ าณาจากคา่ ความหนาแนน่ ของวตั ถแุ ตล่ ะ

ช้ิน
9. ตอ้ งการหาคา่ ความหนาแนน่ ของวตั ถชุ น้ิ หนงึ่ ทมี่ รี ปู ทรงไมเ่ ปน็ รปู ทรงเรขาคณติ โดยสว่ นทก่ี วา้ งทสี่ ดุ ของวตั ถยุ าว
3.5 cm และสว่ นทยี่ าวของวตั ถุยาว 8.0 cm ควรเลอื กใช้อุปกรณใ์ นข้อใดในการหามวลและปริมาตรของวตั ถุ

อปุ กรณว์ ัดมวล อปุ กรณว์ ัดปรมิ าตร

ก. เคร่อื งชงั่ สปรงิ กระบอกตวงขนาด 10 ml

ข. ถว้ ยยรู กี า บกี เกอรข์ นาด 50 ml

ค. เคร่ืองชงั่ คานสามแขน ถ้วยยูรีกา

ง. ถ้วยยรู กี า เครือ่ งชัง่ คานสามแขน

เฉลย ขอ้ ค การหาคา่ ความหนาแนน่ ของวตั ถทุ มี่ รี ปู ทรงไมเ่ ปน็ รปู ทรงเรขาคณติ อปุ กรณท์ เี่ หมาะสมสำ� หรบั วดั มวลคอื
เครื่องช่งั คานสามแขน และอุปกรณท์ ่ีเหมาะสมส�ำหรับวัดปริมาตรคือ ถว้ ยยรู ีกา โดยวิธีการแทนท่ีนำ้�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

128 หนว่ ยที่ 2 | สารบรสิ ุทธิ์
คมู่ ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์

ใช้ขอ้ มูลในตาราง ตอบคำ� ถาม ข้อ 10 - 11

ชือ่ สาร ช่ือธาตุทเี่ ปน็ องค์ประกอบ สตู รเคมี
กรดน�้ำสม้ คารบ์ อน ไฮโดรเจน ออกซิเจน CH3COOH
โอโซน
แกส๊ คลอรนี ออกซเิ จน O3
แก๊สฮีเลยี ม คลอรนี Cl2
แมกนีเซยี มคลอไรด์ ฮีเลียม He
แมกนีเซยี ม คลอรีน MgCl2
เงนิ เงิน Ag
ปูนขาว หรือ แคลเซียมออกไซด์ แคลเซียม ออกซิเจน CaO

10. ขอ้ ใดเป็นสารประกอบทั้งหมด *

ก. กรดนำ้� ส้ม โอโซน ข. ฮเี ลียม เงิน

ค. แก๊สคลอรีน แมกนีเซียมคลอไรด์ ง. กรดนำ้� สม้ ปูนขาว

เฉลย ข้อ ง. เพราะ ท้งั กรดน�้ำสม้ และปูนขาวมีธาตทุ เ่ี ป็นองคป์ ระกอบมากกวา่ 1 ธาตุ

11. ข้อใดเปน็ ธาตทุ ั้งหมด *

ก. กรดน้�ำส้ม โอโซน ข. ฮีเลยี ม เงนิ

ค. แก๊สคลอรนี แมกนีเซยี มคลอไรด์ ง. กรดนำ�้ ส้ม ปนู ขาว

เฉลย ข้อ ข. เพราะ ทงั้ ฮีเลยี ม และเงนิ มธี าตุท่ีเปน็ องค์ประกอบเพยี งธาตุเดยี ว

12. ข้อใดไม่ใช่สมบตั ิของธาตุโลหะ *

ก. เปราะ ข. ดึงเปน็ เส้นได้

ค. น�ำไฟฟา้ และน�ำความร้อนไดด้ ี ง. มีความมันวาว

เฉลย ขอ้ ก. เพราะ โลหะ เหนยี วดงึ เปน็ เส้นได้ นำ� ไฟฟา้ และน�ำความร้อนไดด้ ี มีความมันวาว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 2 | สารบรสิ ทุ ธิ์ 129
คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์

NN OO O CO Ar 5

1 2 3 4

13. จากภาพดา้ นบนแสดงอะตอม ขอ้ ใดถูกตอ้ ง *

ก. 1, 2, 3 เปน็ ธาตุ ข. 1, 2, 4 เปน็ ธาตุ

ค. 2, 3, 5 เปน็ สารประกอบ ง. 3, 4, 5 เป็นสารประกอบ

เฉลย ข้อ ข. เพราะ ทัง้ 1 2 4 มีธาตหุ รืออะตอมทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบเพียงธาตุเดียว

14. อะตอมของธาตลุ ิเทียมมี 3 โปรตอน 4 นิวตรอน และ 3 อเิ ลก็ ตรอน แบบจ�ำลองอะตอมในข้อใด แสดงอะตอมของ
ธาตุลเิ ทียมไดเ้ หมาะสม * เมือ่

โปรตอน มปี ระจุบวก นวิ ตรอน เป็นกลางทางไฟฟ้า อเิ ล็กตรอน มปี ระจุลบ

ก. ข. ค. ง.

เฉลย ข้อ ง. เพราะโปรตอนและนิวตรอนกระจุกรวมกันอยู่ในนิวเคลียสตรงกลางอะตอม ส่วนอิเล็กตรอนอยู่รอบ
นวิ เคลียส

15. ขอ้ ใดไมถ่ ูกต้องเกย่ี วกบั การน�ำธาตุไปใช้ *
ก. ทองแดง เป็นโลหะที่ใชท้ ำ� สายไฟฟ้า เพราะน�ำไฟฟา้ ไดด้ ี
ข. ซิลคิ อน เป็นโลหะท่ใี ช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ เพราะมสี มบตั ิเป็นสารกึง่ ตวั น�ำ
ค. เหลก็ เป็นโลหะท่ใี ช้ทำ� เครือ่ งจักร เพราะรับน้ำ� หนกั ได้และคงทนตอ่ การสึกหรอ
ง. ไนโตรเจน เปน็ อโลหะที่ใชใ้ นปุ๋ยเร่งผลผลิตทางการเกษตร เพราะเปน็ สว่ นประกอบที่สำ� คัญของพชื
เฉลย ข้อ ข. เพราะซลิ ิคอนเปน็ ธาตกุ งึ่ โลหะ ใช้ในอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3หนว่ ยที่

หนว่ ยพืน้ ฐานของส่ิงมีชวี ิต

หน่วยการเรียนรู้นี้มีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับ
การใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง รูปร่างลักษณะของเซลล์ โครงสร้าง
และหน้าท่ีแต่ละโครงสร้างของเซลล์ ความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง
ลกั ษณะกบั หน้าท่ีของเซลล์ และการจดั ระบบของสิ่งมีชวี ิต รวมทง้ั
กระบวนการล�ำเลียงสารผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโมซิส
เพอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจหนว่ ยพนื้ ฐานของสงิ่ มชี วี ติ และกระบวนการบาง
อยา่ งทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายในหนว่ ยพื้นฐานของสงิ่ มชี ีวติ

องค์ประกอบของหนว่ ย

บทท่ี 1 เซลล์
เรอ่ื งท่ี 1 การศึกษาเซลล์ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน ์ เวลาท่ใี ช ้ 3 ชวั่ โมง
เรื่องที่ 2 โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของเซลล์ เวลาท่ใี ช้ 3 ชวั่ โมง
กจิ กรรมทา้ ยบท เวลาที่ใช้ 2 ชวั่ โมง

บทที่ 2 การล�ำเลียงสารเข้าออกเซลล์
เรื่องที่ 1 การแพร ่ เวลาทใ่ี ช ้ 1 ชว่ั โมง
เรอ่ื งท่ี 2 ออสโมซสิ เวลาทีใ่ ช้ 1 ชว่ั โมง
กิจกรรมทา้ ยบท เวลาทใ่ี ช ้ 2 ชว่ั โมง
รวมเวลาทใ่ี ช้ 12 ชว่ั โมง

หนว่ ยที่ 3 | หน่วยพืน้ ฐานของส่งิ มชี วี ิต 131
คูม่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

บทท่ี 1 เซลล์

สาระสำ� คัญ
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นส่วนประกอบ บางชนิด

ประกอบด้วยเซลล์ 1 เซลล์ บางชนิดประกอบด้วย
เซลล์หลายเซลล์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีขนาดเล็ก
มากจนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจึงต้องใช้
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเป็นเครื่องมือช่วยในการศึกษา
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีโครงสร้างพื้นฐานเหมือน
กัน คือ มีเยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส
ซ่ึงโครงสร้างพ้ืนฐานนี้จะท�ำหน้าท่ีแตกต่างกันไป แต่
เซลลพ์ ชื มโี ครงสร้างบางอย่างที่ไมพ่ บในเซลล์สัตว์ ได้แก่
ผนังเซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์

เซลล์มีรูปร่างลักษณะที่หลากหลายเพ่ือให้เหมาะ
สมกับหน้าท่ีของเซลล์น้ัน ๆ โดยเซลล์ชนิดเดียวกันหรือ
หลายชนิดจะท�ำงานร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ เน้ือเยื่อ
หลายชนดิ รวมกนั เปน็ อวยั วะ อวยั วะทำ� งานรว่ มกนั จดั เปน็
ระบบอวัยวะ และระบบอวัยวะทุกระบบท�ำงานร่วมกัน
จนเป็นสิ่งมีชวี ติ

จดุ ประสงค์ของบทเรียน เมอ่ื เรียนจบบทน้ีแลว้ นักเรียนจะสามารถทำ�สง่ิ ตอ่ ไปนไี้ ด้
1. ใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงศกึ ษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์
2. เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ รวมท้ังบรรยายหน้าที่ของผนังเซลล์

เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นวิ เคลียส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์
3. อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรปู รา่ งกับการท�ำหน้าท่ีของเซลล์
4. อธิบายการจัดระบบของสิ่งมชี ีวติ โดยเริ่มจากเซลล์ เน้ือเยือ่ อวัยวะ ระบบอวยั วะ จนเป็นสิง่ มชี ีวติ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

132 หน่วยที่ 3 | หน่วยพื้นฐานของส่ิงมชี ีวติ
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

ภาพรวมการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

จุดประสงค์ แนวความคดิ ต่อเนื่อง กิจกรรม รายการประเมิน
การเรียนรู้ของบทเรียน

1. ใช้กล้องจุลทรรศน์ 1. สงิ่ มชี วี ติ ทกุ ชนดิ ประกอบดว้ ยเซลล์ กิจกรรมท่ี 3.1 นกั เรียนสามารถ
ใช้แสงศึกษาเซลล์และ 2. สงิ่ มชี วี ติ บางชนดิ ประกอบดว้ ยเซลล์ โลกใต้กล้อง 1. ใช้กล้องจุลทรรศน์
โครงสรา้ งตา่ ง ๆ ภายใน จุลทรรศน์เป็น
เซลล์ เพยี ง 1 เซลล์ บางชนดิ ประกอบดว้ ย อยา่ งไร ใช้แสงสังเกตสไลด์
เซลลห์ ลายเซลล์ ถาวรของเน้ือเยื่อพืช
3. เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีขนาดเล็กมาก เนื้อเย่ือสัตว์ และ
ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ส่งิ มชี วี ิตเซลลเ์ ดยี ว
ตอ้ งใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ นการสงั เกต 2. วาดภาพเซลล์และ
โครงสรา้ งภายในเซลล์
ตามท่ีสังเกตเห็นโดย
การใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์
ใชแ้ สง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสง่ิ มีชวี ติ 133
คมู่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

จุดประสงค์ แนวความคิดต่อเนอ่ื ง กจิ กรรม รายการประเมนิ
การเรยี นรู้ของบทเรยี น

2. เปรียบเทียบรูปร่าง 1. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีโครงสร้าง กิจกรรมท่ี 3.2 นกั เรียนสามารถ
ลักษณะ และโครงสร้าง พืน้ ฐานเหมอื นกัน คือ เยอ่ื หมุ้ เซลล์ เซลล์พืชและเซลล์
ของเซลล์พืชและเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส ส่วน สัตว์แตกต่างกัน 1. เปรยี บเทยี บความเหมอื น
สตั ว์ รวมทง้ั บรรยายหนา้ ที่ โครงสร้างท่ีพบในเซลล์พืชแต่ไม่ อยา่ งไร และความแตกต่าง
ของผนงั เซลล์ เยอื่ หมุ้ เซลล์ พบในเซลล์สัตว์ คือ ผนังเซลล์และ ระหว่างรูปร่างและ
ไซโทพลาสซมึ นวิ เคลยี ส คลอโรพลาสต์ โครงสร้างของเซลล์
แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี 2. โครงสร้างต่าง ๆ ของเซลล์มีหน้าที่ สาหร่ายหางกระรอก
และคลอโรพลาสต์ แตกต่างกนั เซลล์เย่ือหัวหอมแดง
และเซลล์เยื่อบุข้าง
แกม้

2. บรรยายหน้าที่ของ
ผนงั เซลล์ เยอื่ หมุ้ เซลล์
ไซโทพลาซมึ นวิ เคลยี ส
แวควิ โอลไมโทคอนเดรยี
และคลอโรพลาสต์

3. อธิบายความสัมพันธ์ 1. เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่างลักษณะ ก า ร อ ่ า น แ ล ะ นักเรียนสามารถ
ระหว่างรูปร่างกับการ หลากหลายและมคี วามเหมาะสมกบั วิเคราะห์เนื้อหา
ท�ำหนา้ ที่ของเซลล์ หน้าที่ของเซลล์นั้น ในหนังสอื เรยี น 1. อธิบายความสัมพันธ์
ระหวา่ งรปู รา่ งกบั การทำ�
หน้าที่ของเซลล์ เช่น
เซลลป์ ระสาท เซลลค์ มุ
เซลล์เมด็ เลือดแดง

4. อธบิ ายการจดั ระบบของ 1. พชื และสตั วเ์ ปน็ สงิ่ มชี วี ติ หลายเซลล์ ก า ร อ ่ า น แ ล ะ นักเรียนสามารถ
สิ่งมีชีวิต โดยเริ่มจาก มีการจัดระบบโดยเริ่มจากเซลล์ไป วิเคราะห์เน้ือหา
เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ เป็นเน้ือเย่ือ อวัยวะ ระบบอวัยวะ ในหนังสือเรยี น 1. การเขียนแผนภาพ
ระบบอวัยวะ จนเป็น และสงิ่ มชี วี ิต แสดงการจัดระบบ
สง่ิ มีชีวติ ของส่ิงมีชีวิต โดย
แสดงความสัมพันธ์
ระหวา่ งเซลล์ เนอ้ื เยอ่ื
อวัยวะ ระบบอวัยวะ
และสงิ่ มชี ีวิต

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

134 หนว่ ยที่ 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสงิ่ มชี วี ิต
คูม่ ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์

ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทคี่ วรไดจ้ ากบทเรียน

ทกั ษะ เรื่องที่
1 2 กิจกรรมทา้ ยบท
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
การสังเกต •••
การวัด •
การจ�ำแนกประเภท ••
การหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซ
และสเปซกับเวลา •••
การใช้จ�ำนวน ••
การจดั กระทำ� และสื่อความหมายขอ้ มูล
การลงความเหน็ จากข้อมูล •
การพยากรณ์ •
การตง้ั สมมติฐาน •
การก�ำหนดนิยามเชิงปฏบิ ตั กิ าร •••
การก�ำหนดและควบคุมตวั แปร •••
การทดลอง •••
การตีความหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรปุ
การสร้างแบบจ�ำลอง
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21
การคิดอย่างสรา้ งสรรค์
การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ
การแก้ปญั หา
การส่อื สาร
การร่วมมอื รว่ มใจ
การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมีชวี ิต 135
คูม่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์

แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดำ� เนนิ การดังนี้ ความรูเ้ พ่มิ เติมสำ� หรบั ครู
ภาพนำ� หน่วย คอื ภาพของสง่ิ มชี วี ิตหลายชนดิ ไดแ้ ก่
1. ใหน้ กั เรยี นสงั เกตภาพและอา่ นเนอื้ หานำ� หนว่ ยที่ 3 พืช (บัว) สัตว์ (เป็ด) และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์
ในหนังสือเรียน ร่วมกันอภิปรายและตอบค�ำถาม (พารามีเซียม) เม่ือขยายภาพของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
ดังต่อไปน้ี จะพบว่าส่ิงมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นหน่วยพื้นฐาน
โดยภาพท่ีขยายจากตัวเป็ด คือ เซลล์กล้ามเน้ือลาย
1.1 นักเรียนสังเกตเห็นส่ิงมีชีวิตอะไรบ้าง (เป็ด ภาพท่ีขยายจากใบบัว คือ เซลล์ของใบพืช และภาพ
ใบบัว) ขยายจากแหล่งน้�ำ คือ พารามีเซียม ซ่ึงเป็นส่ิงมีชีวิต
เซลล์เดียวทอี่ าศัยอยูใ่ นแหลง่ น้�ำ
1.2 นักเรียนคิดว่าในน้�ำมีส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีเรา
มองไม่เห็นหรือไม่ เช่นอะไรบ้าง (นักเรียน
สามารถตอบได้ตามความเข้าใจของตนเอง
แต่ครูควรอธิบายเพิ่มเติมว่าในแหล่งน�้ำ
ทุกท่ีจะมีสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอาศัยอยู่ เช่น
พารามีเซียม สาหรา่ ยบางชนดิ )

1.3 นักเรียนคิดว่าสิ่งที่อยู่ภายในวงกลม 3 วงนี้
คอื อะไร เกยี่ วขอ้ งกบั สง่ิ มชี วี ติ ในภาพอยา่ งไร
(นักเรียนสามารถตอบได้ตามความเข้าใจ
ของตนเอง แต่ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า ภายใน
วงกลม 2 วง ดา้ นบน คอื สว่ นประกอบยอ่ ย ๆ
ของพืชและสัตว์ เรยี กว่า เซลล์ สว่ นวงกลม
ดา้ นลา่ งเปน็ สง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วคอื พารามเี ซยี ม)

2. ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ค�ำถามน�ำหน่วย และ
อภิปรายว่าในหน่วยน้ีนักเรียนจะได้เรียนเกี่ยวกับ
เรื่องอะไร

3. เช่ือมโยงเขา้ สู่บทท่ี 1 โดยครอู าจใช้คำ� ถามวา่ จากที่
เรียนมาแล้วว่าธาตุประกอบด้วยหน่วยย่อยท่ีเล็ก
ท่ีสดุ ท่ีแสดงสมบตั ขิ องธาตเุ รียกวา่ อะตอม นกั เรียน
คิดว่า สิ่งมีชีวิตจะมีหน่วยย่อยท่ีเล็กที่สุดที่แสดง
สมบตั ขิ องการมชี วี ติ หรอื ไม่ หนว่ ยยอ่ ยทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ นน้ั
เรียกวา่ อะไร และมีรูปรา่ งลกั ษณะอย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

136 หนว่ ยที่ 3 | หน่วยพืน้ ฐานของสง่ิ มีชีวิต
คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์

4. ให้นักเรียนสังเกตภาพจากหนังสือเรียนซ่ึงเป็นภาพ ความร้เู พม่ิ เตมิ สำ� หรับครู
เลือดท่ีก�ำลังแข็งตัวภายใต้กล้องจุลทรรศน์ที่มีก�ำลัง ภาพน�ำบท คือ ภาพการแข็งตัวของเลือด ประกอบ
ขยายสงู และอา่ นเนื้อหาน�ำบท จากน้ันอภปิ รายโดย ด้วยเซลล์เม็ดเลือดแดง มีลักษณะเป็นทรงกลมเว้า
ใชค้ �ำถามตอ่ ไปนี้ สว่ นกลาง มีสีแดง กระจายอย่โู ดยรอบ เซลลเ์ มด็ เลอื ด
ขาวมีลักษณะเป็นทรงกลมสีขาว และเส้นใยไฟบริน
4.1 เลือดที่ก�ำลังแข็งตัวประกอบด้วยอะไรบ้าง เปน็ สารประกอบประเภทโปรตนี มลี กั ษณะเปน็ เสน้ ใย
(เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง เซลล์เมด็ เลอื ดขาว และ สีน�้ำตาลอ่อน กระจายอยู่โดยรอบ เพื่อป้องกันการ
เสน้ ใยไฟบรนิ ) เคล่ือนที่ของเม็ดเลือดในกรณีท่ีเกิดบาดแผลแล้วมี
เลือดไหล เป็นการป้องกันการสญู เสยี เลอื ด จากภาพ
4.2 รูปร่างลักษณะของเซลล์แต่ละชนิดมีความ แสดงให้เห็นว่าในเลือดที่เราเห็นว่าเป็นเน้ือเดียวกัน
เหมือนหรือต่างกันหรือไม่อย่างไร (ต่างกัน ยงั มเี ซลลต์ า่ ง ๆ เปน็ องค์ประกอบอยู่มากมาย
โดยเซลล์เม็ดเลือดแดง มีลักษณะเป็น
ทรงกลมสีแดง เว้าสว่ นกลาง เซลลเ์ ม็ดเลือดขาว
มลี กั ษณะเปน็ ทรงกลมสขี าว สว่ นไฟบรนิ เปน็
สารประกอบประเภทโปรตีน)

4.3 เซลล์แต่ละชนิดมีหน้าท่ีแตกต่างกันอย่างไร
(เซลล์เม็ดเลือดแดงท�ำหน้าที่ล�ำเลียงแก๊สไป
ยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว
ทำ� หนา้ ทกี่ �ำจดั เชอ้ื โรค)

4.4 เราสามารถสังเกตลกั ษณะของเซลลเ์ หล่านนั้
ได้โดยวิธีการใด (สามารถสังเกตได้โดยใช้
กล้องจลุ ทรรศน์ท่มี กี �ำลังขยายสงู )

5. ใหน้ กั เรยี นอา่ นจดุ ประสงคข์ องบทเรยี นและอภปิ ราย
ร่วมกัน เพ่ือให้ทราบขอบเขตเนื้อหาเป้าหมาย
การเรยี นรู้ และแนวทางการประเมนิ ทนี่ กั เรยี นจะได้
เรียนรู้ในบทเรียนนี้ (นักเรียนจะได้ฝึกการใช้
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงสังเกตเซลล์ เปรียบเทียบ
รูปร่างลักษณะและโครงสร้างของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง
กับหน้าที่ของเซลล์ และอธิบายการจัดระบบของ
สิ่งมชี ีวิต)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพ้นื ฐานของสงิ่ มีชวี ติ 137
คมู่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

เรือ่ งท่ี 1 การศึกษาเซลล์ดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์

แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดำ� เนินการดงั น้ี หนว่ ยที่ 3 | หนว่ ยพืน้ ฐานของส่งิ มชี วี ติ 77
1. ครใู หน้ กั เรยี นดภู าพนำ� เรอื่ ง อา่ นเนอ้ื หานำ� เรอ่ื งและ หนงั สอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์

รู้จักคำ� ส�ำคัญ ทำ� กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรยี น เรือ่ งที่ 1 การศึกษาเซลลด์ ้วยกลอ้ งจลุ ทรรศน์
แลว้ นำ� เสนอผลการทำ� กจิ กรรม หากครพู บวา่ นกั เรยี น
ยังท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ค�าส�าคญั
ครคู วรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผดิ ของนกั เรยี น เซลล์ กลอ้ งจุลทรรศน์
เพอื่ ใหน้ กั เรยี นมคี วามรพู้ นื้ ฐานทถ่ี กู ตอ้ งและเพยี งพอ กล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสง
ที่จะเรียนเร่ืองการศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์
ต่อไป ภาพ 3.1 การใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ในการศึกษาสิง่ มีชีวติ
จากที่ทราบมาแล้วว่าธาตุประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เล็กท่ีสุดท่ีแสดงสมบัติของธาตุ คือ อะตอม ส่วนสิ่งมีชีวิต
ไม่วา่ จะเปน็ พืช สัตว์ หรือแม้แต่ร่างกายของเรา ลว้ นประกอบดว้ ยหน่วยพ้ืนฐานท่ีเลก็ ทีส่ ุดท่ีแสดงสมบตั ขิ องการมีชวี ติ คือ
เซลล์ ทุกส่วนของร่างกายประกอบไปด้วยเซลล์ เช่น แขน ประกอบไปด้วย เซลล์ผิวหนัง เซลล์กล้ามเน้ือ เซลล์เม็ดเลือด
เซลลก์ ระดกู และเซลลอ์ น่ื ๆ อกี เปน็ จา� นวนมาก ซง่ึ เซลลต์ า่ งชนดิ กนั อาจมขี นาดและรปู รา่ งลกั ษณะแตกตา่ งกนั แตส่ ว่ นใหญ่
มักมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า นักวิทยาศาสตร์จึงได้คิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีท่ีช่วยให้มนุษย์
สามารถมองเห็นส่ิงต่าง ๆ ท่ีมีขนาดเล็กเหล่าน้ี โดยเร่ิมจากการใช้แว่นขยายและต่อมาได้มีการประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์
(microscope) ท่ีช่วยขยายขนาดภาพของวตั ถุขนาดเล็กได้หลายเทา่ ในปัจจบุ นั กล้องจุลทรรศน์มหี ลายชนดิ แตส่ ่วนใหญ่
ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาเซลลเ์ บอื้ งตน้ จะเปน็ กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สง (light microscope) นกั เรยี นคดิ วา่ กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงน้ี
ใช้ศึกษาเซลลไ์ ด้อยา่ งไร

ทบทวนความรกู้ ่อนเรยี น

1. สิ่งมชี ีวติ ในภาพมีกีก่ ลุม่ อะไรบา้ ง
2. ถา้ ตอ้ งการสงั เกตครีบปลาให้ชัดเจนยิ่งข้ึนจะใช้เครื่องมอื อะไร

รูอ้ ะไรบา้ งก่อนเรยี น เขยี นสิ่งท่ีร้เู กยี่ วกบั กลอ้ งจุลทรรศน์และเซลล์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลยทบทวนความรกู้ อ่ นเรียน
1. สง่ิ มชี วี ิตในภาพมกี กี่ ล่มุ อะไรบา้ ง
แนวค�ำตอบ สงิ่ มชี ีวติ ในภาพมี 3 กลมุ่ คอื กลุ่มพืช กลมุ่ สตั ว์

และกลมุ่ ทีไ่ มใ่ ชพ่ ชื และสัตว์
2. ถา้ ต้องการสงั เกตครีบปลาให้ชดั เจนยงิ่ ขึน้ จะใช้เคร่ืองมืออะไร
แนวคำ� ตอบ แว่นขยาย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

138 หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพืน้ ฐานของส่ิงมชี วี ิต
คมู่ อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

2. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์และเซลล์โดยให้ท�ำกิจกรรมรู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียน
สามารถเขียนได้ตามความเข้าใจของนักเรียน โดยครูไม่เฉลยค�ำตอบและครูน�ำข้อมูลจากการตรวจสอบความรู้เดิม
ของนักเรียนนี้ไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ว่าควรเน้นย�้ำหรืออธิบายเรื่องใดเป็นพิเศษ เม่ือนักเรียนเรียนจบ
เรอ่ื งน้แี ลว้ นกั เรียนจะมีความรูค้ วามเข้าใจครบถ้วนตามจดุ ประสงคข์ องบทเรยี น

ตวั อยา่ งแนวคดิ คลาดเคลอ่ื นซ่งึ อาจพบในเรื่องน้ี
• เซลลข์ องส่ิงมชี วี ติ ทกุ ชนดิ มขี นาดและรูปรา่ งเหมือนกัน
• ส่ิงมีชีวิตเซลล์เดยี วไมส่ ามารถมชี ีวิตอย่ไู ด้

3. น�ำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรม 3.1 โดยอาจน�ำน้�ำ 1-2 หยด จากแหล่งน�้ำบริเวณรอบ ๆ โรงเรียนมาให้นักเรียนสังเกต
ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ซ่ึงครูควรตรวจสอบหยดน้�ำก่อนน�ำมาให้นักเรียนสังเกต จากนั้นใช้ค�ำถามเพื่อเชื่อมโยง
เขา้ สกู่ ิจกรรม เช่น

3.1 ก่อนสังเกตด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง นักเรียนสังเกตเห็นอะไรในหยดน�้ำบ้าง (นักเรียนตอบได้ตามท่ีสังเกต
เห็นจริง เช่น ไมเ่ ห็น)

3.2 หลังจากสังเกตด้วยกล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสง นกั เรยี นสงั เกตเห็นอะไรในหยดนำ�้ บา้ ง (นกั เรียนตอบไดต้ ามที่สงั เกต
เห็นจรงิ เช่น เหน็ สง่ิ มชี ีวิตขนาดเลก็ )

3.3 นกั เรยี นสงั เกตเหน็ ส่ิงตา่ ง ๆ ในหยดนำ้� ได้อย่างไร (ใช้กล้องจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง)
3.4 นักเรียนทราบหรือไม่ว่ากล้องจุลทรรศน์ใช้แสงมีวิธีการใช้งานอย่างไร และถ้าน�ำไปสังเกตชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิต

จะเปน็ อยา่ งไร (นกั เรยี นตอบไดต้ ามความเขา้ ใจ โดยครอู ธบิ ายวา่ นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรสู้ งิ่ ตา่ ง ๆ นใี้ นกจิ กรรมตอ่ ไป)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | หนว่ ยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต 139
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์

กจิ กรรมท่ี 3.1 โลกใต้กล้องจุลทรรศน์เป็นอย่างไร

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

กอ่ นการท�ำกิจกรรม (ตอนท่ี 1) ครคู วรอภปิ รายในหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้

1. ให้นักเรยี นอา่ นวิธกี ารดำ� เนนิ กิจกรรมตอนท่ี 1 ในหนังสือเรยี น และรว่ มกันอภปิ รายในประเด็นดงั ตอ่ ไปนี้
1.1 กจิ กรรมตอนที่ 1 เรียนเกี่ยวกบั อะไร (การใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสง)
1.2 กิจกรรมตอนท่ี 1 มีจุดประสงคอ์ ะไร (นักเรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
1.3 วิธีการด�ำเนินกิจกรรมตอนท่ี 1 มีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (สังเกตส่วนประกอบ อ่านวิธีการใช้ และฝึกการใช้

กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเพ่ือให้สามารถใช้ได้อย่างถูกต้อง จากน้ันท�ำสไลด์ตัวอักษร สังเกตสไลด์ตัวอักษรด้วย
แว่นขยายและกลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสงโดยเปลย่ี นกำ� ลงั ขยายจาก 4 10 และ 40 เทา่ ตามล�ำดบั เลอื่ นสไลด์ไปทาง
ซา้ ย ขวา บน และล่าง จากน้ันบันทึกผลการท�ำกิจกรรม)
1.4 ข้อควรระวงั ในการทำ� กิจกรรมมีอะไรบา้ ง
(- ไม่ปรับระยะภาพด้วยปมุ่ ปรับภาพหยาบเม่อื ใช้เลนสใ์ กล้วตั ถกุ ำ� ลังขยายขนาด 40 เทา่
- ใช้จานหมุนในการเปลี่ยนกำ� ลังขยายของเลนส์ใกลว้ ตั ถุ
- ปรบั เลนส์ใกลว้ ตั ถใุ หเ้ ป็นเลนส์ทมี่ ีกำ� ลงั ขยายตำ�่ สดุ กอ่ นเปลย่ี นสไลดห์ รือนำ� สไลดอ์ อก)
ครูควรอธิบายเพิ่มเติมในประเดน็ ท่ีนกั เรียนยังตอบได้ไมค่ รบถว้ น
2. ควรแนะน�ำให้นักเรียนวางแผนการท�ำงานร่วมกัน พร้อมทั้งออกแบบวิธีการบันทึกผลให้เรียบร้อยก่อนท�ำกิจกรรม
โดยให้นักเรียนออกแบบวิธีการบันทึกผลเพื่อเปรียบเทียบตัวอักษรที่เห็นจากแว่นขยายและจากกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
เมอื่ มกี ารปรบั กำ� ลงั ขยาย รวมทง้ั การเปลยี่ นต�ำแหนง่ ของภาพเมอื่ มกี ารเลอ่ื นสไลด์ ตรวจสอบการออกแบบวธิ บี นั ทกึ ผล
ของนกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ โดยอาจใหบ้ างกลมุ่ นำ� เสนอแลว้ ครใู หค้ ำ� แนะนำ� เพอ่ื ปรบั แกว้ ธิ กี ารบนั ทกึ ผลตามความเหมาะสม

ระหวา่ งการทำ� กจิ กรรม

3. ให้นกั เรียนทำ� กิจกรรมตามแผนท่ีวางไว้ โดยครูสังเกตวธิ กี ารใช้กล้องจุลทรรศนใ์ ชแ้ สง เน้นใหน้ กั เรยี นทุกคนไดม้ โี อกาส
ฝกึ ใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงใหถ้ กู ตอ้ ง และสงั เกตการบนั ทกึ ผลการเปลย่ี นแปลงของภาพจากการใชแ้ วน่ ขยายและการ
เปลย่ี นแปลงของภาพจากการใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง เมอื่ มกี ารปรบั ก�ำลงั ขยาย และเลื่อนแทน่ วางสไลดไ์ ปทางซา้ ย
ขวา บน และลา่ ง เพอื่ ใหข้ อ้ แนะนำ� หากเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดในการทำ� กจิ กรรม ณ ขณะนน้ั รวมทง้ั นำ� ขอ้ มลู ทคี่ วรจะปรบั ปรงุ
และแก้ไขมาใช้ประกอบการอภิปรายหลงั ทำ� กิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

140 หน่วยที่ 3 | หน่วยพ้ืนฐานของสิง่ มีชวี ติ
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์

หลงั การท�ำกิจกรรม

4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม โดยน�ำผลการท�ำกิจกรรมไปติดบนกระดาน หรือน�ำข้อมูลไปเปรียบ
เทียบกบั เพอื่ นในหอ้ งเรยี น

5. และนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเปรยี บเทยี บขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม โดยอาจเลอื กเฉพาะผลกจิ กรรมทถ่ี กู ตอ้ งชดั เจนและผล
กจิ กรรมท่คี ลาดเคลื่อน มาอภิปรายเปรียบเทียบและหาสาเหตทุ ท่ี �ำให้เกิดผลกจิ กรรมคลาดเคลอ่ื น เช่น เขยี นตวั อักษร
ขนาดใหญ่เกินไป

6. ใหน้ กั เรยี นตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม และร่วมกนั อภปิ รายค�ำตอบเพอ่ื ให้นักเรยี นสรปุ ไดว้ ่า กล้องจลุ ทรรศนช์ ่วยใหม้ อง
เห็นวัตถุท่ีมีขนาดเล็ก ภาพจากกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงจะมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ เป็นภาพหัวกลับและกลับซ้ายเป็นขวา
หรอื กลบั ขวาเป็นซ้าย และเมอ่ื เล่ือนสไลด์ ภาพทีเ่ ห็นจากกลอ้ งจุลทรรศนจ์ ะเคลือ่ นไปในทิศทางตรงกันขา้ ม

7. เชอ่ื มโยงความรขู้ องนกั เรยี นทไี่ ดจ้ ากการอภปิ รายกจิ กรรมตอนท่ี 1 กบั กจิ กรรมทจี่ ะเรยี นตอ่ ไป โดยอาจใชค้ ำ� ถามวา่ ถา้
ใชก้ ล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สงสอ่ งดชู ้นิ สว่ นหรอื เซลลข์ องสิ่งมชี ีวติ จะเป็นอยา่ งไร นักเรียนจะได้ทราบจากกจิ กรรมตอนที่ 2

ก่อนการท�ำกิจกรรม (ตอนที่ 2)

8. ใหน้ กั เรยี นอ่านวธิ กี ารดำ� เนินกจิ กรรมตอนที่ 2 จากหนังสือเรยี น และรว่ มกันอภิปรายในประเด็นดังตอ่ ไปน้ี
8.1 กจิ กรรมตอนที่ 2 เรียนรเู้ กี่ยวกับอะไร (รปู รา่ งลกั ษณะของเซลลพ์ ืช เซลล์สัตว์ และเซลลข์ องสิ่งมชี วี ติ เซลลเ์ ดียว)
8.2 กิจกรรมตอนท่ี 2 มีจดุ ประสงคอ์ ะไร (นกั เรียนตอบตามความคิดของตนเอง)
8.3 วธิ กี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมตอนที่ 2 มขี น้ั ตอนโดยสรปุ อยา่ งไร (ใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงสงั เกตสไลดถ์ าวรของเนอ้ื เยอื่

พชื เนอื้ เยอ่ื สตั ว์ และสงิ่ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี ว วาดภาพตามทส่ี งั เกตเหน็ จากนนั้ นำ� ภาพมาจดั แสดงและรว่ มกนั อภปิ ราย
เปรยี บเทยี บลกั ษณะท่ีพบ)
8.4 ขอ้ ควรระวังในการทำ� กจิ กรรมมอี ะไรบา้ ง
(- ไมป่ รบั ระยะภาพดว้ ยปุ่มปรบั ภาพหยาบเม่อื ใชเ้ ลนสใ์ กล้วตั ถกุ ำ� ลังขยายขนาด 40 เท่า
- ใชจ้ านหมุนในการเปลี่ยนกำ� ลังขยายของเลนสใ์ กลว้ ตั ถุ
- ปรับเลนสใ์ กล้วตั ถุให้เป็นเลนสท์ ่มี กี ำ� ลังขยายตำ�่ สดุ กอ่ นเปลย่ี นสไลดห์ รอื นำ� สไลด์ออก)
9. ควรแนะน�ำให้นักเรียนวางแผนการท�ำงานร่วมกัน พร้อมท้ังออกแบบวิธีการบันทึกผลให้เรียบร้อยก่อนท�ำกิจกรรม
ตรวจสอบการออกแบบวิธีบันทึกผลของนักเรียนแต่ละกลุ่ม โดยอาจให้บางกลุ่มน�ำเสนอแล้วครูให้ค�ำแนะน�ำเพ่ือ
ปรบั แก้วธิ กี ารบันทกึ ผลตามความเหมาะสม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | หน่วยพนื้ ฐานของสง่ิ มชี วี ิต 141
คูม่ อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์

ระหว่างการทำ� กจิ กรรม
10. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมตามแผนท่ีวางไว้ โดยครูสังเกตวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง สังเกตการบันทึกลักษณะที่

คล้ายคลึงกันหรือลักษณะร่วมของเซลล์สิ่งมีชีวิต ทั้งพืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น การมีลักษณะเป็นห้อง ๆ
ขนาดเทา่ ๆ กัน หรอื การมีขอบเขตทช่ี ัดเจนของเซลล์
หลงั การทำ� กิจกรรม
11. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำ� เสนอผลการทำ� กจิ กรรม โดยตดิ แสดงผลงานบนกระดาน หรอื นำ� ขอ้ มลู ไปเปรยี บเทยี บกบั เพอ่ื น
ในหอ้ งเรยี น
12. ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากกิจกรรม โดยอาจเลือกเฉพาะผลกิจกรรมท่ีถูกต้องชัดเจนและผลกิจกรรม
ที่คลาดเคล่ือน มาอภิปรายเปรียบเทียบและหาสาเหตุที่ท�ำให้เกิดผลกิจกรรมคลาดเคลื่อน เช่น มองไม่เห็นเซลล์ของ
สิ่งมชี ีวติ
13. ให้นกั เรยี นตอบคำ� ถามทา้ ยกิจกรรม และร่วมกนั อภิปรายคำ� ตอบเพ่อื ให้นักเรยี นสรุปได้วา่ เนื้อเย่ือของพชื สัตว์ และ
สง่ิ มีชวี ติ เซลล์เดยี ว มีลกั ษณะที่สำ� คญั เหมือนกันคือ ประกอบดว้ ยหนว่ ยยอ่ ย ๆ ซงึ่ มีลักษณะเปน็ หอ้ ง มีขอบเขตชัดเจน
เรยี กว่า เซลล์
14. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาในหนังสือเรียน พร้อมทั้งให้ตอบค�ำถามในเน้ือหา เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับการใช้
กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงและเซลลข์ องสงิ่ มชี วี ิต

เฉลยคำ�ถามระหว่างเรียน
• ถ้าใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงสังเกตวัตถุ แล้วพบว่ามองเห็นเพียงขอบด้านซ้ายของวัตถุ นักเรียนจะมีวิธี

แกป้ ัญหาอย่างไร
แนวคำ� ตอบ ปรบั ใหแ้ ท่นวางวตั ถุเลอื่ นไปทางดา้ นซ้าย
• กระดาษที่ใช้เขยี นหนังสอื มเี ซลลเ์ ปน็ ส่วนประกอบหรอื ไม่ อย่างไร
แนวค�ำตอบ กระดาษทใ่ี ชเ้ ขยี นหนงั สือไมม่ เี ซลลเ์ ปน็ หนว่ ยพืน้ ฐาน เนือ่ งจากเปน็ สง่ิ ไมม่ ชี วี ติ ซึ่งประกอบดว้ ย

เส้นใยจากธรรมชาติและสารอ่นื ๆ ทีเ่ ติมแตง่ ให้เกดิ ลักษณะทเ่ี หมาะสมกบั การใชง้ าน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

142 หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพนื้ ฐานของส่งิ มีชวี ติ
คู่มอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์

15. ร่วมกันอภิปรายสรุปเนื้อหาท้ังหมดท่ีได้เรียนรู้จากการท�ำกิจกรรมและการอ่านเพ่ิมเติมเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า
ส่ิงมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ สิ่งมีชีวิตบางชนิดท่ีมีกระบวนการต่าง ๆ ของการด�ำรงชีวิตเกิดข้ึนภายในเซลล์
เพียงเซลล์เดยี ว เรียกว่า ส่ิงมชี ีวติ เซลล์เดยี ว เชน่ แบคทเี รยี ยีสต์ พารามเี ซยี ม ส่วนสิง่ มีชวี ติ ทม่ี ีกระบวนการด�ำรงชีวติ
ทซี่ บั ซอ้ น ประกอบดว้ ยเซลลห์ ลายเซลลท์ ท่ี ำ� งานรว่ มกนั เพอื่ การดำ� รงชวี ติ เรยี กวา่ สงิ่ มชี วี ติ หลายเซลล์ เชน่ พชื สตั ว์ เหด็

16. ถ้าครูพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคล่ือนเก่ียวกับเร่ืองน้ี ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อแก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนให้
ถกู ต้อง เช่น

แนวคิดคลาดเคลือ่ น แนวความคดิ ท่ีถกู ตอ้ ง
เซลลข์ องสงิ่ มชี วี ติ ทกุ ชนดิ มขี นาดและรปู รา่ งเหมอื นกนั เซลลข์ องสงิ่ มชี วี ติ ทกุ ชนดิ มขี นาดและรปู รา่ งไมเ่ หมอื นกนั
ส่งิ มีชวี ิตเซลล์เดยี วไม่สามารถมชี วี ิตอยู่ได้ ส่งิ มชี วี ิตเซลลเ์ ดียวสามารถดำ� รงชีวติ อยูไ่ ด้

17. เช่ือมโยงองค์ความร้ทู ี่ไดไ้ ปยังเร่อื งโครงสรา้ งและหน้าท่ีของเซลลท์ ่จี ะเรียนในเรอื่ งถัดไป โดยครอู าจใชค้ �ำถาม เช่น จาก
ทที่ ราบมาแล้ววา่ สงิ่ มีชวี ติ ทกุ ชนดิ มเี ซลลเ์ ป็นหนว่ ยพน้ื ฐาน นักเรียนคดิ ว่าเซลลพ์ ชื และเซลล์สตั ว์มลี ักษณะเหมอื นหรอื
แตกตา่ งกนั อย่างไร และโครงสรา้ งภายในของเซลลด์ ังกล่าวประกอบด้วยอะไรบ้าง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | หนว่ ยพืน้ ฐานของสงิ่ มชี ีวิต 143
คมู่ ือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์

กจิ กรรมที่ 3.1 โลกใต้กลอ้ งจลุ ทรรศน์เปน็ อยา่ งไร

นกั เรียนจะได้เรยี นรู้เก่ยี วกบั หนว่ ยพนื้ ฐานของสิ่งมชี วี ติ ผ่านการใช้กล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง จากนัน้ จึงนำ� ผลท่ีได้จากการ
ทำ� กจิ กรรมมาลงข้อสรุปเก่ยี วกบั หนว่ ยพนื้ ฐานของสง่ิ มชี วี ติ

จดุ ประสงค์ 1. สังเกตและอภิปราย เพื่อระบุส่วนประกอบและบรรยายหน้าท่ีแต่ละส่วนประกอบของ
กล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสง

2. ฝึกปฏิบัติการใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงเพอ่ื สงั เกตเซลล์
3. สังเกตเซลล์และนำ� เสนอหลกั ฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกบั ลกั ษณะของเซลล์

เวลาที่ใช้ใน 1 ช่ัวโมง 30 นาที
การท�ำกิจกรรม

วสั ดุและอปุ กรณ์ รายการ ปริมาณ/กลุม่
1 กล้อง
1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง 1 อัน
1 แผ่น
2. แวน่ ขยาย 1 แผน่

3. สไลด์ 1 แผ่น

4. สไลดถ์ าวรของเนอ้ื เยื่อพืช เชน่ ล�ำต้น ใบ 1 แผน่

5. สไลดถ์ าวรของเน้อื เยอ่ื สตั ว์ เช่น ล�ำไส้เลก็ กลา้ ม 1 ดา้ ม
เน้อื 1 มว้ น
1 - 2 แผ่น
6. สไลดถ์ าวรของสงิ่ มีชีวติ เซลลเ์ ดียว
เช่น พารามเี ซยี ม

7. ปากกา

8. เทปใส

9. กระดาษขาว ขนาด 1 cm x 1 cm

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

144 หนว่ ยที่ 3 | หน่วยพื้นฐานของส่ิงมชี ีวติ
คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

การเตรยี มตัว • เตรียมกลอ้ งจุลทรรศน์ใช้แสงใหอ้ ย่ใู นสภาพพร้อมใช้งาน
ล่วงหน้าส�ำหรับครู • จดั หาสไลดถ์ าวรของเนอื้ เยือ่ พชื เน้ือเยื่อสัตว์ และส่ิงมีชีวิตเซลลเ์ ดยี ว
ข้อควรระวงั • กรณีที่ไม่มีสไลด์ถาวรของส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียว ครูอาจเตรียมสไลด์สดของส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียว
ข้อเสนอแนะ
ในการท�ำกิจกรรม โดยเกบ็ ตวั อยา่ งนำ�้ จากแหลง่ นำ้� นง่ิ นำ� มาหยดบนสไลด์ ปดิ ดว้ ยกระจกปดิ สไลดเ์ พอ่ื ใหน้ กั เรยี น
ศกึ ษา
• ถา้ อปุ กรณใ์ นหอ้ งเรยี นสามารถเชอ่ื มตอ่ กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงกบั เครอื่ งฉายภาพได้ ควรทดลอง
เช่อื มตอ่ หรอื ประสานงานกบั ผู้เช่ียวชาญทางเทคนคิ ลว่ งหน้า

• ควรใช้จานหมุนในการเปล่ียนก�ำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุและหมุนให้เข้าท่ีตรงกับล�ำกล้อง
หรือตำ� แหน่งสอ่ ง และปรับระยะภาพโดยเริ่มจากกำ� ลงั ขยายต่�ำก่อนเสมอ

• เมื่อใช้เลนส์ใกล้วัตถุก�ำลังขยายขนาด 40 เท่า ไม่ควรปรับระยะภาพด้วยปุ่มปรับภาพหยาบ
เพราะอาจทำ� ให้เลนสใ์ กล้วตั ถุกระแทกสไลด์

• ควรปรับเลนสใ์ กล้วัตถุให้เป็นเลนสท์ ่ีมีกำ� ลังขยายตำ่� สดุ ก่อนน�ำสไลด์ออก

• ครูควรดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดในการศึกษาส่วนประกอบและการใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
เพ่ือป้องกันการช�ำรุดเสียหาย เน่ืองจากกล้องจุลทรรศน์เป็นเคร่ืองมือส�ำคัญท่ีใช้ในการศึกษา
เซลลข์ องสิ่งมีชวี ิต จงึ ต้องดแู ลรกั ษาให้สามารถใชง้ านไดย้ าวนาน

• การเขียนตัวอักษรบนสไลด์เพื่อน�ำมาศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ควรเขียนให้มีขนาด
ตัวเล็กท่ีสุดเท่าที่จะเขียนได้ เพราะเม่ือน�ำมาสังเกตด้วยกล้องจุลทรรศน์จะสังเกตความ
แตกตา่ งไดอ้ ย่างชดั เจน

• เมื่อนักเรียนท�ำกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว ท�ำความสะอาดสไลด์โดยใช้แอลกอฮอล์เช็ดตัวอักษร
ทเ่ี ขยี นบนแผ่นสไลด์ เพื่อนำ� สไลดเ์ ปล่ากลบั มาใชง้ านในครงั้ ต่อไป

ส่ือการเรยี นรู/้ • หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ปที ี่ 1 สสวท.
แหลง่ เรยี นรู้ • ส่ือดิจติ ัลแสดงผลเสมอื นจรงิ (AR) แสดงเซลล์ส่งิ มชี วี ิต

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมีชีวิต 145
คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์

ตัวอยา่ งผลการทำ�กิจกรรม

ตอนที่ 1
1. ภาพที่สังเกตไดจ้ ากแว่นขยาย
ภาพทส่ี ังเกตไดจ้ ากแว่นขยายจะมีขนาดใหญข่ ึน้

กอ่ นสงั เกตดว้ ยแว่นขยาย หลังสังเกตด้วยแวน่ ขยาย

2. ภาพท่ีสังเกตไดห้ ลังจากใชเ้ ลนส์ใกลว้ ัตถขุ นาด 4X 10X และ 40X
ภาพที่สังเกตได้หลังจากใช้กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงกำ� ลังขยายตา่ ง ๆ จะเปน็ ภาพหวั กลบั และกลับซา้ ยเป็นขวา
โดยมขี นาดใหญ่ขน้ึ ตามกำ� ลังขยายท่เี พ่ิมมากขน้ึ

กลอ้ กงอ่ จนลุ สทังรเรกศตนด์ใ้วชย้แสง ก�ำลังขยาย 40 เทา่ ก�ำลงั ขยาย 100 เท่า ก�ำลงั ขยาย 400 เทา่

หลงั สงั เกตด้วย
กล้องจุลทรรศนใ์ ชแ้ สง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

146 หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพนื้ ฐานของส่ิงมชี วี ติ
คูม่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์

ตัวอยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม

ตอนที่ 1 (ตอ่ )

3. ภาพท่ีสงั เกตได้จากการเลือ่ นแท่นวางสไลดไ์ ปทางซา้ ย ขวา บน และลา่ ง
การเลื่อนแทน่ วางสไลด์ไปทางซ้าย ขวา บน และล่าง จะสังเกตเหน็ ภาพเคลื่อนไปในทศิ ทางตรงกันขา้ ม

เมอ่ื เลือ่ นสไลด์ไปทางซา้ ย เมือ่ เล่อื นสไลดไ์ ปทางขวา

ก่อนเลือ่ นสไลด์

เม่อื เล่อื นสไลด์ข้ึนบน เมอื่ เล่อื นสไลด์ลงล่าง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมีชวี ิต 147
คมู่ ือครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

เฉลยคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม

1. แวน่ ขยายมสี ว่ นประกอบและหน้าท่เี หมือนหรือแตกตา่ งจากกล้องจลุ ทรรศนอ์ ย่างไร
แนวคำ� ตอบ แวน่ ขยายมสี ว่ นประกอบเปน็ เลนสเ์ พยี งเลนสเ์ ดยี ว แตก่ ลอ้ งจลุ ทรรศนม์ ที ง้ั เลนสใ์ กลต้ า เลนสใ์ กลว้ ตั ถุ

และยงั มสี ่วนประกอบอื่น ๆ อีกมากมาย เชน่ แหล่งก�ำเนดิ แสง ปุ่มปรบั ภาพหยาบ ปมุ่ ปรบั ภาพ
ละเอยี ด ทำหน้าที่ขยาวัตถุท่มี ีขนาดเล็กใหช้ ดั เหมือนกัน

2. ภาพอกั ษรที่สงั เกตจากกลอ้ งจลุ ทรรศนม์ ลี ักษณะแตกตา่ งจากแวน่ ขยายอย่างไร
แนวค�ำตอบ ภาพอักษรท่ีมองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์จะมีขนาดใหญ่ข้ึน หัวกลับ และกลับซ้ายเป็นขวา

สว่ นภาพอักษรทีม่ องเห็นจากแว่นขยายจะมขี นาดใหญข่ ้ึนเทา่ น้ัน

3. เมื่อปรบั ก�ำลังขยายของเลนสใ์ กล้วตั ถุให้สงู ข้นึ ภาพทเ่ี หน็ เป็นอย่างไร
แนวคำ� ตอบ เม่ือปรบั ก�ำลังขยายของเลนสใ์ กล้วัตถุให้สูงขึน้ ภาพที่ปรากฏจะมีขนาดใหญ่ขึ้นตามล�ำดับ

4. เม่อื เล่ือนวัตถุไปทางซ้าย ขวา บน และลา่ ง ภาพท่เี ห็นจากกลอ้ งจุลทรรศนจ์ ะเปลย่ี นต�ำแหน่งไปอย่างไร
แนวค�ำตอบ เม่ือเลื่อนวัตถุไปทางซ้ายภาพท่ีปรากฏจะไปทางขวาและเมื่อเลื่อนวัตถุข้ึนด้านบนภาพท่ีปรากฏ

จะเลอื่ นไปด้านลา่ ง

5. เมอื่ พบปญั หาขณะใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ เชน่ ไม่เหน็ ภาพ ภาพไมช่ ดั เจน ภาพทเี่ หน็ มืดหรอื สว่างเกนิ ไป จะมี
วิธีการแก้ไขอย่างไร

แนวคำ� ตอบ 1. เม่ือไม่พบภาพ ควรปรับเลนส์ใกล้วัตถุให้เป็นก�ำลังขยายต่�ำสุดก่อน แล้วเลื่อนแท่นวางวัตถุให้
วตั ถมุ าอย่ตู รงกับลำ� กลอ้ ง จากนั้นค่อย ๆ ปรบั ปุ่มปรบั ภาพหยาบพร้อมกบั สงั เกตวตั ถไุ ปพรอ้ ม
ๆ กันจนกระทัง่ เหน็ วตั ถชุ ัดเจน

2. เม่ือภาพไมช่ ดั เจน ควรปรับปุ่มปรบั ภาพละเอียดเพอื่ ใหเ้ หน็ วัตถุชดั เจนมากขน้ึ
3. เมื่อภาพที่เห็นมืดหรือสว่างเกินไป ควรปรับท่ีปุ่มปรับแสงและไดอะแฟรม เพื่อให้แสงเข้าสู่

ลำ� กลอ้ งอย่างเหมาะสม

6. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอยา่ งไร
แนวคำ� ตอบ ภาพที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงจะมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ เป็นภาพหัวกลับและกลับซ้าย

เปน็ ขวา และเม่อื เลือ่ นสไลด์ ภาพท่ีเห็นจากกล้องจลุ ทรรศนจ์ ะเคลื่อนไปในทศิ ทางตรงกันข้าม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

148 หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพนื้ ฐานของสิ่งมีชีวติ
ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์

ตัวอยา่ งผลการทำ�กิจกรรม

ตอนที่ 2
1. ภาพทีน่ ักเรยี นสังเกตได้จากการทำ� กิจกรรม

ภาพวาดจากสไลด์ถาวรของเนอ้ื เยอ่ื พืช ภาพวาดจากสไลด์ถาวรของเนื้อเย่ือสัตว์ ภาพวาดจากสไลดถ์ าวรของพารามเี ซยี ม

2. ลักษณะร่วมกนั ของเซลล์ของสง่ิ มีชวี ติ
สง่ิ มชี วี ติ ทศ่ี กึ ษาประกอบดว้ ยหนว่ ยยอ่ ยทมี่ ลี กั ษณะเปน็ ชอ่ ง มขี อบเขตชดั เจน และมวี งกลมสเี ขม้ อยตู่ รงกลาง
(นิวเคลยี ส)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพืน้ ฐานของสง่ิ มีชวี ติ 149
คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์

เฉลยคำ�ถามท้ายกจิ กรรม

1. รูปร่างลักษณะของภาพท่ีสังเกตได้จากสไลด์ถาวรของเน้ือเยื่อพืช เน้ือเยื่อสัตว์ และส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียว
มรี ูปรา่ งลักษณะเหมอื นหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร

แนวค�ำตอบ รปู รา่ งลกั ษณะของภาพจากสไลดถ์ าวรของเนอ้ื เยอ่ื พชื เนอ้ื เยอ่ื สตั ว์ และสง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี ว มลี กั ษณะ
ทค่ี ลา้ ยกนั คอื มลี กั ษณะเปน็ หอ้ ง ๆ มขี อบเขตชดั เจน มวี งกลมสดี ำ� อยตู่ รงกลาง และมลี กั ษณะอนื่ ๆ
ที่แตกต่างกันตามชนิดของเซลล์ เช่น สไลด์ถาวรของเนื้อเย่ือพืชมีขอบหนากว่าสไลด์ถาวรของ
เนื้อเยื่อสัตวแ์ ละสงิ่ มีชีวิตเซลล์เดยี ว

2. สงิ่ ทีน่ กั เรียนสังเกตได้ ส่วนใดท่เี ป็นเซลล์และมีลกั ษณะอยา่ งไร
แนวค�ำตอบ จากส่งิ ท่สี งั เกตได้สว่ นทเี่ ป็นเซลลค์ ือส่วนทีม่ ีขอบเขตชัดเจนและมีวงกลมสดี �ำอย่ตู รงกลาง

3. จากกจิ กรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
แนวคำ� ตอบ สงิ่ มชี วี ติ ทกุ ชนดิ ทงั้ พชื สตั ว์ และสง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี ว ตา่ งประกอบไปดว้ ยหนว่ ยพน้ื ฐานทเ่ี หมอื นกนั

คอื เซลล์

4. จากกิจกรรมท้งั 2 ตอน สรุปไดว้ า่ อยา่ งไร
แนวคำ� ตอบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเป็นเคร่ืองมือส�ำคัญที่ใช้ในการศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เนื่องจากสิ่งมีชีวิต

ทุกชนิดประกอบดว้ ยหนว่ ยพ้นื ฐานทเ่ี ล็กท่ีสุด เรยี กว่า เซลล์

หมายเหตุ : อยา่ งไรกต็ ามหากผลการสำ� รวจตรวจสอบของนกั เรยี นบางกลมุ่ ไมส่ อดคลอ้ งกบั ทฤษฎหี รอื แนวการสรปุ ครอู าจ
ถามค�ำถามเพ่ิมเติมเช่น นักเรียนคิดว่าเหตุใดผลการส�ำรวจตรวจสอบของนักเรียนจึงได้ข้อสรุปแตกต่างจาก
กลุม่ อ่นื นกั เรยี นคดิ ว่ามีปจั จยั ใดสง่ ผลตอ่ ผลการสำ� รวจตรวจสอบดงั กลา่ ว โดยสาเหตทุ ีท่ �ำให้ผลการสำ� รวจ
ตรวจสอบแตกตา่ งจากแนวทางการสรปุ อาจมาจากหลายสาเหตุ เชน่ กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงมคี วามบกพรอ่ ง
ไมพ่ รอ้ มใชง้ าน เลนสใ์ กลต้ ามีรอยท�ำใหม้ องเห็นเซลล์ไม่ชดั เจน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

150 หน่วยท่ี 3 | หนว่ ยพนื้ ฐานของสิ่งมชี ีวิต
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์

ความรเู้ พมิ่ เตมิ ส�ำหรับครู

สงิ่ มีชวี ิตเซลล์เดยี ว สามารถแบ่งได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ ดงั นี้
1. กลุ่มแบคทีเรยี หรอื โพรคารโิ อต เช่น Escherichia coli หรือแบคทีเรียทีอ่ าศัยอยใู่ นลำ� ไส้ Lactococcus lactis
หรือแบคทเี รยี ท่พี บในนม
2. กลุ่มโพรทสิ ตห์ รือกลมุ่ ท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ เชน่ อะมีบา ยกู ลีนา พารามเี ซียม
3. กลุ่มสาหรา่ ยเซลลเ์ ดียว เช่น Chlamydomonas
4. กลมุ่ ยีสต์ เช่น ยีสต์ที่เป็นสว่ นผสมในขนมปงั
หมายเหตุ : สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.examplesof.net/2016/10/examples-of-uni-

cellular-organisms.html#.WY1fTtJJbIU

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | หนว่ ยพ้นื ฐานของสิง่ มีชวี ิต 151
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

เรอ่ื งท่ี 2 โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของเซลล์

แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดำ� เนินการดังน้ี 88 หน่วยท่ี 3 | หนว่ ยพน้ื ฐานของสิ่งมีชีวติ
1. ให้นักเรียนดูภาพน�ำเร่ือง อ่านเน้ือหาน�ำเร่ืองและ หนังสอื เรียนรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์

รจู้ ักค�ำสำ� คัญ โดยครูอาจใชค้ ำ� ถามดงั น้ี เร่ืองที่ 2 โครงสร้ำงและหน้ำทีข่ องเซลล์
1.1 ภาพทนี่ กั เรยี นเหน็ มลี กั ษณะอยา่ งไร (ภาพซา้ ย
คำ� ส�ำคัญ
เปน็ โครงสรา้ งรปู เหลย่ี ม ภายในมกี อ้ นสเี ขยี ว เยอื่ หุ้มเซลล์
ค่อนข้างกลม ภาพขวาเป็นโครงสร้างรูปร่าง ไซโทพลำซึม
เรียว ยาว ภายในมีก้อนรปู ไข่ สชี มพู) นิวเคลียส
1.2 นกั เรยี นคดิ วา่ ภาพใดเปน็ เซลลพ์ ชื ภาพใดเปน็ ออรแ์ กเนลล์
เซลลส์ ตั ว์ (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจ)
1.3 นกั เรยี นคดิ วา่ เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั วม์ รี ปู รา่ ง ภำพ 3.6 เซลล์ของส่ิงมชี ีวิต
ลักษณะและโครงสร้างแตกต่างกันหรือไม่
อยา่ งไร (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) สงิ่ มชี วี ติ มหี ลายชนดิ แตล่ ะชนดิ มรี ปู รา่ งและรปู แบบการดา� รงชวี ติ ทแ่ี ตกตา่ งกนั เชน่ พชื สามารถสรา้ งอาหารเองได้
2. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน สว่ นสตั วส์ รา้ งอาหารเองไมไ่ ดต้ อ้ งกนิ สง่ิ มชี วี ติ อนื่ เปน็ อาหาร แตท่ งั้ พชื และสตั วน์ นั้ ตา่ งมเี ซลลเ์ ปน็ หนว่ ยพน้ื ฐาน นกั เรยี นคดิ วา่
แลว้ นำ� เสนอผลการทำ� กจิ กรรม ถา้ ครพู บวา่ นกั เรยี น เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีรูปร่างและโครงสร้างเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ รูปร่างและโครงสร้างเหล่านั้นส่งผลต่อ
ท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง การท�างานของเซลล์และการดา� รงชวี ติ ของพืชและสัตว์อย่างไร
ครคู วรทบทวนหรอื แกไ้ ขความเขา้ ใจผดิ ของนกั เรยี น
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐานท่ีถูกต้องและเพียง ทบทวนควำมรู้กอ่ นเรยี น
พอที่จะเรียนเรื่องโครงสร้างและหน้าท่ีของเซลล์
ตอ่ ไป เขยี นเครอื่ งหมำย R หนำ้ ข้อส่งิ ที่ประกอบดว้ ยเซลล์

£ ผกั กาด £ น�า้ ตาล £ ไส้เดือนดนิ £ หนอน
£ เมล็ดแตงโม
£ โปรตีน £ ดอกกุหลาบ £ ปลากัด

£ ทราย £ พารามเี ซียม

รอู้ ะไรบำ้ งก่อนเรยี น เขยี นสงิ่ ทรี่ เู้ กยี่ วกบั โครงสรา้ งและหนา้ ทขี่ องแตล่ ะโครงสรา้ งของเซลล ์ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
รปู รา่ งกับหนา้ ทีข่ องเซลล์ และการจัดระบบของส่ิงมชี ีวติ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความรู้เพิ่มเตมิ สำ�หรบั ครู

ภาพน�ำเรื่อง คือ ภาพตัวอย่างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ประกอบด้วย
ภาพซา้ ย คอื ภาพเซลลใ์ บตน้ กระสงั ซง่ึ เปน็ พชื ทส่ี ามารถ
พบได้ทั่วไป ก้อนสีเขียวท่ีสังเกตเห็นภายในเซลล์ คือ
คลอโรพลาสต์
ภาพขวา คือ ภาพเซลล์เนื้อเยื่อบุถุงน�้ำดีของคน เมื่อ
ย้อมสีจะสังเกตเห็นเซลล์มีรูปร่าง เป็นแท่งยาวเรียง
ตดิ กัน ภายในเซลล์จะเหน็ ก้อนกลม คือนวิ เคลยี ส

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

152 หนว่ ยที่ 3 | หน่วยพื้นฐานของส่ิงมชี ีวติ
คูม่ อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์

เฉลยทบทวนความร้กู อ่ นเรียน

เขยี นเคร่อื งหมาย  หน้าขอ้ ส่งิ ที่ประกอบดว้ ยเซลล์  น�้ำตาล
 ผักกาด
 ไส้เดอื นดิน  หนอน
 โปรตนี  ดอกกุหลาบ
 ปลากดั  เมล็ดแตงโม
 ทราย  พารามีเซียม
อธบิ ายเพมิ่ เตมิ : ผกั กาด ไสเ้ ดอื น หนอน ดอกกหุ ลาบ ปลากดั เมลด็ แตงโมและพารามเี ซยี ม เปน็ สิ่งมชี วี ติ จงึ มเี ซลล์
เปน็ สว่ นประกอบ ส่วนนำ้� ตาล โปรตนี และทรายไม่ใชส่ งิ่ มชี วี ิต จงึ ไมม่ เี ซลล์เปน็ สว่ นประกอบ

3. ตรวจสอบความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นเกยี่ วกบั โครงสรา้ งและหนา้ ทขี่ องเซลลโ์ ดยใหท้ ำ� กจิ กรรม รอู้ ะไรบา้ งกอ่ นเรยี น นกั เรยี น
สามารถเขียนไดต้ ามความเข้าใจของนักเรยี น ครูไมเ่ ฉลยคำ� ตอบแตน่ ำ� ข้อมูลจากการตรวจสอบความรู้เดมิ ของนักเรยี น
น้ีไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ว่าควรเน้นย�้ำ หรืออธิบายเรื่องใดเป็นพิเศษ เม่ือนักเรียนเรียนจบเร่ืองน้ีแล้ว
นกั เรียนจะมีความรคู้ วามเข้าใจครบถ้วน ตามจุดประสงคข์ องบทเรยี น

ตัวอย่างแนวคิดคลาดเคล่ือนซ่งึ อาจพบในเร่ืองนี้
• ส่งิ มีชีวิตประกอบขน้ึ จากเซลล์ชนิดเดยี ว
• เซลลต์ า่ งชนิดกันมโี ครงสร้างพน้ื ฐานตา่ งกนั
• เซลลม์ ีรปู รา่ ง 2 มิติ
• เซลล์พืชทุกเซลลม์ ีคลอโรพลาสต์

4. นำ� เขา้ ส่กู จิ กรรมที่ 3.2 เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั วแ์ ตกตา่ งกนั อยา่ งไร โดยการตง้ั คำ� ถามสรา้ งความสนใจวา่ เซลลพ์ ชื และ
เซลล์สตั วม์ ีรปู รา่ งลกั ษณะเหมือนหรือแตกตา่ งกนั หรือไม่ และโครงสร้างภายในของเซลลป์ ระกอบด้วยอะไรบา้ ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมชี ีวติ 153
คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์

กิจกรรมที่ 3.2 เซลลพ์ ืชและเซลลส์ ตั วแ์ ตกต่างกนั อย่างไร

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
กอ่ นการทำ� กิจกรรม
1. ให้นกั เรียนอา่ นวิธีการดำ� เนินกิจกรรมในหนังสือเรียน และร่วมกนั อภปิ รายประเด็นต่อไปนี้
1.1 กิจกรรมนเี้ รยี นรูเ้ ก่ยี วกบั เร่อื งอะไร (รูปร่างและโครงสรา้ งของเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว)์
1.2 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ท่ีใช้เป็นตัวอย่างในกิจกรรมนี้คือเซลล์อะไรบ้าง (เซลล์พืชคือเซลล์สาหร่ายหางกระรอก

และเซลล์เย่ือหอม เซลล์สตั ว์คอื เซลล์เยื่อบุข้างแกม้ )
1.3 จุดประสงค์ของกจิ กรรมน้คี ืออะไร (นักเรยี นตอบตามความคิดของตนเอง)
1.4 วิธีการด�ำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (เตรียมสไลด์ตัวอย่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ น�ำไปสังเกต

ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง บันทึกรูปร่างและโครงสร้างที่สังเกตได้ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ด้วยการวาดภาพ
และบรรยาย เปรยี บเทียบความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์)
1.5 การเตรียมสไลด์ตัวอย่าง จะต้องมีวิธีการอย่างไรบ้าง (น�ำช้ินส่วนเนื้อเย่ือของพืชและสัตว์วางลงบนหยดน�้ำ
บนสไลด์ อาจมีการย้อมสีโดยการหยดสารละลายไอโอดีนในเนื้อเย่ือหัวหอมแดงและเย่ือบุข้างแก้ม แล้ววาง
กระจกปดิ สไลด์วางบนสไลดจ์ นสนิท ใช้กระดาษเย่อื ซับของเหลวส่วนเกนิ )
1.6 ขอ้ ควรระวงั ในการทำ� กจิ กรรมมหี รอื ไม่ อยา่ งไร (มขี อ้ ควรระวงั ไดแ้ ก่ การใชข้ องแหลมและของมคี ม เชน่ เขม็ เขยี่
ใบมดี โกน และกระจกปดิ สไลดท์ อี่ าจแตกหกั และบาดมอื ได้ ควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งระมดั ระวงั ตามขอ้ แนะนำ� ในหนงั สอื
เรยี น)
ครคู วรอธิบายเพมิ่ เติมในประเดน็ ทน่ี กั เรยี นยงั ตอบไม่ครบถว้ น
2. ควรแนะน�ำให้นักเรียนวางแผนการท�ำงานร่วมกัน พร้อมทั้งออกแบบการเก็บข้อมูลก่อนท�ำกิจกรรม โดยอาจให้
บางกลุม่ น�ำเสนอ แล้วครูใหค้ ำ� แนะนำ� ปรับแก้ตามความเหมาะสม

ระหว่างการทำ� กจิ กรรม

3. ใหน้ กั เรยี นทำ� กจิ กรรมตามแผนทวี่ างไว้ ครสู งั เกตวธิ กี ารเตรยี มสไลดต์ วั อยา่ ง การวางกระจกปดิ สไลด์ การเลอื กใบสาหรา่ ย
หางกระรอก การยอ้ มสีเย่ือหอมดว้ ยสารละลายไอโอดีน การล้างสสี ารละลายไอโอดนี การซบั ของเหลวสว่ นเกิน รวม
ไปถึงการใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงอย่างถูกวิธีและการบันทึกผลการสังเกตของนักเรียนทุกกลุ่ม เพื่อให้ค�ำแนะน�ำ
ถ้าเกิดข้อผิดพลาดในขณะท�ำกิจกรรม รวมทั้งน�ำข้อมูลที่ควรปรับปรุงและแก้ไขมาประกอบการอภิปรายภายหลัง
การท�ำกิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

154 หน่วยท่ี 3 | หน่วยพน้ื ฐานของส่งิ มีชีวิต
คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์

หลังการท�ำกจิ กรรม

4. ให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นำ� เสนอผลการทำ� กจิ กรรม โดยใชว้ ิธีตดิ ผลงานไว้ทผี่ นงั รอบหอ้ ง นักเรียนและครูสามารถเดนิ ชม
ผลงานของแตล่ ะกล่มุ ได้อย่างทวั่ ถงึ

5. ร่วมกันอภิปรายและเปรียบเทียบผลการท�ำกิจกรรม รวมทั้งสาเหตุท่ีท�ำให้ผลการท�ำกิจกรรมคลาดเคลื่อน เช่น เลือก
ใบสาหรา่ ยหางกระรอกทแ่ี กเ่ กนิ ไปทำ� ใหเ้ ซลลท์ ส่ี งั เกตไดม้ สี เี ขยี วเขม้ จนไมส่ ามารถสงั เกตโครงสรา้ งบางอยา่ งได้ เยอ่ื หอม
พับม้วนจนสงั เกตเซลลไ์ มช่ ัดเจน สไลดต์ ัวอยา่ งมีฟองอากาศจงึ ท�ำใหเ้ ขา้ ใจผดิ คิดวา่ เปน็ เซลล์ เป็นต้น

6. ให้นักเรียนตอบค�ำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันอภิปรายค�ำตอบเพ่ือให้นักเรียนสรุปได้ว่าเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มี
รูปร่างลักษณะแตกต่างกัน เซลล์พืชมีรูปร่างเป็นเหล่ียม เซลล์สัตว์มีรูปร่างค่อนข้างกลม โครงสร้างของเซลล์ท่ีพบได้
ท้งั เซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซมึ และนวิ เคลยี ส ส่วนโครงสรา้ งท่ีพบเฉพาะเซลลพ์ ชื ได้แก่
ผนงั เซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์ สำ� หรบั เยอ่ื หมุ้ เซลลข์ องเซลลพ์ ชื อาจเหน็ ไมช่ ดั เจน เพราะเบยี ดชดิ กบั ผนงั เซลล์ แตจ่ ะเหน็
ได้ชดั เจนเมื่อเซลล์เหีย่ ว

7. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาในหนังสือ ตอบค�ำถามระหว่างเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับรูปร่างและ
โครงสร้างของเซลลพ์ ชื และเซลล์สัตว์ ตามประเด็นตอ่ ไปน้ี

7.1 ภายในไซโทพลาซึมของเซลลจ์ ะมีโครงสร้างที่ทำ� หนา้ ทีเ่ ฉพาะ โครงสรา้ งเหล่านั้นคืออะไร (ออร์แกเนลล์)
7.2 จากการทำ� กจิ กรรมนี้ โครงสร้างใดของเซลล์ที่ไมพ่ บ (ไมโทคอนเดรยี และแวคิวโอล)
7.3 นอกจากโครงสรา้ งทนี่ กั เรยี นสงั เกตเหน็ จากกจิ กรรมและเนอื้ หาในหนงั สอื เรยี น นกั เรยี นคดิ วา่ จะมโี ครงสรา้ งอน่ื

อกี หรือไม่ (มี ซง่ึ นักเรียนจะได้เรยี นในระดบั ที่สูงขน้ึ เช่น ไรโบโซม เอนโดพลาสมิกเรติคลู มั ไลโซโซม เปน็ ตน้
ครูอาจมรี ปู เพ่มิ เตมิ ใหน้ กั เรียนด)ู
7.4 เซลล์สาหรา่ ยหางกระรอกและเซลลเ์ ย่อื หอมมโี ครงสรา้ งเหมอื นหรือแตกตา่ งกันอย่างไร และมีผลต่อหน้าทีข่ อง
เซลล์อย่างไร (มีโครงสรา้ งท่เี หมือนกันคอื มีผนงั เซลล์ เยอื่ หมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซึมและนวิ เคลียส แตม่ ีโครงสรา้ ง
ท่ีต่างกันคือพบคลอโรพลาสต์ในเซลล์สาหร่ายหางกระรอก แต่ไม่พบในเซลล์เย่ือหอม ซึ่งมีผลต่อหน้าท่ีต่าง
กันคือเซลล์สาหร่ายหางกระรอกมีคลอโรพลาสต์จึงท�ำหน้าท่ีสังเคราะห์ด้วยแสงได้ ส่วนเซลล์เย่ือหอมไม่มี
คลอโรพลาสต์ จงึ ทำ� หนา้ ทีส่ งั เคราะหด์ ว้ ยแสงไม่ได้ แตท่ �ำหนา้ ทปี่ ้องกันเนื้อเยือ่ ท่ีอยภู่ ายใน)
ครสู รปุ ขอ้ มลู เพอื่ เชอ่ื มโยงความรเู้ กยี่ วกบั รปู รา่ งลกั ษณะและโครงสรา้ งของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั วว์ า่ ทง้ั เซลลพ์ ชื
และเซลลส์ ัตว์มีโครงสรา้ งพ้ืนฐานเหมอื นกนั นกั เรียนจะไดศ้ ึกษาความสมั พันธร์ ะหวา่ งรูปรา่ งลักษณะของเซลล์
กับหน้าที่ของเซลลต์ ่อไป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หน่วยพนื้ ฐานของส่งิ มชี วี ติ 155
คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรียน
• เซลลต์ บั ซง่ึ เปน็ เซลลท์ มี่ กี ารใชง้ านในการทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ ดงั นนั้ ภายในเซลลต์ บั จงึ ควรพบออรแ์ กเนลลใ์ ดมาก

แนวค�ำตอบ ไมโทคอนเดรยี

8. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับเรื่องน้ี ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้
ถกู ต้อง เช่น

แนวคดิ คลาดเคลอื่ น แนวคดิ ทถี่ กู ต้อง
สงิ่ มีชวี ิตทุกชนดิ ประกอบข้ึนจากเซลล์ชนิดเดยี ว สงิ่ มชี วี ติ ชนดิ เดยี วกนั ประกอบดว้ ยเซลลห์ ลายชนดิ เซลล์
แต่ละชนิดจะมีรูปร่างลักษณะท่ีเหมาะสมกับหน้าท่ีของ
เซลล์ตา่ งชนดิ กันมีโครงสร้างพื้นฐานต่างกนั เซลล์นน้ั แต่สิง่ มีชวี ติ เซลล์เดียวจะประกอบขึน้ จากเซลล์
เซลลม์ รี ปู ร่าง 2 มติ ิ ชนิดเดยี ว
เซลลพ์ ืชทกุ เซลลม์ ีคลอโรพลาสต์ เซลล์ต่างชนิดกันจะมีโครงสร้างพ้ืนฐาน เหมือนกัน
คอื เยอื่ หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนวิ เคลียส
เซลล์มรี ปู รา่ ง 3 มิติ มลี กั ษณะเป็นหอ้ ง
เซลลพ์ ชื ทท่ี ำ� หนา้ ทสี่ งั เคราะหด์ ว้ ยแสงจะพบคลอโรพลาสต์
เชน่ เซลลใ์ บสาหรา่ ยหางกระรอก สว่ นเซลลท์ ไ่ี มท่ ำ� หนา้ ท่ี
สงั เคราะหด์ ว้ ยแสง จะไมพ่ บคลอโรพลาสต์ เชน่ เซลลเ์ ยอื่ หอม
เซลลท์ อ่ ลำ� เลยี งน�ำ้ ล�ำเลยี งอาหาร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

156 หนว่ ยที่ 3 | หนว่ ยพื้นฐานของส่งิ มีชวี ติ
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์

9. ใหน้ กั เรียนอา่ นเนอ้ื หาในหนังสอื ตอบคำ� ถามระหว่างเรยี น และร่วมกันอภิปรายเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ ว่ารปู รา่ งลักษณะของ
เซลล์มีความสัมพนั ธ์กบั หนา้ ทีข่ องเซลลน์ น้ั ๆ โดยอาจใช้คำ� ถามดงั น้ี

9.1 ตัวอย่างเซลลส์ ัตว์มีอะไรบ้าง (เซลลป์ ระสาท เซลล์เมด็ เลือดแดง และเซลลส์ เปริ ์ม)
9.2 เซลล์สตั วแ์ ต่ละชนิดมรี ูปรา่ งลกั ษณะอย่างไร (เซลล์ประสาทมรี ปู ร่างลักษณะเปน็ เสน้ ยาว มีก้อนกลมอย่บู รเิ วณ

ค่อนไปทางสว่ นปลาย มแี ขนงเปน็ เสน้ ยาว เซลลเ์ มด็ เลือดแดงมรี ปู รา่ งลกั ษณะกลม ส่วนกลางเซลลท์ ง้ั สองด้าน
เว้าเข้าหากนั ท�ำให้แบน สว่ นเซลลส์ เปิร์มมีรปู รา่ งลกั ษณะกลม มีหางยาวเรียว)
9.3 รปู รา่ งลกั ษณะของเซลลส์ ตั วแ์ ตล่ ะชนดิ สมั พนั ธก์ บั หนา้ ทอ่ี ยา่ งไร (เซลลป์ ระสาทมแี ขนงเปน็ เสน้ ยาว เพอื่ นำ� กระแส
ประสาทไปยงั เซลลอ์ น่ื ทอี่ ยไู่ กลออกไป เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงมรี ปู รา่ งกลมแบน เพอ่ื ใหเ้ คลอ่ื นทไ่ี ปในหลอดเลอื ดไดง้ า่ ย
มีลักษณะเว้ากลางเซลล์ท้ังสองด้านเพ่ือช่วยเพ่ิมพื้นที่ในการล�ำเลียงออกซิเจน ส่วนเซลล์สเปิร์มมีหางเพื่อช่วย
ในการเคลือ่ นทไ่ี ปหาเซลล์ไข่)
9.4 ตัวอย่างเซลล์พืชมอี ะไรบา้ ง (เซลลข์ นราก เซลล์ในเนอื้ เยอ่ื ล�ำเลยี งนำ�้ เซลลค์ มุ )
9.5 เซลลพ์ ชื แตล่ ะชนดิ มรี ปู รา่ งลกั ษณะอยา่ งไร (เซลลข์ นรากมผี นงั เซลลด์ า้ นทสี่ มั ผสั กบั ดนิ ยน่ื ยาวออกมาเปน็ หลอด
คลา้ ยเสน้ ขนเลก็ ๆ เซลลใ์ นเนอื้ เยอื่ ลำ� เลยี งนำ�้ มรี ปู รา่ ง เปน็ ทอ่ กลวงยาว และเซลลค์ มุ มรี ปู รา่ งลกั ษณะคลา้ ยเมลด็ ถวั่
หรอื รูปไต)
9.6 รปู รา่ งลกั ษณะของเซลลพ์ ชื แตล่ ะชนดิ สมั พนั ธก์ บั หนา้ ทอี่ ยา่ งไร (เซลลข์ นรากมรี ปู รา่ งลกั ษณะคลา้ ยเสน้ ขนเลก็ ๆ
ยน่ื ยาวออกมาเพอ่ื เพม่ิ พน้ื ทผี่ วิ ในการดดู นำ้� และธาตอุ าหาร เซลลใ์ นเนอื้ เยอื่ ลำ� เลยี งนำ�้ มลี กั ษณะเปน็ ทอ่ กลวงยาว
เพอื่ ใชใ้ นการลำ� เลยี งนำ้� จากรากไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื และเซลลค์ มุ มรี ปู รา่ งคลา้ ยเมลด็ ถว่ั หรอื รปู ไต มผี นงั เซลล์
หนาบางไมเ่ ทา่ กัน ทำ� หนา้ ทีค่ วบคุมการปดิ เปิดปากใบ

เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรยี น

• เซลล์จากสว่ นต่าง ๆ ของสัตว์ ดังภาพ 3.10 มีรปู ร่างสัมพนั ธก์ บั หน้าทขี่ องเซลลอ์ ยา่ งไร
แนวคำ� ตอบ เซลลป์ ระสาทมรี ปู รา่ งเปน็ กอ้ นกลม และมแี ขนงเปน็ เสน้ ยาว เพอื่ ทำ� ใหส้ ามารถรบั สง่ กระแสประสาท

ได้ดีมากขนึ้ ไกลมากขึน้
เซลล์เม็ดเลือดมีลักษณะกลมแบน เพ่ือให้เคลื่อนท่ีในหลอดเลือดได้ง่ายและการที่เซลล์มีการ

เวา้ กลางทั้งสองด้านเพอ่ื เพิม่ พน้ื ทใ่ี นการลำ� เลยี งออกซเิ จน
เซลล์สเปิรม์ มีหาง เพ่ือชว่ ยให้เคลื่อนท่ีไปหาไขไ่ ด้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพ้นื ฐานของสิ่งมชี วี ติ 157
คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์

10. สรุปข้อมูลเพ่ือเชื่อมโยงความรู้เก่ียวกับการจัดระบบภายในของส่ิงมีชีวิตว่า สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์เป็นหน่วย
พื้นฐานบางชนิดมีเซลล์เดียว บางชนิดมีหลายเซลล์ มีการจัดระบบของเซลล์อย่างไรจนเป็นอวัยวะและร่างกายของ
ส่ิงมชี ีวติ นักเรียนจะไดค้ ำ� ตอบโดยอ่านเนอ้ื หาในหนังสือ

11. ใหน้ กั เรยี นอา่ นหนงั สอื เรยี น ตอบคำ� ถามระหวา่ งเรยี น และรว่ มกนั อภปิ รายเพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ สง่ิ มชี วี ติ หลายเซลล์ ทง้ั พชื
และสตั ว์ ประกอบดว้ ยเซลลท์ ม่ี กี ารจดั ระบบเปน็ เนอื้ เยอ่ื อวยั วะ ทำ� งานรว่ มกนั เปน็ ระบบอวยั วะตา่ ง ๆ จนเปน็ สง่ิ มชี วี ติ
โดยครูอาจใช้คำ� ถามดงั ต่อไปนี้

• การจดั ระบบภายในของสิ่งมชี วี ติ เรียงลำ� ดบั จากหนว่ ยเล็กไปหาหนว่ ยใหญ่อยา่ งไร

เซลล์ เน้ือเยอ่ื อวัยวะ ระบบอวัยวะ ส่ิงมชี วี ติ

เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรียน

• การจดั ระบบชองเซลลไ์ ปเปน็ รา่ งกายของสงิ่ มชี วี ติ มลี �ำดบั จากหนว่ ยทเ่ี ลก็ ทสี่ ดุ ไปเปน็ หนว่ ยทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ อยา่ งไร
แนวค�ำตอบ เซลล์ เนือ้ เย่ือ อวัยวะ ระบบอวยั วะ ส่งิ มชี ีวติ
• รวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกบั การจดั การระบบของรา่ งกายมนษุ ยแ์ ละนำ� สง่ิ ตอ่ ไปนมี้ าเรยี งลำ� ดบั ความสำ� คญั ตามการ
จัดระบบของส่ิงมชี ีวิตจากหน่วยท่เลก็ ที่สุดจนเปน็ หนว่ ยท่ใี หญ่ที่สดุ
เนอ้ื เยอ่ื ประสาท สมอง ระบบประสาท เซลลป์ ระสาท มนุษย์
แนวค�ำตอบ เซลลป์ ระสาท เนือ้ เย่อื ประสาท สมอง ระบบประสาท มนษุ ย์

12. นักเรียนร่วมกันสรุปหัวข้อเรื่องการศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ จากนั้นนักเรียนท�ำกิจกรรมตรวจสอบตนเอง
เพื่อสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้จากบทเรียน ด้วยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผังมโนทัศน์ ส่ิงที่ได้เรียนรู้
จากบทเรียนเร่อื งการศึกษาเซลล์ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

158 หน่วยท่ี 3 | หนว่ ยพื้นฐานของสิง่ มีชีวติ
คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์

ตัวอยา่ งผงั มโนทศั น์ การสรุปองคค์ วามรูใ้ นบทเรยี นเร่อื งเซลล์
เซลล์
สาระส�ำคญั ไดแ้ ก่

สิง่ มีชีวติ รูปร่างและ ความสมั พนั ธ์ การจัดระบบ
ทกุ ชนดิ ประกอบ โครงสรา้ งของเซลล์ ระหว่างรปู รา่ งและ ของสิง่ มีชวี ติ
พืชและเซลลส์ ตั ว์ หนา้ ทข่ี องเซลล์
ด้วยเซลล์

ศึกษาโดย แบง่ เป็น จัดระบบดังน้ี
เซลล์
กล้องใชจแ้ลุ สทงรรศน์ เซลลพ์ ชื เซลลส์ ัตว์ เนื้อเย่ือ
ศกึ ษา
มี มี
แปปขลรรอะสะะงหว่ กกสนนออ่ว้านบบท่ี โครงสร้าง อวัยวะ
เก่ยี ว ใถวชูกิธ้อกีตยาอ้ ่ารงง รปู ร่าง โครงสรา้ ง รปู ร่าง ระบบอวยั วะ
กับการ เหลย่ี ม ค่อนข้างกลม

สงั เคราะห์ มีหนา้ ที่ ประกอบดว้ ย ประกอบดว้ ย ส่งิ มีชีวิต
ด้วยแสง คลอโพลาสต์ เยอ่ื ห้มุ เซลล์
มหี นา้ ที่ หอ่ ห้มุ โครงสร้างต่าง ๆ ของ
ของพืช เซลล์และควบคุมการเขา้ ออก
มหี นา้ ท่ี ของสาร
ไซโทพลาซึม มีหนา้ ที่
เปน็ อแอหรลแ์ ่งกทเนอี่ ลยลูข่ ์อง

เพมิ่ ผนงั เซลล์ นิวเคลยี ส มหี นา้ ท่ี ควบคุมการท�ำงานของเซลล์
ความ ไมโทคอนเดรีย มีหน้าที่ สลายสารอาหารให้พลงั งาน
แขง็ แรง
ใหเ้ ซลล์

แวควิ โอล มีหนา้ ท่ี เกบ็ สะสมน้�ำและสารต่างๆ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | หนว่ ยพื้นฐานของส่ิงมชี วี ิต 159
ค่มู ือครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์

13. ให้นกั เรยี นนำ� เสนอผลการท�ำกิจกรรมโดยวิธีการใดวธิ ีการหนึ่ง เช่น ให้นักเรยี นนำ� เสนอและอภปิ รายภายในกลมุ่ หรือ
อภปิ รายรว่ มกนั ในชนั้ เรยี น หรอื รว่ มกนั พจิ ารณาผลงานแตล่ ะกลมุ่ ตดิ ไวท้ ผ่ี นงั หอ้ ง จากนน้ั ครแู ละนกั เรยี นอภปิ รายสรปุ
องค์ความรู้ทไี่ ด้จากบทเรียนร่วมกนั

14. เช่ือมโยงความรเู้ ร่ืองเซลล์ ไปส่กู ารน�ำไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำ� วันโดยใหน้ ักเรียนทำ� กจิ กรรมทา้ ยบท แบบจ�ำลอง
ของเซลลเ์ ป็นอย่างไร และตอบค�ำถามทา้ ยกิจกรรม

15. ใช้ค�ำถามส�ำคัญของบทในหน้าน�ำบทท่ี 1 เซลล์ ถามนักเรียนและให้นักเรียนอภิปรายร่วมกัน โดยนักเรียนควร
ตอบค�ำถามส�ำคัญของบทได้

เฉลยคำ�ถามสำ�คัญของบท

• กล้องจุลทรรศน์ใชศ้ ึกษาเซลลไ์ ด้อย่างไร
แนวค�ำตอบ กลอ้ งจลุ ทรรศนม์ สี ามารถขยายภาพของเซลลซ์ ง่ึ มีขนาดเล็ก ไมส่ ามารถสังเกตได้ดว้ ยตาเปล่า ให้

เหน็ ภาพทีม่ ขี นาดใหญข่ ้ึน สามารถปรับสว่ นประกอบของกลอ้ งเพื่อใหเ้ หน็ ภาพชดั เจนมากข้นึ
• เซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตว์มสี ว่ นประกอบเหมือนหรอื แตกต่างกันอยา่ งไร
แนวค�ำตอบ สว่ นประกอบทเ่ี หมอื นกนั ของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ ไดแ้ ก่ เยอ่ื หมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ และนวิ เคลยี ส

สว่ นประกอบทแี่ ตกต่างกันของเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์ ได้แก่ ผนงั เซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์ ซง่ึ พบ
เฉพาะเซลล์พชื เท่านั้น
• รูปร่างลักษณะของเซลลม์ คี วามสมั พนั ธก์ ับหนา้ ทขี่ องเซลลอ์ ยา่ งไร
แนวค�ำตอบ รปู รา่ งลกั ษณะของเซลล์ มคี วามสมั พนั ธก์ บั หนา้ ทข่ี องเซลลน์ น้ั ๆ เชน่ เซลลป์ ระสาทมเี สน้ ใยประสาท
เปน็ แขนงยาว เพอื่ น�ำกระแสประสาทไปยังเซลลอ์ ่นื ๆ ท่ีอย่ไู กลออกไป เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง มีรปู
รา่ งกลมแบน เพอ่ื ใหเ้ คลอ่ื นทใ่ี นหลอดเลอื ดไดง้ า่ ย มลี กั ษณะเวา้ ตรงกลางเซลลเ์ พราะไมม่ นี วิ เคลยี ส
จึงช่วยเพ่ิมพื้นที่ในการล�ำเลียงออกซิเจน เซลล์คุมของพืช มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถ่ัวหรือรูปไต มี
ผนงั เซลล์หนาบางไม่เท่ากัน มีคลอโรพลาสต์ ทำ� หน้าทค่ี วบคุมการเปิดปดิ ของปากใบ

16. ให้นักเรียนตรวจสอบทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ไี่ ดเ้ รียนรู้จากบทเรยี นน้ี ในกรอบตรวจสอบตนเอง
17. ให้นักเรียนอ่านสรุปท้ายบท ท�ำแบบฝึกหัดท้ายบท และประเมินความรู้ความเข้าใจจากการเรียนบทท่ี 1 เซลล์ โดย

การท�ำแบบฝกึ หัดทา้ ยบท
18. เช่ือมโยงองค์ความรู้ท่ีได้จากบทเรียนนี้ไปยังบทท่ี 2 การล�ำเลียงสารเข้าออกเซลล์ โดยครูอาจให้แนวคิดว่า เซลล์มี

รูปร่างและโครงสร้างดังท่ีเรียนมาแล้ว ส่ิงมีชีวิตส่วนใหญ่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ท�ำงานร่วมกัน จึงต้องการ
สารเพอื่ ใช้ภายในเซลล์ เซลล์จะมีกระบวนการอย่างไรในการนำ� สารเหล่าน้ันเข้าสูเ่ ซลล์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

160 หนว่ ยท่ี 3 | หนว่ ยพ้นื ฐานของสง่ิ มีชวี ติ
คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์

กิจกรรมที่ 3.2 เซลล์พชื และเซลล์สัตว์แตกตา่ งกันอยา่ งไร

นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรเู้ กย่ี วกบั รปู รา่ ง ลกั ษณะและโครงสรา้ งของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ ผา่ นการสงั เกตและรวบรวมขอ้ มลู จากนนั้
น�ำผลการทำ� กจิ กรรมมาลงขอ้ สรปุ เก่ยี วกับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลลส์ ตั ว์

จุดประสงค์ สังเกตและรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อบรรยายและเปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะและโครงสร้างของ
เวลาทีใ่ ชใ้ น เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์
การทำ� กจิ กรรม 2 ช่ัวโมง

วสั ดุและอปุ กรณ์ วสั ดแุ ละอปุ กรณท์ ใี่ ชต้ อ่ หอ้ ง

รายการ ปรมิ าณ/หอ้ ง

1. สารละลายไอโอดนี ความเข้มข้น 1% 1 ขวด

2. นำ้� เกลอื ความเขม้ ข้น 0.85% 50 cm3

3. กระดาษเย่ือ 1 มว้ น

วสั ดแุ ละอุปกรณท์ ี่ใช้ตอ่ กลุ่ม ปรมิ าณ/กลุ่ม
รายการ 1 ชอ่
1 หัว
1. สาหร่ายหางกระรอก
2. หวั หอมแดงหรอื หัวหอมใหญ่ 100 cm3
3. นำ้� 1 อัน
4. ปากคบี 1 อัน
5. ก้านสำ� ลี 1 อัน
6. หลอดหยด 1 อัน
7. เขม็ เขีย่ 1 เล่ม
8. ใบมดี โกน 3 ชดุ
9. สไลดแ์ ละกระจกปดิ สไลด์ 1 กลอ้ ง
10. กล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพ้ืนฐานของสง่ิ มีชวี ติ 161
คูม่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์

การเตรยี มลว่ งหนา้ 1. ครูเตรียมสาหร่ายหางกระรอก และหัวหอมแดง โดยเลือกสาหร่ายหางกระรอกที่มีส่วนยอด
และแช่สาหรา่ ยในนำ�้ ตลอดเวลา

ข้อควรระวัง 2. เตรียมน�้ำเกลือ ความเข้มข้น 0.85% โดยชั่งโซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) 0.85 กรัม ใส่ใน
บีกเกอร์ เตมิ นำ้� กล่นั จนได้ปริมาตร 100 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร

1. ใชใ้ บมดี โกนและเข็มเข่ยี อยา่ งระมัดระวงั
2. ระวังไม่ใหแ้ ทน่ วางวตั ถแุ ละเลนสใ์ กลว้ ัตถขุ องกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงสัมผสั นำ้�
3. ระวังไม่ให้สยี อ้ มเซลลส์ มั ผสั รา่ งกายและเสื้อผา้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

162 หน่วยที่ 3 | หน่วยพ้นื ฐานของสงิ่ มชี ีวิต
คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์

ข้อเสนอแนะ • ควรเลือกหวั หอมแดง หวั หอมใหญ่ ท่มี ีขนาดใหญ่พอสมควร จะสามารถลอก เยือ่ หอมออก
ในการทำ� กจิ กรรม ไดง้ า่ ย เยอื่ หอมจะมี 2 ดา้ น คอื ดา้ นนอกมคี วามมนั และดา้ นในไมม่ คี วามมนั ดา้ นนอกทม่ี คี วามมนั
สอ่ื การเรียนร้/ู จะมว้ นหอ่ ไดง้ า่ ยและไมส่ ามารถยอ้ มดว้ ยสารละลายไอโอดนี จงึ ไมค่ วรใช้ ลอกเยอื่ หอมดา้ นใน
แหลง่ เรียนรู้ วางบนหยดน�้ำบนแผ่นกระจกสไลด์ ระวังไม่ให้เนื้อเย่ือม้วน จากน้ันหยดสารละลายไอโอดีน
1-2 หยด บนเยอื่ หอม ทิ้งระยะเวลาไว้ 30 วนิ าที ปิดด้วยกระจกปดิ สไลดแ์ ละใชก้ ระดาษเย่ือ
ซับของเหลวส่วนเกินออกให้แห้งสนิท

• การปิดกระจกปิดสไลดท์ ำ� ไดโ้ ดยใช้นิว้ โป้งและนวิ้ ชขี้ องมอื ซา้ ยจบั กระจกปิดสไลด์ไว้ แลว้ วาง
กระจกปดิ สไลดท์ ำ� มมุ ประมาณ 45 องศา กบั สไลดด์ า้ นหนง่ึ แลว้ เลอื่ นกระจกปดิ สไลดไ์ ปสมั ผสั
กบั ขอบดา้ นนอกของหยดนำ�้ มอื ขวาใชเ้ ขม็ เขยี่ รองรบั กระจกปดิ สไลดไ์ ว้ แลว้ คอ่ ย ๆ ลด เขม็ เขย่ี ลง
จนกระจกปิดสไลด์ปดิ ลงบนสไลด์สนทิ และระวงั อย่าใหม้ ีฟองอากาศ

• การศึกษาเซลล์ของใบสาหร่ายหางกระรอก เลือกใบสาหร่ายหางกระรอกบริเวณยอดอ่อน
มาใชเ้ พียง 1 ใบ วางใบสาหรา่ ยหางกระรอกบนหยดน้�ำบนแผ่นสไลด์ ระวงั ไม่ให้ใบสาหรา่ ย
หางกระรอกมว้ นหรอื พบั แลว้ ปดิ ดว้ ยกระจกปดิ สไลดแ์ ละใชก้ ระดาษเยอ่ื ซบั ของเหลวสว่ นเกนิ
ออกใหแ้ ห้งสนทิ

• การศึกษาเซลล์เย่ือบุข้างแก้ม น�ำก้านส�ำลีชุบน�้ำเกลือให้ชุ่มแล้วน�ำไปขูดเบาๆ ท่ีกระพุ้งแก้ม
ดา้ นใน นำ� ไปแตะลงบนหยดนำ้� เกลอื บนสไลด์ จะสงั เกตเหน็ นำ�้ เกลอื บนสไลดข์ นุ่ หยดสารละลาย
ไอโอดนี 1 หยด ถา้ สขี องสารละลายไอโอดนี บนสไลดเ์ ขม้ เกนิ ไป ใหห้ ยดนำ้� เกลอื เพมิ่ 1-2 หยด
แล้วซับน�้ำเกลือบริเวณขอบสไลด์ จากน้ันปิดด้วยกระจกปิดสไลด์และซับของเหลวส่วนเกิน
ออกดว้ ยกระดาษเยือ่

• หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาปที .ี่ 1 สสวท.
• วีดทิ ศั น์เรื่องการศึกษาส่วนประกอบของเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์
• https://www.youtube.com/watch?v=UqsmeLEbSWU
• https://www.youtube.com/watch?v=YVDK4G7g29U
• แอพลเิ คชัน The Cell รองรบั บน ios 7.0 ขน้ึ ไปและระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | หนว่ ยพื้นฐานของสิง่ มชี วี ิต 163
คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์

ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม
ตอนท่ี 1 เซลลพ์ ืช

เซลล์เย่อื หอมแดง เซลลส์ าหร่ายหางกระรอก

จากสไลดน์ กั เรยี นจะสังเกตเห็นเซลลร์ ูปร่างเปน็ เหลย่ี ม เซลลเ์ ย่อื หอมเห็นนวิ เคลยี สอยู่ติดกบั ผนงั เซลล์ สว่ นเซลล์
สาหรา่ ยหางกระรอกเหน็ คลอโรพลาสต์เปน็ เม็ดกลมกระจายท่ัวเซลล์ แตไ่ มเ่ ห็นนิวเคลียส

เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม

1. เซลลพ์ ืชทัง้ 2 ชนิด มีรปู ร่างลักษณะเป็นอย่างไร และมีโครงสรา้ งอะไรบ้าง
แนวค�ำตอบ เซลล์เย่ือหอมรปู ร่างเปน็ เหลี่ยม โครงสร้างทีพ่ บ ไดแ้ ก่ ผนงั เซลล์ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซมึ และ

นวิ เคลยี ส
เซลล์สาหร่ายหางกระรอกมีรูปร่างเป็นเหล่ียม โครงสร้างท่ีพบ ได้แก่ ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์

ไซโทพลาซึม คลอโรพลาสต์และนิวเคลียส ส�ำหรับเย่ือหุ้มเซลล์อาจเห็นไม่ชัดเพราะเซลล์เต่ง
เยือ่ ห้มุ เซลลจ์ งึ เบียดชดิ กับผนังเซลล์ แตจ่ ะเห็นเย่ือหมุ้ เซลล์ไดช้ ดั เจนเม่ือเซลลเ์ หี่ยว
2. เซลลพ์ ชื ท้งั 2 ชนิด เหมอื นหรอื แตกต่างกันอยา่ งไร
แนวค�ำตอบ เซลล์เยื่อหอมและเซลล์สาหร่ายหางกระรอกมีรูปร่างเป็นเหล่ียม มีผนังเซลล์ เย่ือหุ้มเซลล์
ไซโทพลาซึม เซลล์สาหร่ายหางกระรอกพบคลอโรพลาสต์ แต่เซลลเ์ ย่ือหอมไมพ่ บคลอโรพลาสต์
3. จากกจิ กรรม สรุปไดว้ า่ อย่างไร
แนวค�ำตอบ เซลลพ์ ชื มรี ปู รา่ งเปน็ เหลยี่ ม มโี ครงสรา้ งพน้ื ฐานทเี่ หมอื นกนั ไดแ้ ก่ ผนงั เซลล์ เยอื่ หมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ
และนวิ เคลียส ในเซลลบ์ างเซลล์อาจพบคลอโรพลาสต์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

164 หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพน้ื ฐานของสิง่ มีชีวติ
คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์

ตวั อยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม

ตอนที่ 2 เซลล์สัตว์

เซลลเ์ ยอ่ื บุขา้ งแกม้
จากสไลดน์ กั เรยี นจะสงั เกตเหน็ เซลลร์ ปู รา่ งคอ่ นขา้ งกลม เหน็ นวิ เคลยี สลกั ษณะเปน็ กอ้ นกลมอยภู่ ายในเซลล์

เฉลยคำ�ถามท้ายกจิ กรรม
1. เซลลส์ ตั ว์มรี ูปรา่ งลกั ษณะเป็นอย่างไร และมีโครงสร้างอะไรบ้าง
แนวคำ� ตอบ เซลลเ์ ยือ่ บขุ า้ งแกม้ มีรปู รา่ งค่อนขา้ งกลม รี โครงสรา้ งทพี่ บ ได้แก่ เยอื่ ห้มุ เซลล์ ไซโทพลาซึมและ

นิวเคลียส
2. จากกิจกรรม สรปุ ไดว้ า่ อยา่ งไร
แนวคำ� ตอบ เซลล์สัตวม์ ีรปู ร่างค่อนขา้ งกลม โครงสร้างทพ่ี บในเซลล์สตั ว์ ได้แก่ เยอ่ื หมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซึมและ

นิวเคลยี ส
3. จากกิจกรรมทั้ง 2 ตอน สรุปได้ว่าอยา่ งไร
แนวคำ� ตอบ เซลลพ์ ชื มรี ปู รา่ งเปน็ เหลย่ี ม เซลลส์ ตั วม์ รี ปู รา่ งคอ่ นขา้ งกลม โครงสรา้ งของเซลลท์ พ่ี บไดท้ ง้ั เซลลพ์ ชื

และเซลล์สัตว์ ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส ส่วนโครงสร้างท่ีพบเฉพาะ
เซลลพ์ ืช ไดแ้ ก่ ผนังเซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี