อาณาจักรลังกาสุกะ ศูนย์กลาง

          “ลังกาสุกะโมเดล” จึงเป็นแนวทางหนึ่งเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ยั่งยืน มุ่งยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนให้ดีขึ้น และในอนาคตจะพัฒนายาสมุนไพรให้เป็นสินค้า Premium Product นำไปสู่ธุรกิจเพื่อสังคม หรือ Social Enterprise (SE) เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาปากท้อง ปัญหาสังคม และปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างยั่งยืน

- เมืองโบราณบ้านวัด มีศูนย์กลางเป็นลานจัตุรัสกลางเมือง ล้อมรอบด้วยคูน้ำและมีซากเนินดินโบราณสถานกระจายอยู่โดยรอบกว่า 25 แห่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางทิศตะวันตกและทางทิศเหนือในบริเวณพื้นที่บ้านจาเละ

- เมืองโบราณบ้านจาเละ มีศูนย์กลางอยู่ที่สระน้ำ โอบล้อมด้วยคูเมืองรูปสี่เหลี่ยมถัดจากกลุ่มโบราณสถานบ้านวัดขึ้นไปทางทิศเหนือประมาณ 1 กิโลเมตร

- เมืองโบราณบ้านปราแว เป็นเมืองคูน้ำ คันดินขนาดเล็กที่มีผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านไม่เท่ามีป้อมดินทั้ง 4 มุมเมือง และมีคลองส่งน้ำต่อเชื่อมกับคูเมืองโบราณบ้านจาเละสี่มุมเมืองด้านทิศเหนือทั้ง 2 ด้าน

นอกจากร่องรอยของคูน้ำ  คันดินคูเมืองโบราณทั้ง 3 แห่งแล้วภายในกลุ่มเมืองโบราณนี้ ยังปรากฎซากโบราณสถานเนินดินกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปไม่น้อยกว่า 30 แห่ง  การเดินทางไปสู่แหล่งเมืองโบราณสามารถใช้เส้นทางสิโรรส (ทางหลวงหมายเลข 410) จากจังหวัดปัตตานีลงไปทางจังหวัดยะลาประมาณ 15 กิโลเมตร จะมีทางแยกซ้ายมือสายยะรัง-มายอ (ทางหลวงหมายเลข 4061) ประมาณ 1.2 กิโลเมตร เข้าสู่เขตเมืองโบราณและเลี้ยวซ้ายขึ้นไปทางทิศเหนือประมาณ  400 เมตร ถึงเขตโบราณสถานบ้านจาเละ

อาณาจักรลังกาสุกะ ศูนย์กลาง

ลักษณะทั่วไป
มีลักษณะผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ขนาดประมาณ 500 X 550 เมตร มีคูน้ำ ดันดินล้อมรอบทั้งสี่ด้านและที่ป้องทั้งสี่มุม และมีคูน้ำขุดล้อมต่อลงมาเป็นรูปสี่เหลี่ยมของเมืองขยายทางทิศใต้ คือเมืองโบราณบ้านจาและ


หลักฐานที่พบ

จากการขุดแต่งพบโบราณวัตถุหลายประเภท ได้แก่

1. สถูปจำลองดินดิบ ดินเผาจำนวนมาก ประกอบด้วยประติมากรรมนูนต่ำ รูปท้าวกูเวระ พระพุทธเจ้าประทับนั่งขนาบด้วยสถูปจำลองทั้งสองข้าง

                       อาณาจักรลังกาสุกะ (พุทธศตวรรษที่ 7-14) มีอาณาเขตควบคลุมพื้นที่ในจังหวัดปัตตานีและจังหวัดยะลา  มีศูนย์กลางอยู่ที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี พัฒนาขึ้นมาจากการเป็นเมืองท่าสำคัญที่มีการติดต่อกับต่างชาติโดยเฉพีจนและ อินเดียแต่มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับจีนมากกว่าโดยส่งทูตไปเมืองจีนถึง 6 ครั้ง เป็นศูนย์กลางสำคัญของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน จากการขุดค้นทางโบราณคดีที่อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี พบประติมากรรมสำริดพระโพธิ์สัตว์อวโลกิเตศวร และสถูปจำลองรูปทรงต่างๆจำนวนมาก

อาณาจักรลังกาสุกะ ศูนย์กลาง
             

                                       

อาณาจักรลังกาสุกะ ศูนย์กลาง
            


          การปะทะสังสรรค์ดังกล่าวนี้มีลักษณะของการปฏิสัมพันธ์ทั้งการให้และการรับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่มีต่อภาษากลางอันเป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างกัน ซึ่งได้แก่ภาษามลายูลูกผสมซึ่งทุกชนเผ่าเลือกใช้ ภาษานี้จึงมีลักษณะของการผสมปนเปกันทั้งวงศัพท์และโครงสร้าง โดยมีที่มาทั้งจากภาษามลายู ชวา มอญ เขมร ทมิฬ สันสกฤต เปอร์เซีย อาหรับ และไทยในสมัยหลังลงมา กลายเป็น “ภาษามลายู-ยาวี” (Jawi) อันเป็นภาษามลายู “ถิ่นปัตตานี” ที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน

อาณาจักรลังกาสุกะเป็นอาณาจักรโบราณ มีศูนย์กลางตั้งอยู่บริเวณ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานีมีอาณาเขตปกครองกว้างขวางครอบคลุมคาบสมุทรมลายูตอนล่างทั้งหมดโดยพัฒนามาจากเมืองท่าเล็กๆ ของชาวพื้นเมืองจนเติบโตเป็นรัฐและมีฐานะเป็นอาณาจักรมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 7 เป็นศูนย์กลางการค้าและศาสนา จนได้ล่มสลายไปในต้นพุทธศตวรรษที่ 21 ปัจจุบันปรากฏร่องรอยศาสนสถานประเภทสถูปเจดีย์ขนาดใหญ่ จำนวน 33 แห่ง ในพื้นที่ประมาณ 9 ตารางกิโลเมตร

อาณาจักรลังกาสุกะ ศูนย์กลาง
       
อาณาจักรลังกาสุกะ ศูนย์กลาง

อาณาจักรลังกาสุกะ ศูนย์กลาง

ลังกาสุกะเป็นนครรัฐตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 7 รุ่งเรืองยาวนานถึง 1,400 ปี จึงเสื่อมสลายไป ไม่ใช่เพราะถูกอำนาจใดเข้าตี หากแต่ทะเลถอยห่างตัวเมืองออกไปทุกที จนผู้คนพากันทิ้งเมือง ซั้าโดนน้ำท่วมโคลนถมทับตัวเมืองแทบหมด เพิ่งขุดเจอซากไม่นานมานี่เอง เชื่อกันว่าคนในหมู่บ้านกาแลจิน อ.เมืองปัตตานีปัจจุบันคือผู้สืบเชื้อสายชาวเมืองลังกาสุกะ ที่เป็นลูกครึ่งชาวจีนกับคนพื้นเมืองที่ต้องทิ้งเมืองเก่ามาอยู่ในปัตตานีเมื่อ 1,000 กว่าปีที่แล้ว
อาณาจักรโบราณยิ่งใหญ่ที่เชื่อว่ามีพื้นที่คลุมไปถึงตอนเหนือมาเลเซีย เพราะพบสิ่ง ก่อสร้างโบราณ แบบเดียวกับที่พบในปัตตานีแถวริมฝั่งแม่น้ำบูจังและปาดังลาวาส (ปากแม่น้ำลาวาส) ในรัฐเคดาห์ หนังสือเหล่านั้นเรียกอย่างจืดชืดไม่ดึงดูดใจสักนิดว่า "เมืองโบราณยะรัง" เพราะซากเมืองเก่าพบที่ อ.ยะรัง ทั้งที่มีความเก่าแก่รุ่งเรืองมาก่อน อาณาจักรศรีวิชัยและอาณาจักรทวาราวดีตั้ง 500 ปี ศรีวิชัยและทวาราวดีตั้งในพุทธศตวรรษที่ 12 ลังกาสุกะเป็นนครรัฐที่โลกตะวันตกตะวันออก รู้จักกันแล้ว ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 7 เมืองโบราณยะรังจึงไม่ใช่เมืองเก่าธรรมดา หากแต่เป็นเมืองท่านครรัฐยิ่งใหญ่ สมัยโบราณเก๋ากึ๊กในภูมิภาคนี้โดยแท้
เมืองโบราณที่ กรมศิลปากร กำลังขุดแต่งอยู่ที่ อำเภอยะรัง ในขณะนี้คือ ศูนย์การปกครอง อาณาจักรลังกาสุกะ ในเมื่อบันทึก ชาวอินเดียและ ชาวอาหรับ ที่เรียกเมืองนี้ว่า "ลังกาสุกะ" กับบันทึก ของชาวจีนที่เรียก "หลาง หย่า ซุ่ย" ล้วนระบุทิศทางและ ที่ตั้งตรงกันหมด น.ส.พรทิพย์ พันธุโกวิท หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โบราณคดี ผู้ควบคุมการขุดแต่งและ บูรณะมาตั้งแต่แรกถึง 16 ปี อธิบายว่า ปัตตานีวันนี้คือ ดินแดนเกิดใหม่ เมื่อทะเลถอย ห่างฝั่งออกไปทุกที ลังกาสุกะเลยกลายเป็น เมืองภายในแผ่นดิน อยู่ห่างชายฝั่งทะเล ในวันนี้เกือบ 25 กม. ชายฝั่งบริเวณท่าเรือใหญ่ครั้งโน้น ปัจจุบันนี้คือ คลองปาเละหมู่บ้านกาแลบูซา (ท่าเรือใหญ่) หมู่บ้านเทียระยา (หมู่บ้านเสากระโดงเรือ) ต.ตันหยงลูโละ อ.เมือง ปัตตานี
ร่องรอยทางโบราณคดี ชี้ให้เห็นว่ามีลักษณะเป็นเมืองเรียงกันถึง 3 เมืองด้วยกัน ได้แก่ เมืองที่กำลังขุดอยู่ที่บ้านวัด บ้านจาเละ และบ้านปราแว (พระราชวัง) อำเภอยะรัง บ้านปราแวอยู่ริมทะเล มีลักษณะ ค่ายคูประตูหอรบตามมุมเมือง คาดว่าน่าจะเป็นประชาคม 3 แห่ง ที่อยู่ร่วมกันมากกว่าเมือง โดยรวมแล้วพื้นที่ดังกล่าวนี้ พบร่องรอยทางโบราณคดีถึงกว่า 40 แห่ง ลงมือขุดไปเพียงไม่กี่แห่งเท่านั้น ชิ้นใหญ่ ๆ ที่กำลังขุดอยู่เป็นศาสนสถานใน ศาสนาพราหมณ์และ พุทธศาสนา ทั้งพบคำจารึกภาษาปัลลวะอินเดียโบราณและภาษาสันสกฤตด้วย บ่งบอกอย่างเด่นชัด แรกเริ่มนั้นชาวลังกาสุกะนับถือศาสนาพราหมณ์ เปลี่ยนมาถือพุทธ แล้วเปลี่ยนมาเป็นอิสลามตามลำดับ
ลังกาสุกะเฟื่องเนื่องมาจากที่ตั้งเป็นกึ่งกลางเส้นทางค้าขายโลกตะวันตกและตะวันออก เป็นศูนย์กลางการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและศูนย์ค้าเครื่องเทศสินค้าสำคัญของภูมิภาคนี้ ที่ดังที่สุด ได้แก่ไม้หอม และกำยาน ซึ่งอินเดีย อาหรับยันยุโรปต่างต้องการอย่างมาก น่าเชื่อว่ากำยานชั้นดีที่สุดเป็นกำยานลังกาสุกะ เพราะเครื่องหอมทำจากกำยานที่โลกอาหรับ และชาติมุสลิมใช้อย่างกว้างขวาง เนื่องจากเป็นเครื่องหอม ที่ไม่มีแอลกอฮอล์เจือปนไม่ผิด หลักทางศาสนาที่ชื่อว่า "ไซมีส เบนโซอีน" ที่ยังใช้กันมาจนทุกวันนี้ ลังกาสุกะเป็นท่าเรือ ส่งออกที่ใหญ่มาก
ลังกาสุกะอาจเป็นอาณาจักรเดียวในโลกที่ล่มสลายไปไม่ใช่เพราะการสงครามหรือโรคระบาด หากเกิดจากทะเลถอยห่างออกไปเรื่อย ๆ เมื่อไม่สามารถทำมาหากินได้เหมือนเดิม ผู้คนก็อพยพทิ้งบ้านทิ้งเมืองไปอยู่ที่อื่นกันหมด พร้อม ๆ กับอาณาจักรอื่นใกล้เคียงเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาแทนที่

อาณาจักรลังกาสุกะ ศูนย์กลาง

อาณาจักรลังกาสุกะ (พุทธศตวรรษที่ 7–23) อาณาจักรลังกาสุกะแห่งนี้ได้ตั้งขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 7 แล้วเจริญรุ่งเรืองในพุทธศตวรรษที่ 11 ขณะที่อาณาจักรฟูนันเริ่มเสื่อมอำนาจลง อาณาจักรลังกาสุกะตั้งอยู่ทางใต้ของอาณาจักรตามพรลิงก์ในคาบสมุทรมลายู บริเวณมัสยิดแห่งกรือเซะ ในบริเวณที่ปัจจุบันอยู่ระหว่างอำเภอเมืองปัตตานีกับอำเภอยะหริ่ง และบริเวณอำเภอยะรัง ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำปัตตานี พวกชวาเรียก "นครกีรติกามา" มีอาณาเขตครอบคลุมถึงทางเหนือตะกั่วป่าและตรัง ทางใต้ตลอดแหลมมลายู ลังกาสุกะมีการติดต่อกับจีนใน พ.ศ. 1052 ตามจดหมายเหตุจีนระบุว่า
"เป็นเมืองที่มีกำแพงล้อมรอบ กษัตริย์ประทับอยู่บนกูบช้างมีหลังคาทำด้วยผ้าสีขาว แวดล้อมด้วยองครักษ์ที่มีท่าทางดุร้าย และทหารตีกลองถือธงสีต่าง ๆ ประชาชนทั้งชายหญิงไว้ผมปล่อยยาว ใส่เสื้อไม่มีแขน" อาณาจักรลังกาสุกะนี้ ถูกอาณาจักรฟูนันโจมตีในพุทธศตวรรษที่ 11 แล้วกลายเป็นเมืองขึ้นต่อมา

อาณาจักรลังกาสุกะ ศูนย์กลาง

http://wanchalermtheingthae.blogspot.com/

อาณาจักรลังกาสุกะ ศูนย์กลาง
 

ศูนย์กลางของอาณาจักรลังกาสุกะอยู่ที่ใด

ลังกาสุกะเป็นราชอาณาจักรมลายูฮินดูแห่งแรก ของคาบสมุทร ซึ่งมีศูนย์กลางตั้งอยู่ที่ปาตานี (อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานีในปัจจุบัน) การมี ลักษณะร่วมทางด้านภูมิฐาน เช่น มีปากอ่าวที่ เหมาะแก่การเป็นเมืองท่าสำคัญ นับตั้งแต่ครั้ง พุทธศตวรรษที่ 8 จึงทำให้ผู้คนดั้งเดิมในบริเวณ

อาณาจักรลังกาสุกะมีความเจริญด้านใด

ลังกาสุกะเป็นราชอาณาจักรที่รุ่งโรจน์มากในด้านการค้าขาย มีอ่าวเป็นที่จอดเรือส าหรับ พ่อค้าที่เดินทางระหว่างคาบสมุทรมลายูกับทะเลจีนใต้ ในช่วงปลายปีพุทธศตวรรษที่ 10 นักเดินเรือชาว จีนได้บันทึกว่า เมื่อเขามาเยือนราชอาณาจักรลังกาสุกะ เขาไปพบกับพวกพราหมณ์จากอินเดียที่อาศัยใน ต าหนัก หลักฐานดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ศาสนาฮินดู ...

สิ่งใดเป็นข้อสรุปว่าศูนย์กลางของแคว้นลังกาสุกะอยู่ที่ปัตตานี

อาณาจักรลังกาสุกะเป็นอาณาจักรโบราณ มีศูนย์กลางตั้งอยู่บริเวณ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี มีอาณาเขตปกครองกว้างขวางครอบคลุมคาบสมุทรมลายูตอนล่างทั้งหมดโดยพัฒนามาจากเมืองท่าเล็กๆ ของชาวพื้นเมืองจนเติบโตเป็นรัฐและมีฐานะเป็นอาณาจักรมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 7 เป็นศูนย์กลางการค้าและศาสนา จนได้ล่มสลายไปในต้นพุทธศตวรรษที่ 21 ...

อาณาจักรลังกาสุกะนับถือศาสนาอะไร

วัฒนธรรมที่ลังกาสุกะว่า ราชาผู้ปกครองของลังกาสุกะนับถือศาสนาฮินดูและพราหมณ์ ราชธานี (Ibu Ashimnah) เดิมตั้งอยู่ที่เคดาห์ กล่าวกันว่า ตั้งแต่ก่อน นาบี อีซา บุตรมัรยัม จะกำเนิดก็ได้มีชาวจีนมาเยี่ยมเยียนเมืองดังกล่าวแล้ว ลังกาสุกะมีราชาปกครองหลังจาก