หนังสือลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2564

สาระสำคัญของ พระราชกฤษฎีกาลดภาษีสำหรับที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบางประเภท (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566 ระบุว่า มาตรา 3  ให้ลดจำนวนภาษีในอัตรา 15% ของจeนวนภาษีที่คำนวณได้  ตามมาตรา 42 สำหรับการจัดเก็บภาษีของปีภาษี พ.ศ. 2566

คอนเทนต์แนะนำ

หนังสือลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2564

ด่วน! โปรดเกล้าฯพ.ร.ฎ.ยุบสภา แล้ว

หนังสือลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2564

กางปฏิทินจ่ายเงินเดือนข้าราชการ ค่าจ้างลูกจ้างประจำ บำนาญ ปี 2566

หนังสือลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2564

"บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 2565" รีบยืนยันตัวตน มิเช่นนั้นสิทธิจะลดลง!

สำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง 4 ประเภทที่เข้าข่ายการลดภาษี คือ

1.ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรม

2.ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์เป็นที่อยู่อาศัย

 

 

หนังสือลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2564

3.ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่นนอกจากข้อ 1 และ 2 

4.ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งไว้ว่างเปล่าหรือไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ

อย่างไรก็ตาม เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เพื่อลดภาระและบรรเทาผลกระทบต่อประชาชน และสนับสนุนให้เกิดการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง สำหรับการลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจะมีผลตั้งแต่วันที่ 16 มี.ค.2566 เป็นต้นไป

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2566 ลดกี่เปอร์เซ็นต์

​ ราชกิจจานุเบกษาได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบางประเภท (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2566 โดยลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 15% ในปีภาษี 2566 และให้มีผลบังคับใช้นับตั้งแต่วันที่ประกาศ (วันที่ 19 มี.ค. 2566) จากเดิมที่ผู้เสียภาษีนี้จะต้องจ่ายเต็มตามปกติ และก่อนหน้านี้ทางการก็มีการขยับเวลาการชำระออกไปอีก 2 เดือน ...

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2564 จ่ายที่ไหน

ช่องทางในการเสียภาษีที่ดินปี 2564 จ่ายที่ไหนได้บ้าง ชำระ ณ ที่ทำการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ อปท. หรือ สำนักงานเขต ชำระผ่านไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ เช่น ธนาณัติ ตั๋วแลกเงิน เช็ค ชำระผ่านธนาคาร เช่น โอนเงินผ่านเลขที่บัญชีของ อปท., ชำระผ่านระบบ QR Payment (ATM, Internet Banking, Mobile Banking, ชำระตรงผ่านธนาคาร)

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ต้องจ่ายไหม

ใครบ้างที่ต้องเสีย ภาษีที่ดิน ? คนที่ต้องจ่ายภาษีดังกล่าว คือ ผู้ที่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (รวมถึงห้องชุดคอนโดมิเนียมด้วย) ซึ่งหมายถึงผู้ที่มีชื่ออยู่หลังโฉนดนั่นเอง เพราะฉะนั้น สำหรับคนที่เช่าบ้านหรือคอนโดอยู่ หรือบ้านที่อยู่ไม่ใช่กรรมสิทธิ์ของตัวเอง ก็ไม่ต้องเสียภาษีประเภทนี้แต่อย่างใด