กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

การศึกษาเรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง จะต้องศึกษาความเป็นมาและประวัติผู้แต่ง รวมทั้งการจับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน

เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรทรงนิพนธ์กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงขึ้น เนื่องในโอกาสตามเสด็จ

พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศพระราชบิดา ไปนมัสการพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ซึ่งเสด็จโดยทางชลมารคกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงนี้ได้ทรงนิพนธ์ต่อจากกาพย์เห่เรือ มีลักษณะคำประพันธ์เป็นกาพย์ห่อโคลง

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา เป็นวรรณคดีที่สำคัญในฐานะสารคดี เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปหาคำตอบของวรรณคดีเรื่องดังกล่าวว่ามีประวัติความเป็นมาอย่างไร ใครเป็นผู้แต่ง พร้อมเรียนรู้ความหมายของกาพย์ห่อโคลงและเนื้อเรื่องโดยสรุปของเรื่องด้วย ไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ

 

ความเป็นมาของ กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง

 

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

 

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเป็นบทชมธรรมชาติที่แต่งเพื่อความเพลิดเพลินระหว่างการเดินทางของกระบวนเสด็จทางสถลมารคจากท่าเจ้าสนุกถึงธารทองแดง ซึ่งธารทองแดงในที่นี้ เป็นชื่อลำน้ำที่เขาพระพุทธบาท ซึ่งเป็นบริเวณที่ตั้งของพระตำหนักธารเกษมที่มีมาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง โดยเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรทรงพระนิพนธ์วรรณคดีเรื่องนี้ขึ้นเมื่อครั้งตามเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศไปนมัสการพระพุทธบาท ที่จังหวัดสระบุรี

 

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

ประวัติเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร

 

เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร หรือ เจ้าฟ้ากุ้ง เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์ทรงเป็นกวีเอกในสมัยอยุธยาตอนปลาย ปีเกิดไม่ปรากฏ แต่ทรงสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2298 งานพระราชนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรที่โด่งดัง เป็นที่รู้จักในฐานะวรรณคดีอันทรงคุณค่าและเป็นแบบเรียนภาษาไทยให้กับคนรุ่นหลังมีมากมาย อาทิเช่น พระมาลัยคำหลวง กาพย์เห่เรือ เป็นต้น

 

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

 

จุดประสงค์ในการแต่ง

 

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

 

ลักษณะคำประพันธ์

 

แต่งเป็นกาพย์ห่อโคลง ที่มีกาพย์ยานีหนึ่งบทสลับกับโคลงสี่สุภาพหนึ่งบท คำต้นบาทของโคลงมักเป็นคำต้นวรรคของกาพย์

 

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

 

เรื่องย่อ กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง

 

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

 

การดำเนินเรื่องของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงจะมีลักษณะคล้ายกับนิราศ คือ พรรณนาถึงการเดินทาง แตกต่างจากนิราศตรงที่ไม่ได้คร่ำครวญถึงนางอันเป็นที่รัก แต่เป็นการเล่าเรื่องขณะตามเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศไปนมัสการรอยพระพุทธบาทจากท่าเจ้าสนุกผ่านตำบลธารทองแดง จังหวัดสระบุรี ซึ่งมีธารน้ำเล็ก ๆ ชื่อ ธารทองแดง โดยระหว่างทางก็จะมีการพูดถึงสัตว์นานาชนิด เช่น ช้าง กระบือ กวาง เสือเหลือง เสือดาว ละมั่ง เลียงผา งูเหลือม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีพืชพรรณธรรมชาติอีก เช่น  สาเก มะยม ไม้ดอก ไม้ผล ฯลฯ ในตอนท้ายเรื่อง กล่าวถึงรายละเอียดผู้แต่ง วัตถุประสงค์การแต่ง และ จุดประสงค์ที่แต่งขึ้นและวิธีอ่านโคลงให้ไพเราะ

 

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

 

อ่านกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเต็ม ๆ ได้ที่ห้องสมุดออนไลน์ tu digital collection

 

เป็นอย่างบ้างไรคะน้อง ๆ ได้เรียนรู้ประวัติความเป็นมาของวรรณคดีกันไปแล้ว ก็คงจะรู้แล้วใช่ไหมคะว่าทำไมวรรณคดีเรื่องนี้ถึงได้มาอยู่ในแบบเรียนภาษาไทย ในบทต่อไปเราจะพาน้อง ๆ ไปถอดคำประพันธ์ของตัวบทเด่น ๆ ที่น่าสนใจเพิ่มเติม แต่ก่อนจะลากันไปในวันนี้ อย่าลืมตามไปดูคลิปการสอนของครูอุ้มเพื่อทบทวนบทเรียนและฝึกทำแบบฝึกหัดนะคะ ไปดูกันเลยค่ะ

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

การเขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา เรียนรู้ 3 การเขียนที่สำคัญในยุคปัจจุบัน

ทักษะการเขียนอธิบาย การเขียนบรรยาย และการเขียนพรรณนา ถือว่ามีความสำคัญอย่างมากในปัจจุบัน เพราะมนุษย์นั้นมีสัญชาตญาณในการอยากรู้และหาคำตอบ ดังนั้นเราจึงไม่อาจเลี่ยงตอบคำถามใครได้ ดังนั้นการตอบคำถามหรือทำให้ผู้รับสารเข้าใจตรงกันจึงเป็นสิ่งจำเป็น บทเรียนวันนี้เราจะมาเรียนรู้เทคนิคการเขียนทั้งสามแบบว่ามีวิธีการเขียนอย่างไร ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ   การเขียน   การเขียนอธิบาย   การเขียนอธิบาย หมายถึง การทำให้บุคคลอื่นเข้าใจในความจริงที่เกิดขึ้น มีกลวิธีการเขียนดังนี้ กลวิธีการเขียนอธิบาย 1. การอธิบายตามลำดับขั้น เป็นอธิบายไปทีละขั้นตอน ใช้ในการเขียนอธิบายถึงกิจกรรมหรือวิธีทำบางสิ่งบางอย่าง    

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

เรียนรู้กลวิธีการสรรคำ ความสวยงามทางภาษา

ในการแต่งบทประพันธ์ประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะบทร้อยกรอง การสรรคำ จะช่วยทำให้บทประพันธ์นั้น ๆ มีความไพเราะมากขึ้น บทเรียนเรื่องการเสริมสร้างความรู้ทางภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปศึกษาเกี่ยวกับการสรรคำ ว่ามีความหมายและวิธีการเลือกคำมาใช้อย่างได้บ้าง ไปดูกันเลยค่ะ   การสรรคำ ความหมายและความสำคัญ     การสรรคำ คือ การเลือกใช้คำให้สื่อความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และอารมณ์ได้อย่างงดงาม โดยคำนึงถึงความงามด้านเสียง โวหาร

การใช้ There is และ There are ในประโยคคำถาม

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้น ม.2 ที่รักทุกคน วันนี้เราจะไปเรียนรู้เรื่อง “การใช้ There is There are ในประโยคคำถาม ” กันจ้า ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยเด้อ   There is/There are คืออะไร   There is และ There are แปลว่า

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

Past Perfect Continuous Tense แบบเข้าใจแจ่มแจ้ง

สวัสดีน้องๆ ม.​ 6 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาทำทบทวนเกี่ยวกับ Past Perfect Continuous กันครับ ถ้าพร้อมแล้วเราไปเริ่มกันเลย

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ บทอาขยานที่ควรค่าแก่การจำ

จนถึงตอนนี้น้อง ๆ คงได้เรียนวรรณคดีกันมามากมายหลายเรื่อง แต่ละเรื่องก็อาจจะมีการใช้ลักษณะคำประพันธ์ที่ต่างกันออกไป หรือซ้ำกันบ้าง บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ ก็เป็นหนึ่งในวรรณคดีไทยที่อยู่ในแบบเรียนของน้อง ๆ แต่ความพิเศษคือลักษณะคำประพันธ์ที่น้อง ๆ อาจจะไม่เคยได้ยินมาก่อนอย่าง อินทรวิเชียร์ฉันท์ 11 จะเป็นอย่างไรบ้าง ถ้าพร้อมแล้วไปเรียนรู้วรรณคดีเรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   ความเป็นมาของบทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ   บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ เป็นบทร้อยกรองขนาดสั้น มีเนื้อหาแสดงคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์ ประพันธ์ขึ้นโดย

กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1
กาพย์ห่อโคลงประพาส ธารทองแดง บทที่ 1

การใช้ Quantity words เช่น many/ much/ a lot of/ lots of

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.6 ทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้ “การใช้ Quantity words เช่น many/ much/ a lot of/ lots of  ” ในภาษาอังกฤษกันค่ะ Let’s go! ไปลุยกันโลด Quantity words คืออะไร   “Quantity

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเริ่มต้นพรรณนาด้วยบทใด

ต้นฉบับของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ไม่สมบูรณ์ เข้าใจว่าตอนต้นสูญหายไป วรรณกรรมเริ่มด้วยการพรรณนาขบวนเสด็จทางสถลมารค จากนั้นเป็นการพรรณนาถึงสัตว์ พันธุ์ไม้ ไม่มีการพรรณนาเชื่อมโยงกับนางอันเป็นที่รัก มีเพียงบทที่ 8 และบทที่ 106 ที่พรรณนาถึงผู้หญิง แต่เป็นการพรรณนาตามสภาพที่เห็น คือบทแรกชมการแต่งกาย และบทที่สองชมการอาบ ...

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงคืออะไร

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเป็นวรรณคดีที่แต่งขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยา ผู้ทรงพระนิพนธ์คือ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์(เจ้าฟ้ากุ้ง) แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกาพย์ห่อโคลง ในโอกาสที่พระองค์ขบวนเสด็จทางสถลมารคของ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศไปนมัสการพระพุทธบาทที่สระบุรีธารทองแดงเป็นลำธารที่เกิดจาก ...

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงมีข้อพิเศษอย่างไร

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง มีลักษณะทางฉันทลักษณ์ดังนี้ ขึ้นต้นด้วยกาพย์ยานี 1 บท แล้วตามด้วยโคลงสี่สุภาพ 1 บทใจความเหมือนกัน กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง นั้นมีกาพย์ยานีและโคลงสี่สุภาพรวม 108 คู่ และโคลงปิดท้ายมี 2 บท จุดประสงค์ในการแต่ง คือ เป็นบทชมธรรมชาติ เพื่อความเพลิดเพลินในการเดินทาง เพื่อพรรณนากระบวนเสด็จทาง ...

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงประกอบด้วยอะไรบ้าง

เนื้อหาของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง เป็นการบรรยายและพรรณนากระบวนพยุหยาตราทางสถลมารค ขบวนช้าง เครื่องสูง สนมนางในผู้ตามเสด็จ กวีบรรยายภาพสัตว์ป่าประเภทต่างๆ ที่ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกัน มีสัตว์สี่เท้า เช่น ช้าง กระบือ โค กวาง ทราย หมูป่า สุนัขจิ้งจอก กระทิง หมี เสือโคร่ง เสือเหลือง เสือดาว โคแดง ละมั่ง อ้น กระแต กระรอก ฯลฯ