ถ่ายบัตรประชาชนหน้าหลัง อันตรายไหม

อันตราย! ถ่ายสำเนาบัตรประชาชน หน้าหลังเสี่ยงถูกโจรกรรมข้อมูล

ถ่ายบัตรประชาชนหน้าหลัง อันตรายไหม

อันตราย! ถ่ายสำเนาบัตรประชาชน หน้าหลังเสี่ยงถูกโจรกรรมข้อมูล

อันตราย! ถ่ายสำเนาบัตรประชาชน หน้าหลังเสี่ยงถูกโจรกรรมข้อมูล

มหาดไทย แจง แค่ด้านหน้าข้อมูลก็ครบถ้วนแล้วใช้ติดต่อราชการได้ เฟซบุ๊กเพจ ลุงทนายใจดี ปรึกษากฎหมายฟรี โพสต์เตือนว่า "สำเนาบัตรประชาชนรุ่นปัจจุบัน ไม่ควรถ่ายด้านหลังบัตรของเราไปพร้อมกับด้านหน้าเด็ดขาด"

มหาดไทย แจง แค่ด้านหน้าข้อมูลก็ครบถ้วนแล้วใช้ติดต่อราชการได้ "สำเนาบัตรประชาชนรุ่นปัจจุบัน ไม่ควรถ่ายด้านหลังบัตรของเราไปพร้อมกับด้านหน้าเด็ดขาด"

เนื่องจากหลังบัตรจะมีชุดตัวเลขอยู่ เรียกว่า Laser ID ซึ่งปัจจุบันภาครัฐ เช่นสรรพากร, ตำรวจ, กระทรวงต่างๆ, กรมต่างๆ ฯ รวมถึงภาคการเงินบังคับใช้ Laser ID นี้ ในการทำธุรกรรม/ตรวจสอบ/ยืนยันตัวตน ควบคู่กับเลขบัตรประชาชน 13 หลัก เรียกว่า e-KYC(Electronic - Known Your Client) App. ที่เกี่ยวข้องกับเงินหรือกระเป๋าเงินอิเลคทรอนิกค์(Wallet) ต้องใช้ทั้งหมด(แบงค์ชาติควบคุม)

หากข้อมูลหน้าบัตรประชาชนหลุดไปก็อันตรายมากพอแล้ว ยิ่งข้อมูล Laser ID หลุดไปด้วย ยิ่งอันตรายเป็นทวีคูณ เหมือนเลขบัตรเครดิตหลุดไปพร้อมกับ CVV หลังบัตร 

ดยอ้างอิงจาก หนังสือคำสั่งจากกระทรวงมหาดไทย ปี 2556 ที่ให้หน่วยงานราชการทุกแห่งเปลี่ยนมาถ่ายสำเนาเฉพาะด้านหน้าเพียงด้านเดียวเท่านั้น เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และเป็นการลดค่าใช้จ่ายประชาชน

เพราะว่าเป็นด้านที่มีตัวเลข 13 หลักกำกับไว้ รวมถึงมีข้อมูลหลักฐานครบถ้วนอยู่แล้ว อีกทั้งปัจจุบันได้มีการนำบัตรประจำตัวประชาชนแบบอเนกประสงค์ (Smart Card) เข้ามาใช้ในระบบอย่างทั่วถึงแล้ว จึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้องถ่ายถึงสองหน้าแบบเดิมอีก

ส่วนเว็ปหรือ App. ไหนให้กรอก Laser ID ก็ต้องระมัดระวังเช่นกัน ถ้าเป็นสถานที่ที่เชื่อถือได้ เช่นหน่วยงานราชการ, สถาบันการเงิน, Wallet ของบริษัทใหญ่น่าเชื่อถือ ก็ใส่ได้ครับ ระวังเจอเว็ปปลอม App. ปลอม หรือฟิชชิ่งครับ ดูให้แน่ใจว่าใช่หน่วยงานนั้นแท้ๆ

ข้อมูลเพิ่มเติม

  • สมัยก่อนวันหมดอายุบัตรประชาชนจะอยู่ด้านหลังบัตร จึงต้องถ่ายทั้งหน้าและหลัง
  • หลังจากมีการประกาศยกเลิกใช้สำเนา เปลี่ยนเป็นดึงข้อมูลจากชิพการ์ดหน้าบัตร แต่ก็ยังไม่แพร่หลาย หลายแห่งยังใช้สำเนากันอยู่ เพียงแต่ด้านหลังไม่ควรต้องถ่ายแล้ว
  • กรมการปกครองประกาศตั้งแต่ 22 มีนาคม 2556 ว่าหน่วยงานของรัฐ, รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ที่ยังจำเป็นต้องถ่ายสำเนาบัตรประชาชน ควรถ่ายสำเนาบัตรด้านหน้าเพียงด้านเดียว (ประกาศที่ มท ๐๓๐๙.๒/ว ๖๘๕๓)

"มหาดไทย" ระบุถ่ายสำเนาบัตรประชาชนแบบสมาร์ตการ์ดที่ใช้เป็นหลักฐาน เฉพาะด้านหน้าด้านเดียว ด้านเพจทนายเตือนข้อมูลหลุดไปอยู่ในมือมิจฉาชีพ เสี่ยงถูกสวมรอยใช้ข้อมูล

บัตรประจำตัวประชาชน ถูกใช้เป็นหลักฐานยืนยันตัวบุคคลในการติดต่อราชการ รวมทั้งใช้ประกอบการทำธุรกรรมต่าง ๆ ซึ่งที่ผ่านมามีข่าวมิจฉาชีพแอบอ้างนำข้อมูลไปใช้กระทำผิดกฎหมาย หรือสวมรอยหลอกลวงผู้อื่น 

เพจเฟซบุ๊ก ลุงทนายใจดี ปรึกษากฎหมายฟรี โพสต์เตือนว่า สำเนาบัตรประชาชนรุ่นปัจจุบัน ไม่ควรถ่ายด้านหลังบัตรของเราไปพร้อมกับด้านหน้าเด็ดขาด เพราะด้านหลังบัตรจะมีชุดตัวเลข เรียกว่า Laser ID ซึ่งปัจจุบันภาครัฐ เช่น สรรพากร, ตำรวจ, กระทรวงฯ, กรมฯ ต่างๆ รวมถึงภาคการเงินบังคับใช้ Laser ID นี้ในการทำธุรกรรม ตรวจสอบ ยืนยันตัวตน ควบคู่กับเลขบัตรประชาชน 13 หลัก เรียกว่า e-KYC (Electronic - Known Your Client) APP ที่เกี่ยวข้องกับเงินหรือกระเป๋าเงินอิเลคทรอนิกค์ (Wallet) ต้องใช้ทั้งหมด (แบงค์ชาติควบคุม) หากข้อมูลหน้าบัตรประชาชนหลุดไปก็อันตรายมากพอแล้ว ยิ่งข้อมูล Laser ID หลุดไปด้วย ยิ่งอันตรายเป็นทวีคูณ เหมือนเลขบัตรเครดิตหลุดไปพร้อมกับ CVV หลังบัตร

ทั้งนี้ หากสถานที่ไหนไม่เข้าใจ ยืนยันว่าต้องถ่ายบัตรหน้าหลัง ให้เราถ่ายจากบัตรคนละใบให้เขา ด้านหน้าบัตรเรา ด้านหลังบัตรคนอื่น หรืออย่างน้อยปิดเลขตอนถ่าย ส่วนเว็ปหรือ App ไหนให้กรอก Laser ID ก็ต้องระมัดระวังเช่นกัน หากเป็นสถานที่ที่เชื่อถือได้ เช่น หน่วยงานราชการ, สถาบันการเงิน, Wallet ของบริษัทใหญ่น่าเชื่อถือ ก็ใส่ได้ แต่ต้องระวังเจอเว็ปปลอม App. ปลอม หรือฟิชชิ่ง ดูให้แน่ใจว่าใช่หน่วยงานนั้นจริงๆ

สมัยก่อนวันหมดอายุบัตรประชาชนจะอยู่ด้านหลังบัตร จึงต้องถ่ายทั้งหน้าและหลัง สมัยนี้จริงๆไม่ควรใช้สำเนาแล้ว ควรดึงข้อมูลจากชิพการ์ดหน้าบัตร แต่ยังไม่แพร่หลาย ก็ยังใช้สำเนากันอยู่ แต่ด้านหลังไม่ควรต้องถ่ายแล้ว

ด้านเดียวติดต่อราชการได้ 

ก่อนหน้านี้ กระทรวงมหาดไทยทำหนังสื่อส่งถึงหน่วยงานต่างๆ ลงวันที่ 22 มี.ค.2556 ที่ต้องขอสำเนาบัตรประชาชนเป็นหลักฐาน เฉพาะบัตรประชาชนแบบอเนกประสงค์หรือสมาร์ทการ์ด ให้ถ่ายสำเนาบัตรด้านหน้าเพียงด้านเดียวเท่านั้น เพราะเป็นด้านที่มีตัวเลข 13 หลักกำกับไว้ รวมถึงมีข้อมูลหลักฐานครบถ้วนอยู่แล้ว อีกทั้งปัจจุบันได้มีการนำบัตรประจำตัวประชาชนแบบอเนกประสงค์ (Smart Card) เข้ามาใช้ในระบบอย่างทั่วถึงแล้ว จึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้องถ่ายถึงสองหน้าแบบเดิมอีก

เนื่องจากที่ผ่านมา ได้มีประชาชนร้องเรียนถึงการติดต่อหน่วยงานราชการมักต้องถ่ายเอกสารสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ทั้งสองด้านทำให้เสียค่าใช้จ่าย โดยไม่จำเป็น จึงมีคำสั่งให้หน่วยงานราชการทุกแห่งลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน รวมถึงลดภาระค่าใช้จ่ายของประชาชนที่จะมาติดต่อราชการ ในเรื่องการถ่ายสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง โดยสั่งให้เปลี่ยนมาถ่ายสำเนาเฉพาะด้านหน้าเพียงด้านเดียวเท่านั้น เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และเป็นการลดค่าใช้จ่ายประชาชน

ถ่ายบัตรประชาชนหน้าหลัง อันตรายไหม

Laser ID จำเป็นอย่างไร?

Laser ID หรือ เลขควบคุมหลังบัตรประจำตัวประชาชน ซึ่งแสดงอยู่หลังบัตรประชาชนนั่นเอง โดยเลขควบคุมหลังบัตร (Jc2 - xxx) นั้นเป็นเลขควบคุมและตรวจสอบบัตรใบนั้น ๆ และเลขควบคุมนี้เป็นความลับของบัตรแต่ละใบ เช่น เมื่อผู้เสียภาษีกรอกเลขควบคุมหลังบัตรประจำตัวประชาชน ระบบลงทะเบียนจะประมวลผลกับฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ เพื่อตรวจสอบว่าผู้เสียภาษีกรอกข้อมูลส่วนตัวถูกต้อง จึงจะสามารถ ดำเนินการแจ้งชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่านใด 

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

เลิก! ใช้ "สำเนาบัตร ปชช.-ทะเบียนบ้าน" ติดต่อราชการ

ถ่ายบัตรประชาชนด้านหน้าอันตรายไหม

หากข้อมูลหน้าบัตรประชาชนหลุดไปก็อันตรายมากพอแล้ว ยิ่งข้อมูล Laser ID หลุดไปด้วย ยิ่งอันตรายเป็นทวีคูณ เหมือนเลขบัตรเครดิตหลุดไปพร้อมกับ CVV หลังบัตร หากสถานที่ไหนไม่เข้าใจ ยืนยันว่าต้องถ่ายบัตรหน้าหลัง ให้เราถ่ายจากบัตรคนละใบให้เขาครับ ด้านหน้าบัตรเรา ด้านหลังบัตรคนอื่นครับ หรืออย่างน้อยปิดเลขตอนถ่าย

รหัสหลังบัตรประชาชน อันตรายไหม

ไม่ควรเปิดเผยเลขบัตรประชาชนและหมายเลข Laser ID หลังบัตร เพราะเลขเหล่านี้จะบ่งบอกถึงข้อมูลส่วนบุคคลและใช้ยืนยันการทำธุรกรรมภาครัฐและการเงินได้

ทำไมไม่ให้ถ่ายบัตรประชาชนด้านหลัง

ทำไมถึงห้ามถ่ายสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนด้านหลัง หลังบัตรจะมีชุดตัวเลขอยู่ เรียกว่า Laser ID ซึ่งปัจจุบันภาครัฐ เช่นสรรพากร, ตำรวจ, กระทรวงต่างๆ, กรมต่างๆ ฯ รวมถึงภาคการเงินบังคับใช้ Laser ID นี้ในการทำธุรกรรม ตรวจสอบ ยืนยันตัวตน ควบคู่กับเลขบัตรประชาชน 13 หลัก

สำเนาบัตรประชาชนเอาไปทำอะไรได้บ้าง

4. สามารถนำไปแสดงตน และใช้ในการเข้าถึงการบริการต่างๆ ได้แก่ การเลือกตั้ง, ประกันสังคม, ประกันสุขภาพ และธุรกรรมต่างๆ ทางอิเล็กทรอนิกส์ 5. สามารถใช้ทำธุรกรรมทางการเงินได้ เช่น การเปิดบัญชีธนาคาร, สมัครบัตรเครดิต, สมัครบัตรกดเงินสด เป็นต้น