การ ดํา เนิน งาน สู่ เป้าหมาย การ บริหาร งาน คุณ

ItemsreferenceAreaScore 3Score 4Score 5
31 II-1.1ก(1)(2)(3)(4)(10) ระบบบริหารงานคุณภาพ การประสานงานและบูรณาการ การทำงานเป็นทีม มีการใช้ PDSA ในการบริหารงานคุณภาพในหน่วยงาน/ระบบงาน/กระบวนการหลัก, การบริหารงานคุณภาพ ความปลอดภัย และความเสี่ยง เป็นส่วนหนึ่งของแผนกลยุทธ์ขององค์กร ผู้นำสนับสนุนความพยายามในการพัฒนาคุณภาพ, มีการจัดโครงสร้างงานคุณภาพที่เหมาะสมกับองค์กร, มีการใช้ 3C-PDSA ในการบริหารงานคุณภาพในหน่วยงาน/ระบบงาน/กระบวนการหลัก, ผู้นำทบทวนและติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง, มีการประสานและบูรณาการแผนงาน/กิจกรรมทั้งหมดเกี่ยวกับคุณภาพ ความปลอดภัย และความเสี่ยง มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ วัฒนธรรมคุณภาพ
32 II-1.1ก(5)(8)(9) การประเมินตนเองและจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ มีการประเมินตนเองเพื่อหาโอกาสพัฒนาในทุกระดับ, จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพและนำแผนไปปฏิบัติ องค์กรเข้าร่วมโปรแกรมตัวชี้วัดเปรียบเทียบ, แผนพัฒนาคุณภาพครอบคลุมการพัฒนาทั้งองค์กร, มีการประเมินความก้าวหน้าและความสำเร็จตามเป้าหมายของหน่วยงาน/ระบบงาน/กระบวนการสำคัญ/แผนการพัฒนาคุณภาพ, มีการนำผลการประเมินตนเองมาเรียนรู้ร่วมกัน มีการใช้การวิจัยหรือเครื่องมือขั้นก้าวหน้าในการประเมินระบบงานสำคัญ, มีวัฒนธรรมการประเมินตนเอง
33 II-1.1ข(1) การทบทวนการให้บริการและการดูแลผู้ป่วย มีการทบทวนที่ครอบคลุมโอกาสเกิดปัญหาสำคัญ และนำมาสู่การปรับปรุงระบบงาน มีการทบทวนที่บูรณาการเข้าเป็นกิจกรรมประจำของหน่วยงาน มีการติดตามการปฏิบัติและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น มีวัฒนธรรมของการทบทวนคุณภาพการดูแลผู้ป่วย รวมทั้งการมีระบบ concurrent monitoring
34 II-1.1ข(2)(3)(4) การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย การพัฒนาคุณภาพทางคลินิกครอบคลุมกลุ่มผู้ป่วยสำคัญในแต่ละสาขา, มีการ monitor KPI อย่างเหมาะสม ผสมผสานแนวคิดและวิธีการที่หลากหลายในการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก, ผลลัพธ์ทางคลินิกมีแนวโน้มที่ขึ้น นำกระบวนการวิจัย (เช่น R2R) มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก, มีการพัฒนาคุณภาพทางคลินิกที่มีผลกระทบสูง
35 II-1.2ก(1)(6) ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย มีนโยบาย ขอบเขต วัตถุประสงค์ แผน คู่มือ หน้าที่รับผิดชอบ ทรัพยากร ที่ชัดเจน มีการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลของระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย, มีการประเมินและปรับปรุงวัฒนธรรมความปลอดภัย ผลการประเมินวัฒนธรรมความปลอดภัยอยู่ในระดับก้าวหน้า
36 II-1.2ก(2)(3) กระบวนการบริหารความเสี่ยง มี risk profile ในภาพรวมของทั้ง รพ., มีการใช้ risk register เพื่อการจัดการความเสี่ยงสำคัญของ รพ. มีการติดตามและทบทวนความเสี่ยงต่างๆ อย่างเหมาะสมกับระดับความเสี่ยง นำมาสู่การปรับปรุงมาตรการป้องกันอย่างสม่ำเสมอ มีการใช้แนวคิดการออกแบบมาตรการป้องกันที่ได้ผล (เช่น HFE, design thinking), มีการ update คู่มือการปฏิบัติงานและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องในเวลาที่เหมาะสม
37 II-1.2ก(4) การเรียนรู้จากอุบัติการณ์ มีระบบรายงานอุบัติการณ์ และการทำ RCA ตามเกณฑ์ที่องค์กรกำหนด มีการรับรู้อุบัติการณ์/เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ทั้งจากการรายงาน การทบทวนเวชระเบียน และอื่นๆ, มีการทำ RCA ทั้งในกรณีที่มีความรุนแรงและเหตุเกือบพลาดที่พบบ่อย นำมาสู่การปรับปรุงที่ปัจจัยองค์กร, มีการเชื่อมโยงผลการทำ RCA กับการทบทวนมาตรการป้องกัน (ใน risk regis แสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงานที่มีผลกระทบสูง อันเป็นผลจากการทบทวนอุบัติการณ์

Score 1 = เริ่มมีการนำมาตรฐานไปปฏิบัติ เช่น มีการกำหนดโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง วางแผน วางแนวทางปฏิบัติ (ใช้เป็นแนวทางการประเมินระดับ Score 1 กับมาตรฐานในส่วนนี่ทุกข้อ)

Score 2 = แนวทางปฏิบัติที่กำหนดมีความเหมาะสมกับบริบท เริ่มมีการนำแนวทางไปสู่การปฏิบัติ ความครอบคลุมอาจจะยังไม่สมบูรณ์ (ใช้เป็นแนวทางการประเมินระดับ Score 2 กับมาตรฐานในส่วนนี้ทุกข้อ)

การบริหารจัดการองค์กรใครว่าไม่สำคัญ ที่จริงมันน่าจะอยู่ในหมวดสำคัญที่สุดสำหรับองค์กรทีเดียว เพราะไม่ว่าคุณจะมีตลาด แรงงาน ที่ดิน หรือทุน พร้อมสรรพแค่ไหน แต่หากขาดการบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องย่อมไม่มีทางดำเนินงานได้ราบรื่น สุดท้ายก็จะต้องสะดุดหรือล้มลงในสักวัน

ดังนั้นเราจึงต้องทำความเข้าใจและนำไปใช้งานให้ถูกว่าการบริหารจัดการองค์กรที่ดีควรเป็นแบบไหน เราจะแนะนำเทคนิคและเทคโนโลยีที่จะทำให้การบริหารจัดการองค์กรสามารถดำเนินการไปได้อย่างราบรื่น

การบริหารจัดการองค์กรเริ่มต้นได้ 5 ขั้นตอน

1. ให้ความสำคัญกับเตรียมตัวและวางแผนล่วงหน้า

การวางแผนเป็นส่วนที่มีไว้กำหนดทิศทางว่าต่อจากนี้จะบริหารจัดการองค์กรไปในทางไหน หากให้เปรียบคงเป็นเหมือนพวงมาลัยหรือหางเสือที่คอยควบคุมเส้นทาง ทำให้ทุกคนในองค์กรรู้สึกว่าที่ตนทำมีเป้าหมาย ทำให้เห็นภาพสิ่งที่ตั้งใจ จนสามารถตั้งเป้าและทุ่มเทกับงานได้เต็มที่

ผู้บริหารควรมีการอธิบายในส่วนนี้คือการกำหนดกิจกรรมหรือสิ่งที่ต้องทำ สร้างแผนงานให้กลายเป็นแนวทางปฏิบัติ เพื่อนำไปสู่ขั้นตอนและวัตถุประสงค์ในงานแต่ละส่วน ซึ่งที่จริงก็มีอยู่หลายประเภทได้แก่

1.1 การวางแผนในเชิงกลยุทธ์

การวางกลยุทธ์ถือเป็นส่วนสำคัญสุดในการบริหารจัดการองค์กรเพราะเป็นการกำหนดภาพรวมของบริษัท ทั้งด้านบริหาร เป้าหมาย หรือกำหนดขอบเขตกรดำเนินงานต่อจากนี้

ดังนั้นการวางแผนส่วนนี้จึงนับว่าซับซ้อนเป็นพิเศษ นอกจากต้องอาศัยความเข้าใจในองค์กร ยังคำนึงถึงคู่แข่ง ตำแหน่งทางการตลาด โอกาสและอุปสรรคทางธุรกิจที่อาจจะเกิดขึ้น ทำให้โดยมากคนกำหนดแผนงานส่วนนี้จะเป็นระดับผู้บริหารมากกว่า

1.2 การวางแผนในเชิงยุทธวิธี

การวางยุทธวิธีสามารถเรียกได้อีกชื่อว่าการวางแผนไว้ใช้สำหรับการปฏิบัติเป็นหลัก เป็นการวางแผนเพื่อดึงประสิทธิภาพของทรัพยากรออกมาถึงขีดสุด แต่ไม่หลุดกับแผนการเชิงกลยุทธ์ที่กล่าวไป เป็นส่วนที่ถูกออกแบบได้ทั้งจากหัวหน้างานไปจนลูกน้องทีเดียว

หลายบริษัทมีการวางกลยุทธ์และยุทธ์วิธีซ้ำซ้อนกัน หรือมองแค่ด้านใดด้านหนึ่งจนเกินไป อาจทำให้เราเห็นแค่ภาพใหญ่จนละเลยการจัดการในระดับย่อย หรือสั่งการไม่ถูก จนทำให้เกิดความเสียหาย ซึ่งเป็นเรื่องน่าเสียดายเป็นอย่างมาก

2. วางระเบียบการจัดการในองค์กรให้รัดกุม

การจัดการในที่นี้ คือ การทำให้กลุ่มบุคคลในองค์กรเข้ามาทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรได้ ไม่ว่าจะเป็น

  •  การวางแผน 
  • การสร้างความเป็นระเบียบ 
  • การสรรหาบุคลากร  
  • การนำหรือสั่งการ 
  • การทำความเข้าใจกับคนในองค์กร

การจัดการให้ดีคือหนึ่งในตัวชี้วัดสำคัญเป็นการวัดกึ๋นในการบริหารจัดการองค์กร เพราะประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรส่วนใหญ่ จะเปลี่ยนไปในทิศทางไหนก็ขึ้นอยู่กับการจัดการ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเกิดความเปลี่ยนแปลงมากมาย ทำให้การบริหารจัดการองค์กรที่ดียิ่งจำเป็น หากต้องการให้องค์กรแข็งแกร่งขึ้นกว่าที่เป็นอยู่

การจัดการทำได้ในหลายทางขึ้นอยู่กับรูปแบบขึ้นอยู่กับตัวองค์กรเอง ทัศนคติผู้บริหาร รวมถึงวัฒนธรรมภายใน สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นตัวแปรสำคัญที่จะหล่อหลอม สร้างระเบียบและโครงสร้างภายในบริษัทให้กลายเป็นรูปร่างให้พนักงานปฏิบัติตาม 

3. เอาใจใส่พนักงานให้เป็นรากฐานสำคัญขององค์กร

การทำงานจะเป็นไปได้ด้วยดี ก็ต่อเมื่อพนักงานนำศักยภาพสูงสุดของตัวเองมาใช้งาน จึงจะทำให้การบริหารจัดการองค์กรเป็นไปอย่างราบรื่น ด้วยเหตุนั้นสิ่งที่จะขาดไม่ได้คือแรงจูงใจในการทำงานและความร่วมมือภายในองค์กร

การที่พนักงานจะมีแรงจูงใจได้ก็ต่อเมื่อพนักงานรักบริษัทและงานที่ทำอยู่ รักในองค์กรที่สังกัด รวมถึงสะดวกใจที่จะทำงานร่วมกับคนในองค์กร ซึ่งส่วนนี้สร้างได้จากการสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีส่งเสริมต่อการทำงาน วัฒนธรรมภายในองค์กรที่เหมาะสมทำให้พนักงานไม่เคร่งเครียดจนเกินไป มีกิจกรรมภายในองค์กร รวมถึงเปิดโอกาสให้พนักงานได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะของตัวเอง

เมื่อสามารถสร้างแรงจูงใจได้สำเร็จ ที่ต้องให้ความสำคัญไม่แพ้กันคือการร่วมมือภายในองค์กร เพราะช่วยให้การทำงานและขับเคลื่อนนโยบาย บริหารจัดการภายในองค์กรเป็นไปอย่างราบรื่น ดังนั้นบริษัทจึงควรเอาใจใส่ในส่วนนี้เป็นพิเศษ

การสร้างความสัมพันธ์อันดีเพื่อให้การบริหารจัดการองค์กรราบรื่นทำได้หลายทาง อย่างการสร้างสภาพ

แวดล้อมและวัฒนธรรมองค์กรให้ดีแบบที่กล่าวไป แต่ปัจจัยสำคัญสุดน่าจะเป็นการสื่อสารกันให้เข้าใจ ชัดเจน และแม่นยำ รวมถึงเคารพให้เกียรติ์ซึ่งกันและกัน ยอมรับความเห็นต่าง รับฟังความเห็นของแต่ละฝ่าย ก็ทำให้องค์กรน่าอยู่ได้ไม่ยาก 

4. ใช้ข้อมูลให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ข้อมูลคือสิ่งที่เกิดขึ้นจริงรอบตัวและมีความสำคัญยิ่ง ตั้งแต่อดีตเราก็นำข้อมูลที่ได้รับมาจัดการ ปรับใช้ และแก้ไข ทำให้เรารู้ความเป็นไปในปัจจุบันรวมถึงคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดในอนาคต ช่วยในการบริหารจัดการองค์กรได้เป็นอย่างดี

ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นอาจมีได้ตั้งแต่ข้อมูลในภาพรวม อย่างปริมาณพนักงานปัจจุบัน ความพึงพอใจในลูกค้าแต่ละราย ไปจนถึงข้อมูลยิบย่อย เช่นการทำงานภายในแผนกนั้นๆ ส่งผลอะไรกับบริษัทบ้าง ยิ่งฝ่ายบริหารรับรู้ข้อมูลเหล่านี้ได้ดีและไวมากเท่าไหร่ ก็จะยิ่งทำให้เราเห็นภาพการบริหารจัดการปัจจุบัน ทำให้มีการแก้ไขได้ไวขึ้นเท่านั้น

ส่วนที่ต้องระวังที่สุดสำหรับข้อมูลก่อนนำไปใช้บริหารจัดการองค์กรคือความถูกต้อง บางครั้งต้องตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับมาว่าตรงกับความเป็นจริงหรือไม่ ใครเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูล มีความน่าเชื่อถือเพียงใด หรือถ้าเป็นข้อมูลจากภายนอกยิ่งต้องมีเรื่องให้ตรวจสอบมากขึ้น ดังนั้นจึงควรกลั่นกรองข้อมูลให้ดี แน่ใจว่าตรงกับความเป็นจริงจึงจะนำไปใช้งาน 

5. ปรับตัวตามยุคสมัยด้วยการใช้เทคโนโลยีเข้าร่วม

การ ดํา เนิน งาน สู่ เป้าหมาย การ บริหาร งาน คุณ

การปรับตัวให้ทันตามยุคสมัยกลายเป็นสิ่งจำเป็นหากต้องการอยู่รอดในสังคมธุรกิจ ความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วทำให้เราต้องเรียนรู้จะอยู่กับปัจจุบันเพื่อให้การบริหารจัดการองค์กรมีประสิทธิภาพ บริษัทจึงควรมีการจัดการด้านข้อมูลที่ดี ทั้งความเร็ว ความปลอดภัย ครอบคลุมทั้งองค์กร เพื่อที่คุณจะได้รู้ว่าองค์กรในตอนนี้มีอะไรที่จะต้องปรับปรุงบ้าง

Enterprise Resource Planning (ERP) เป็นอีกหนึ่งส่วนประกอบที่มีบทบาทในปัจจุบัน โดยเฉพาะในบริษัทใหญ่ๆ ที่มีปริมาณข้อมูลต่อวันสูงมาก ERP จะคอยเชื่อมโยงระบบย่อยๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการบริษัทในแง่มุมต่างๆ เข้าด้วยกันเก็บและรวบรวมข้อมูลการทำงานของแต่ละภาคส่วน แสดงให้เห็นจุดบกพร่องของแต่ละกระบวนการทำงาน ซึ่งทั้งหมดล้วนมีส่วนช่วยให้การบริหารจัดการองค์กรเป็นไปโดยสะดวกและแม่นยำกว่าเก่า

นอกจาก ERP จะช่วยในการจัดการและเรียบเรียงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่ตลอดแล้ว ยังมีส่วนช่วยในด้านอื่นอย่างการนำข้อมูลที่ได้มาช่วยในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ดีขึ้น บริหารจัดการภายในองค์กรได้ง่ายขึ้น หรือหากคุณเป็นโรงงานอุตสาหกรรม ระบบ ERP จะช่วยตอบโจทย์เพราะเป็นระบบที่เหมาะกับโรงงาน ทำให้การดำเนินงานเป็นไปโดยสะดวก ช่วยจัดการและควบคุมการทำงานให้เป็นระเบียบ เพิ่มความสะดวกในการเก็บรวบรวมและเข้าถึงข้อมูล ทำให้การประสานงานแต่ละภาคส่วนเป็นไปอย่างราบรื่น

สรุป

ไม่ว่าเทคโนโลยีจะก้าวไปไกลเพียงใด แต่ผู้ที่จะเลือกและประยุกต์ใช้มันได้ดีที่สุดก็เห็นจะไม่พ้นมนุษย์เดินดิน ดังนั้นสิ่งที่ผู้บริหารควรมองให้ออกคือ “สิ่งใดที่ขาด สิ่งใดที่เกิน และเราจะจัดการมันอย่างไร” ซึ่งสิ่งเหล่านั้นอาจใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ในการช่วยตัดสินใจ ทำให้เรามองเห็นภาพกว้างของการบริหารได้ง่ายขึ้น

เพราะอย่าลืมว่าในการบริหารจัดการองค์กร เราต้องมองทั้งหมด ไม่ว่าจะภายในและภายนอก เล็กน้อยหรือว่าใหญ่โต ก่อนจัดการทรัพยากรของบริษัทที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 

หากคุณสนใจระบบ ERP ปรึกษาเราได้ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย เราจะช่วยแนะนำและปรับแต่งระบบให้เข้ากับการทำงานขององค์กรให้สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การ ดํา เนิน งาน สู่ เป้าหมาย การ บริหาร งาน คุณ