ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน คํากล่าวนี้มุ่งหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนอย่างไร

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน

หมวดหมู่ : สำนวนสุภาษิต Tags: สำนวนไทย

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน หมายถึง ความซื่อสัตย์นั้นกินใช้ไม่มีวันหมด มีกินได้เรื่อยๆ

ขยายความ – สุภาษิต ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน โบราณท่านใช้เป็ยบทสอนใจให้เราเป็นคนที่ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่การงานและการกระทำทั่งหมด ไม่ให้มีนิสัยคดโกงผู้อื่น โดยสอนเปรียบเทียบไว้ว่าคนซื้อสัตย์นั้นสามารถทำงานหรือทำมาหากินได้เรื่อยๆ ไม่มีวันหมด ในขณะที่คนคดโกงนั้น เมื่อโดนจับได้ก็จะต้องรับผลกรรม หมดหน้าที่การงานในทันที

ที่มา – พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

-------------- advertisements --------------

-------------- advertisements --------------

Comments

"สำนวนและสุภาษิต" เมื่อได้ลองอ่านแล้ว บางคนอาจแยกไม่ออกซึ่งทั้งสองสิ่งนี้มีความแตกต่างกันในแง่ของลักษณะการเขียน แต่มีความหมายในเชิงสอนใจเช่นกัน ผู้คนมักจะหยิบยกสำนวนเหล่านี้ขึ้นมาเพื่ออบรมสั่งสอนลูกหลานหรือเพื่อเตือนใจ

สำนวนไทยคืออะไร ?

สำนวนไทย คือ ถ้อยคำหรือข้อความเชิงอุปมาอุปมัยโดยมีนัยแฝงอยู่อย่างลึกซึ้ง มีความหมายไม่ตรงตามตัว จะเป็นการพูดเชิงเปรียบเทียบ เชิงสั่งสอน และมักจะไม่แปลความหมายตรง ๆ ซึ่งผู้อ่านต้องตีความ

สุภาษิตคืออะไร ?

สุภาษิต หมายถึง คำพูดที่พูดออกมา ไม่ว่าจะเป็นทำนอง สำนวนโวหาร หรือคำพังเพย แต่มีเนื้อความหรือความหมายที่ดี เป็นคำตักเตือนสั่งสอนและสะกิดใจให้ระลึกถึงอยู่เสมอ

สำนวนและสุภาษิต ถือเป็นคำเปรียบเปรยที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อบอกเล่า เตือนใจ สร้างทัศนคติใหม่ และยังแฝงข้อคิดดี ๆ เพื่อนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มาดู "9 สำนวน สุภาษิตไทย" ชวนฉุกให้คิดก่อนลงมือทำ

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน คํากล่าวนี้มุ่งหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนอย่างไร

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน

หมายถึง การทำดีไม่ต้องคอยระแวงใคร แต่หากคดโกง ไม่สุจริต ไม่ซื่อตรง สักวันอาจจะเดือดร้อน เมื่อความจริงเปิดเผย มักใช้เชิงสั่งสอนให้คนมั่นแต่ทำความดี ซื่อสัตย์ ไม่คิดคดโกงใคร

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน คํากล่าวนี้มุ่งหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนอย่างไร

ปลาหมอตายเพราะปาก

หมายถึง การพูดพล่อย ๆ ไปเรื่อยโดยไม่ยั้งคิด สุดท้ายตนเอง ก็ได้รับอันตรายจากคำพูดนั้น เป็นสำนวน สุภาษิตเชิงสั่งสอนให้ฉุกคิดก่อนพูด ไม่ควรพูดเรื่องที่อาจจะนำภัยสู่ตัวในภายหลัง

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน คํากล่าวนี้มุ่งหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนอย่างไร

แกว่งเท้าหาเสี้ยน

หมายถึง คนที่เข้าไปยุ่งเรื่องของคนอื่น จนทำให้ตัวเองได้รับความเดือนร้อน มักใช้ตักเตือนให้คิดว่าไม่ควรเป็นยุ่ง ข้องเกี่ยวกับเรื่องของผู้อื่นโดยไม่จำเป็นเพราะอาจนำภัยมาสู่ตนได้เช่นกัน

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน คํากล่าวนี้มุ่งหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนอย่างไร

ขว้างงูไม่พ้นคอ

หมายถึงผู้นั้นมีปัญหาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง พยายามจะปัดปัญหาให้พ้นจากตัว แต่แล้วก็ไม่สามารถปัดความรับผิดชอบไปได้ ต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานั้นอยู่ดี ที่มาของสํานวน เปรียบเหมือนกับการขว้างงูออกไปจากตัว แต่เนื่องจากงูตัวยาวจึงยังใช้หางรัดคอผู้ขว้างไว้อยู่ดี ผู้ขว้างจึงไม่สามารถขว้างงูให้พ้นจากตนเองได้

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน คํากล่าวนี้มุ่งหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนอย่างไร

ฟ้าไม่กระเทือนสันหลัง

หมายถึง อํานาจเบื้องบนหรือผู้ปกครองยังไม่ลงโทษทัณฑ์ ใช้ในสํานวนว่า ถ้าฟ้าไม่กระเทือนสันหลังก็ยังไม่รู้สึก. มักใช้เปรียบเทียบกับคนที่ดื้อด้าน หัวรั้น ต้องโดนลงโทษก่อนถึงจะสำนึกได้

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน คํากล่าวนี้มุ่งหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนอย่างไร

ยาวบั่น สั้นต่อ

หมายถึง รักจะอยู่ด้วยกันนาน ๆ ให้ตัดความคิดอาฆาตพยาบาท รักจะอยู่ด้วยกันสั้น ๆ ให้คิดอาฆาตพยาบาทเข้าไว้ เป็นการเปรียบเปรยถึงความสัมพันธ์ หากต้องการที่จะรักกันให้นานนั้นให้ทำการบั่น ทำความดีต่อกันเพื่อความสัมพันธ์ระยะยาว ซึ่งหมายถึงการตัดความคิด อาฆาตพยาบาท ความไม่หวังดีออกไป สั้นให้ต่อนั้น หมายถึงการ ต่อความคิด อาฆาตพยาบาท ความไม่หวังดี หรือสิ่งที่จะมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ ซึ่งจะเป็นการทำลายความสัมพันธ์ให้สิ้นสุดลงเร็วมากยิ่งขึ้น

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน คํากล่าวนี้มุ่งหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนอย่างไร

วัวใครเข้าคอกคนนั้น

หมายถึง กรรมที่ใครสร้างไว้ ย่อมส่งผลให้แก่ผู้นั้นดุจวัวที่กลับเข้าคอกของมันเอง. หรือ กรรมใดใครก่อ กรรมนั้นคืนสนองใครที่ทำกรรมอะไรไว้ย่อมด้รับผลกรรมจากการกระทำที่ตัวเองได้ทำไว้ ไม่ช้าก็เร็ว

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน คํากล่าวนี้มุ่งหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนอย่างไร

สุกเอาเผากิน

หมายถึง ทำแค่ให้เสร็จ ๆ ให้พ้น ๆ ไป ทำอย่างลวก ๆ โดยไม่ได้คำนึงถึงผลที่ออกมาว่าดีหรือไม่

ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน คํากล่าวนี้มุ่งหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบัติตนอย่างไร

คนล้มอย่าข้าม

หมายถึง ไม่ควรไปดูถูกคนที่ตกต่ำ ล้มเหลว ผิดพลาด หรือกำลังลำบากในชีวิต ไม่ควรไปดูถูกหรือเหยียบหยามเขา เนื่องจากในภายภาคหน้าเขาอาจจะกอบกู้ฐานะเดิมกลับมาได้อีกครั้ง

รู้จักสำนวนและสุภาษิต แล้วอย่าลืมนำไปปรับใช้ หรือเตือนสติก่อนตัดสินใจทำ เพื่อให้ทุกวันเป็นวันที่ดี

เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง

  • 5 คติสอนใจจากนิทานอีสป
  • นิทานนำทาง ด้วยกาลครั้งหนึ่ง...ที่ไม่เคยนานมาแล้ว
  • 3 สิ่งที่คุณ(อาจ)ไม่เคยรู้เกี่ยวกับApollo 11