ข้อสอบ มนุษย์กับสังคม พร้อมเฉลย

นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ได้ที่นี้

1. ข้อใด ไม่ใช่ คุณค่าของจิตสาธารณะต่อตนเอง


2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์ส่งผลต่อสังคมอย่างไร


3. บุคคลในข้อใดคือบุคคลที่มีจิตสาธารณะ


4. ค่านิยมในข้อใดที่คนในสังคมไทยควรยึดถือมากที่สุด


5. จิตสาธารณะมีความสำคัญต่อสังคมอย่างไร ?


6. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการจัดระเบียบทางสังคม


7. สถาบันใดเป็นพื้นฐานสำคัญของอำนาจรัฐ


8. ข้อใดกล่าวถึงหน้าที่ของสถาบันการศึกษาได้ถูกต้อง


9. ตัวแทนของการขัดเกลาทางสังคมข้อใดที่มีอิทธิพลต่อเด็กวัยรุ่นมากที่สุด


10. เหตุการณ์ในข้อใดเป็นการขัดเกลาทางสังคมทางตรง


ชื่อ-นามสกุล :ชั้น :เลขที่ :ได้คะแนน :คิดเป็น :ผลการสอบ :

ข้อสอบ มนุษย์กับสังคม พร้อมเฉลย
ข้อสอบ มนุษย์กับสังคม พร้อมเฉลย

มนุษย์กับสังคม

Uploaded by

anon-476815

75%(4)75% found this document useful (4 votes)

18K views10 pages

Document Information

click to expand document information

Copyright

© Attribution Non-Commercial (BY-NC)

Available Formats

DOC, PDF, TXT or read online from Scribd

Share this document

Share or Embed Document

Sharing Options

  • Share with Email, opens mail client

    Email

Did you find this document useful?

75%75% found this document useful, Mark this document as useful

25%25% found this document not useful, Mark this document as not useful

Is this content inappropriate?

Download now

SaveSave มนุษย์กับสังคม For Later

75%(4)75% found this document useful (4 votes)

18K views10 pages

มนุษย์กับสังคม

Uploaded by

anon-476815

SaveSave มนุษย์กับสังคม For Later

75%75% found this document useful, Mark this document as useful

25%25% found this document not useful, Mark this document as not useful

Embed

Share

Print

Download now

Jump to Page

You are on page 1of 10

Search inside document

You're Reading a Free Preview
Pages 5 to 9 are not shown in this preview.

Reward Your Curiosity

Everything you want to read.

Anytime. Anywhere. Any device.

No Commitment. Cancel anytime.

ข้อสอบ มนุษย์กับสังคม พร้อมเฉลย

Share this document

Share or Embed Document

Sharing Options

  • Share with Email, opens mail client

มนุษย์เป็นสัตว์สังคม ที่ต้องอยู่ร่วมกัน พึ่งพาอาศัยกัน ส่วนสัตว์โลกจะต้องดำรงชีวิตอยู่อย่างลำพัง
ลักษณะเด่นของมนุษย์ที่แตกต่างจากสัตว์
  1. มีร่างกายตั้งตรงกับพื้นโลก
  2. มีสมองขนาดใหญ่มีประสิทธิภาพ
  3. มีนิ้วมือนิ้วเท้าแยกออกจากกัน
  4. มีระยะเวลาในวัยเด้กยาวนาน
  5. มีวัฒนธรรม สามารถพูด ใช้สัญลักษณ์ได้

ความต้องการของมนุษย์

อับราฮัม มาสโลว์ (ค.ศ.1908-1970) ชาวอเมริกันกล่าวถึง ความต้องการของมนุษย์ 5 ขั้นได้แก่

นักสังคมวิทยาสรุปความต้องการของมนุษย์ไว้ดังนี้
  1. ความต้องการด้านชีวภาพและกายภาพ
  2. ความต้องการด้านจิตใจ
  3. ความต้องการด้ายสังคม
ปัจจัยที่ทำให้มนุูษย์ต้องอยู่ร่วมกันเป็นสังคม
  1. เพื่อสนองความต้องการ 5 ขั้น
  2. เพื่อสรา้งสรรค์วัฒนธรรม
  3. เพื่อสรา้งความก้าวหน้าให้ตนเองและสังคม
สังคมมนุษย์
ความหมาย  กลุ่มคนขนาดใหญ่ ที่อาศัยอยู่ร่วมกันในดินแดนแห่งใดแห่งหนึ่งที่สามารถพึ่งพาตนเองได้
ลักษณะของสังคมมนุษย์
  1. รวมตัวกันอย่างมีวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง
  2. อยู่เป็นหลักแหล่ง ดำรงชีวิตได้ด้วยตนเอง
  3. มีวิถีชีวิตที่เรียกว่า "วัฒนธรรม" ในลักษณะเดียวกัน
  4. มีอำนาจเหนือกลุ่มเล็กที่อยู่ในอาณาเตของตนเอง
  1. กำหนดระเบียบแบบแผน เพื่อให้คนใน สังคมได้ใช้เป็นวิถีชีวิตร่วมกัน เช่น กำหนดว่า ใครมีตำแหน่งหน้าที่อะไร มีกฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่จะต้องปฏิบัติ หรือห้ามไม่ให้ปฏิบัติ 
  2. จัดให้มีการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) เพื่อให้ผู้คนปฏิบัติตนได้ถูกต้องเป็นไปตามบรรทัดฐานของสังคม จะได้อยู่รวมกันได้ด้วยดี
  3.  สร้างวัฒนธรรมและพัฒนาวัฒนธรรมของสังคมทั้งในด้านวัตถุ (Material Culture)และวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (Non – material Culture)
  4. ผลิตสมาชิกใหม่ทดแทนสมาชิกเดิมที่ล้มหายไป เพื่อให้สังคมดำรงอยู่ต่อไป
  5. ผลิต แจกแจงสินค้าและบริการ เพื่อสนองความต้องการของผู้คนในสังคม
  6. ให้บริการและสวัสดิการแก่สมาชิกในสังคม เช่น บริการทางด้านสุขภาพอนามัยบริการเกี่ยวกับสาธารณูปโภค สวัสดิการในการเลี้ยงดูผู้ที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ รวมทั้งการรักษาความปลอดภัย การรักษาความสงบภายในและป้องกันภัยจากภายนอกสังคมควบคุมสังคม เพื่อให้ดำเนินไปตามบรรทัดฐานของสังคมและจะได้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
  7. จัดให้มีการติดต่อสื่อสาร เพื่อความเข้าใจตรงกัน สามารถถ่ายทอดความคิดติดต่อซึ่งกันและกันได้ทั้งภายใน และกับกลุ่มสังคมอื่น ซึ่งช่วยให้สังคมมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและก่อให้เกิดความเจริญก้าว หน้า
เช่นวัฒนธรรมของมนุษย์
ความหมาย  วิถิชีวิต หรือ แบบลักษณะของพฤติกรรมในสังคม ที่สมาชิกในสังคมได้ประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา แนวทางความคิดสรา้งสรรค์ในเรื่องเกี่ยวับความเชื่อ ความรู้สึก สิงประดิษฐ์ ความเจริญงอกงาม
ปัจจัยที่ทำให้มนุษย์มีวัฒนธรรม
  1. มีสติปัญญากว่าสัตว์อื่น
  2. มีภาษษเป็นเครื่องมือสื่อสาร
  3. มีการอยู่ร่วมกันเป็นสังคมเพื่อสร้างสรรค์
ลักษณะของวัฒนธรรม
  1. เป็นแบบแผนการดำเนินชีวิต
  2. สามารถเรียนรู้และถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นต่อไป
  3. เป็นมรดกทางสังคม ด้านวัฒนธรรม
  4. เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
 ประเภทของวัฒนธรรม
  1. วัฒนธรรมทางวัตถุ เป็นรูปธรรม  เช่น สิ่งประดิษฐ์เป็นวัตถุ
  2. วัฒนธรรมทางจิตใจ ได้แก่ คติธรรม เช่น ความเชื่อ ปรัชญา ประเพณี เนติกรรม เช่น กฏ ระเบียบ วิธีการ สหกรรม เช่น มารยาทในสังคม
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
  1. มติ             ความรู้ ความคิดเห็น ความเชื่อ คำนิยม อุดมการณ์
  2. พิธีการ        การปฏิบัติ ธรรมเนียม ประเพณี
  3. องค์การ      ลักษณะของการอยู่ร่วมกันอย่างมีวัตถุประสงค์
  4. วัตถุ           เครื่องมือที่มีรูปร่าง สัมผัสได้ รวมทั้งภาษา และสัณลักษณ์
ความสำคัญทางวัฒนธรรม
  1. ช่วยมนุย์สามารถแก้ปัญหาได้
  2. ช่วยให้มนุษย์สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
  3. ช่วยสร้างสรรค์ความรักความสามัคคี
  4. ช่วยสร้างสรรค์ให้สังคมเจริญก้าวหน้า
  5. ช่วยสร้างสรรค์เอกลักษณ์ของสังคม
  6. ช่วยสร้างสรรค์มรดกทางสังคม
ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและวัฒนธรรม
  • สังคม หมายถึง กลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม มีแบบแผน ในการดำเนินชีวิตร่วมกัน ที่กำหนดไว้เป็นแบบแผนเพื่อประโยชน์ของกลุ่มสังคม
  • วัฒนธรรม เป็นเครื่องกำหนดวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในสังคม รู้จักปฏิบัติต่อเพื่อนมนุษย์ในสังคมเพื่ออยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
ดังนั้น  สังคมจึงต้องมีวัฒนธรรม กล่าวคือ มนุษย์สร้างวัฒนธรรม วัฒนธรรมสร้างสังคม ถ้าไม่มีวัฒนธรรมจะไม่มีสังคม สังจะจเริญก้าวหน้าได้ ขึ้นอยู่กับคุณภาพของวัฒนธรรมในสังคมนั้น

กลุ่มสังคมและสถาบันสังคม

 1. ความหมาย
          สังคม คือ คนจำนวนหน่ง ที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันเป็นระบบกฏเกณฑ์โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน
 2. องค์ประกอบทางสังคม
         2.1 สมาชิกทุกเพศ ทุกวัยในสังคม
         2.2 ความสัมพันธ์ของสมาชิกในสังคม
         2.3 มีสถานที่ตั้ง ที่อยู่แน่นอน
         2.4 มีวัฒนธรรมเป็นแนวปฏิบัติร่วมกัน
  3. โครงสร้างทางสังคม
         3.1 ความหมาย
             โครงสร้างทางสังคม หมายถึง รูปแบบของความสัมพันธ์ที่มีบันทัดฐานเป็นแนวทางให้คนในสังคมยึดถือปฏิบัติ เพื่อความสงบสุขและมั่นคงถาวรของสังคม
         3.2 ลักษณะโครงสร้างทางสังคม

  1. มีกลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์ต่อกัน
  2. มีกฏเกณฑ์แบบแผนของการติดต่อสัมพันธ์กัน
  3. มีวัตถุประสงค์ในการติดต่อสัมพันธ์กัน
  4. มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีแบบแผน
          3.3 กลุ่มคน
                กลุ่มคน หมายถึง การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ได้ติดต่อสัมพันธ์กันทางสังคมและอยู่ร่วมกันในสถานที่แห่งหนึ่งระยะเวลานานพอสมควร มีการตอบสนอง และการถ่ายทอดแนวความคิดที่เข้าใจร่วมกัน เพื่อจุดหมายเดียวกัน

                ประเภทของกลุ่ม

  1. กลุ่มทางสถิติ                 แบ่งตามกลุ่มอายุ กลุ่มระดับการศึกษา
  2. กลุ่มพวกเดียวกัน            กลุ่มชาวเหนือ กลุ่มจังหวัด
  3. กลุ่มสังคม                    กลุ่มเพื่อนร่วมห้อง กลุ่มเพื่อร่วมงาน
  4. กลุ่มสมาคม                  กลุ่มที่มีเป้าหมายวัตถุประสงค์เดียวกัน
  5. กลุ่มประฐมภูมิ               กลุ่มใกล้ชิดสนิทกัน เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน
  6. กลุ่มทุติยภูมิ                  กลุ่มสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ เช่น ตัวแทนระหว่างหน่วยงาน
  7. กลุ่มพวกเรา                  สมาชิกกลุ่มเดียวกัน
  8. กลุ่มพวกเขา                  สมาชิกต่างกลุ่ม
  9. กลุ่มระดับเดียวกัน           กลุ่มครู กลุ่มนักเรียน กลุ่มแพทย์
  10. กลุ่มหลายระดับ              สมาชิกห้างสรรพสินค้า สมาชิกสหกรณ์