วิธีดูแล ตัว เอง เมื่อ เป็นไทรอยด์

เกิดจาก ภาวะที่ปิตตะ หรือธาตุไฟในร่างกายทำงานผิดปกติ หรือเสียสมดุลไป ส่งผลให้มีอาการหงุดหงิดง่าย ขี้ร้อน อารมณ์แปรปรวน เหงื่อออกง่าย ระบบการเผาผลาญทำงานได้ดี จนทำให้น้ำหนักลดลงเร็วมีอาการซูบผอม ธาตุลมกำเริบ ทำให้มีอาการใจสั่น ถ่ายเหลวบ่อย ปวดศีรษะ มึนหัว คลื่นไส้ ธาตุน้ำไม่สมดุล จะทำให้มีอาการนอนหลับไม่สนิท อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น หากปล่อยไว้นานไม่รีบรักษา จะก่อให้เกิดอาการคอพอกเป็นก้อนบวม และโตขึ้นได้ 

Show

วิธีการรักษาไทรอยด์เป็นพิษในทางการแพทย์แผนปัจจุบัน จะให้กินยากดการหลั่งฮอร์โมนไทรอยด์, กลืนแร่, ผ่าตัดต่อมไทรอยด์ทิ้ง ส่วนในทางการแพทย์แผนไทยจะใช้วิธีรักษาด้วยสมุนไพรร่วมกับการให้คนไข้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ โดยมุ่งรักษาที่ต้นเหตุของโรคเป็นหลัก 

หลักการรักษาโรคไทรอยด์ ในทางการแพทย์แผนไทย


1. จ่ายยาสมุนไพรที่มีฤทธิ์สุขุมร้อน

เพื่อปรับสมดุลของปิตตะสมุฏฐาน ให้ทำงานอย่างสมดุล ลดอาการที่เกิดการเสียสมดุลของธาตุต่าง ๆ 

2. จ่ายยาสมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็น

เพื่อแก้พิษร้อนในร่างกาย ลดความร้อน บำรุงหัวใจ แก้อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย

3. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่จะทำให้อาการไทรอยด์เป็นมากขึ้น

สำหรับผู้ที่เป็นไทรอยด์การรับประทานอาหารและการติดตามผลเลือดตลอดการรักษาเป็นสิ่งที่สำคัญมากจะเป็นที่จะต้องดูแลสุขภาพสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ค่าไทรอยด์และอาการที่เกิดขึ้นลดลง จนกลับมาเป็นปกติ


1. ใบย่านาง และใบเตย

นำใบสดๆ มาคั้นแล้วดื่มทันที ช่วยลดความร้อนในร่างกายได้

2. ขมิ้นชัน

ช่วยให้ระบบย่อยอาหารดีขึ้น และยังช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย 

3. ขิง 

ในส่วนดอกขิง ช่วยในการย่อยอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในส่วนเหง้า  ช่วยย่อยอาหาร และป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ลดอาการจุกเสียด และแก้ร้อนใน

4. ฟ้าทะลายโจร

ในส่วนต้นของฟ้าทะลายโจร นำมาใช้แก้โรคระบบทางเดินอาหารอักเสบ ลดไข้ แก้ทอนซิลอักเสบ โดยนำต้นฟ้าทะลายโจร มาต้มกับน้ำและนำไปดื่ม

วิธีดูแล ตัว เอง เมื่อ เป็นไทรอยด์

5. บอระเพ็ด

ช่วยลดไข้ แก้ร้อนในกระหายน้ำ และลดความร้อนในร่างกาย 

6. มะระขี้นก  

ช่วยลดไข้ เป็นยาระบายอ่อนๆ ขับพยาธิ บำรุงน้ำดี แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ขับลม 

วิธีดูแล ตัว เอง เมื่อ เป็นไทรอยด์

นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรอื่นๆ อีกมากมายที่ช่วยรักษาอาการไทรอยด์เป็นพิษได้ แต่เราควรตระหนักไว้เสมอว่า "สมุนไพรทุกชนิดเปรียบเสมือนดาบ 2 คม มีทั้งคุณและโทษ แนะนำให้ศึกษาอย่างละเอียดก่อนรับประทาน หรือปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านยาสมุนไพรเพื่อรับคำแนะนำที่ดีที่สุด"  

อีกประการหนึ่ง ที่ควรตระหนักไว้เช่นกันคือการทานยาสมุนไพรให้ได้ผลการรักษาที่ดีนั้น ตามหลักการแพทย์แผนไทยท่านกล่าวไว้ว่าจะต้องเป็นยาตำรับ (คือยาสมุนไพรตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป บางตำรับมีมากถึง 30 ชนิด ยิ่งมากยิ่งดี เพื่อให้ตัวช่วยเสริมฤทธิ์กันรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ)

ตำรับยาสมุนไพรรักษาไทรอยด์เป็นพิษ ของปุณรดา ยาไทย 


วิธีดูแล ตัว เอง เมื่อ เป็นไทรอยด์


รากเหมือดคน, รากมะปราง, รากมะนาว, เปราะหอม, โกศหัวบัว, จันทน์เทศ, จันทน์แดง, ฝางเสน, เกสรบัวหลวง, ดอกบุนนาค, ดอกสารภี, ดอกมะลิ, สะค้าน,รากช้าพลู,ขิง,ดีปลี, รากเจตมูลเพลิงแดง,ลูกผักชีลา,โกฐสอ,โกฐเขมา,โกฐก้านพร้าว,โกฐพุงปลา,โกฐจุฬาลัมพา,โกฐเชียง,โกฐกักกรา,โกฐน้ำเต้า,โกฐกระดูก,เทียนดำ,เทียนขาว,เทียนดำ, เทียนข้าวเปลือก,เทียนเยาวพาณี, จันทน์แดง,จันทน์เทศ,เถามวกแดง,เถามวกขาว,รากย่านาง,เปลือกชะลูด,อบเชย, เปลือกสมุลแว้ง,กฤษณา,กระลำพัก,บอระเพ็ด, ลูกกระดอม,กำยาน,ขอนดอก,ลูกจันทน์,ดอกจันทน์,ลูกกระวาน,กานพลู,ลำพันแดง,ดอกสารภี,ดอกพิกุล,ดอกบุนนาค,ดอกจำปา, ดอกกระดังงา,ดอกมะลิ,ดอกคำไทย,ฝางเสน,ดีวัว,พิมเสนและตัวยาสำคัญอื่นๆ


1. ช่วยให้ผู้ที่มีภาวะไทรอยด์ที่ทำงานผิดปกติ หิวข้าวน้อยลง ทุรนทุรายน้อยลง

2. ช่วยลดอุณหภูมิในร่างกาย แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้อาการกระสับกระส่าย

3. ช่วยรักษาเกล็ดเลือด แก้ปัญหาเกล็ดเลือดต่ำ บำรุงระบบเลือด

4. ช่วยดูแลระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายให้ทำงานได้ดี ส่งผลให้ต่อมไทรอยด์กลับมาทำงานได้เป็นปกติ

5. แก้อาการหงุดหงิด โมโหง่าย แก้อาการใจสั่น เหนื่อยง่าย

6. แก้อาการโลหิต เจือด้วยลมพิษ (ซึ่งเป็นอาการของโลหิตจาง)

7. ช่วยบำรุงหัวใจ ปอด ตับ และไต บำรุงกำลัง ช่วยอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ให้ดีขึ้นจนกลับมาเป็นปกติ

8. รักษาอาการตัวบวม คอบวม ที่เกิดจากความร้อนภายในร่างกาย

9. ทำให้ร่างกายรู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า ไม่อ่อนเพลีย

10. ช่วยปรับการไหลเวียนของเลือดและลมภายใน ช่วยปรับระดับความดันในเส้นเลือด

*** ราคา 2,350 บาท พร้อมส่ง EMS ฟรี ทั่วประเทศไทย!!!

สั่งซื้อสินค้าโปรโมชั่นพิเศษติดต่อ 086-955-6366, 091-546-9415

วิธีดูแล ตัว เอง เมื่อ เป็นไทรอยด์

วิธีดูแลสุขภาพ สำหรับผู้ที่มีภาวะไทรอยด์เป็นพิษ/ ไทรอยด์ต่ำ


1. ตรวจวัดระดับฮอร์โมนไทรอยด์อย่างสม่ำเสมอ เพื่อตรวจวัดและประเมินการรักษาอย่างเหมาะสม

2. คอยสังเกตอาการที่เปลี่ยนแปลงของร่างกาย เช่น ตาบวม คอบวม รู้สึกร้อนง่าย

3. หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหนัก หรือออกแรงเยอะ เพราะจะทำให้อ่อนล้า หัวใจทำงานหนัก

4. ควบคุมกลุ่มยาบางชนิดที่มีผลขัดขวางการดูดซึมของยาไทรอยด์ เช่น ยาลดกรด วิตามินรวม

5. หลีกเลี่ยงการทานผักบางชนิดที่มีผลยับยั้งการจับไอโอดีนของต่อมไทรอยด์ ทำให้เกิดอาการคอพอกได้ เช่น กะหล่ำปลี บร็อกโคลี่ คะน้า กระเทียม หอม

6. หลีกเลี่ยงการทานอาหารที่มีไอโอดีน สังกะสี และซีลีเนียมสูง เช่น อาหารทะเล เครื่องใน ถั่วเหลือง เห็ด และผลไม้ที่ไทรอยด์เป็นพิษห้ามทาน เพราะส่งผลให้ผู้ที่เป็นไทรอยด์เป็นพิษ มีค่าฮอร์โมนเพิ่มสูงขึ้น

สามารถปรึกษากับพวกเรา Poonrada Yathai ได้เสมอนะคะ (ปรึกษาฟรีไม่มีค่าใช้จ่ายค่ะ)
LINE ID: @Poonrada
TEL: 086-955-6366, 091-546-9415


ทีมแพทย์แผนไทยปุณรดา

วิธีดูแล ตัว เอง เมื่อ เป็นไทรอยด์

ผู้เชี่ยวชาญด้านสมุนไพร

"สมุนไพร คือ ของขวัญจากธรรมชาติ เราจึงตั้งใจมอบสมุนไพรที่ดีที่สุด ให้ถึงมือคุณ"

วิธีดูแล ตัว เอง เมื่อ เป็นไทรอยด์

วิธีดูแล ตัว เอง เมื่อ เป็นไทรอยด์

วิธีดูแล ตัว เอง เมื่อ เป็นไทรอยด์


ปุณรดา ยาไทยแพทย์แผนไทยที่อยู่ใกล้คุณที่สุด

ท่านจะได้รับทราบโปรโมชั่นพิเศษก่อนใครทาง [email protected] พร้อมบริการปรึกษาแพทย์ออนไลน์แบบส่วนตัวฟรี ทุกวันตั้งแต่เวลา 10.00-20.00 น.

ดูแลตัวเองอย่างไรเมื่อเป็นไทรอยด์

วิธีการดูแลตัวเองหากไทรอยด์เป็นพิษ ผู้ป่วยควรพบแพทย์ตามนัดเพื่อตรวจติดตามอาการ และรับประทานยาสม่ำเสมอ ไม่หยุดยาเอง งดสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไอโอดีนสูง วางแผนการคุมกำเนิดอย่างจริงจังและไม่ควรตั้งครรภ์ขณะมีอาการ เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดกับแม่และทารก หากมีอาการผิดปกติหรืออาการกำเริบต้องรีบพบแพทย์โดยเร็ว

ไทรอยด์สามารถหายได้ไหม

สรุป การรักษาไทรอยด์เป็นพิษ ส่วนใหญ่สามารถรักษาให้หายได้ด้วยการกินยา หากกินยาไม่หาย อาจรักษาด้วยการผ่าตัด หรือ การใช้สารรังสี อย่างไรก็ดี การเลือกวิธีการรักษาว่าวิธีไหนเหมาะสม จะต้องใช้วิจารณญาณของแพทย์เลือกให้เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละรายครับ ในรายที่ทำได้หลายอย่าง จะเป็นการตัดสินใจร่วมกันของแพทย์และผู้ป่วยครับ

ไทรอยด์เป็นพิษกับไทรอยด์ต่างกันยังไง

ไทรอยด์เป็นพิษและภาวะขาดไทรอยด์เกิดจากความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ และส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมของผู้ป่วยได้เหมือนกัน เพียงแต่ภาวะไทรอยด์เป็นพิษทำให้มีฮอร์โมนไทรอยด์มากเกินไป ส่วนอีกภาวะขาดไทรอยด์ทำให้มีฮอร์โมนไทรอยด์น้อยเกินไป แต่หลายคนอาจยังสับสนว่าทั้ง 2 ภาวะนี้แตกต่างกันอย่างไร มีวิธีรักษาและป้องกันเหมือนกันหรือไม่ ...

ไทรอยด์เป็นพิษสามารถติดต่อกันได้ไหม

สธ.แจง "ไทรอยด์เป็นพิษระบาด" ทำผู้ต้องขังพิษณุโลกดับ 4 ป่วยอีก 20 กว่าราย ไม่ได้เป็นโรคติดต่อจากคนสู่คน แต่ใช้คำว่าระบาดเพราะมีผู้ป่วยจำนวนมาก แม้ไม่ใช่โรคติดต่อก็ตาม คาดเกิดจากการกินอาหารมีเครื่องในสัตว์มากเกินไป ทำให้ฮอน์โมนไทรอยด์ในเลือดสูงขึ้นจนเกิดอาการหัวใจเต้นเร็ว โพแทสเซียมต่ำ อ่อนแรงจนเสียชีวิต