อ่านหนังสือ ยัง ไง ให้มีประสิทธิภาพ

สิ่งที่ทำให้การสอบมีผลออกมาเป็นที่น่าพึงพอใจคือการอ่านหนังสือ โดยการอ่านหนังสือต้องอ่านอย่างมีเทคนิคชั้นเชิงเพราะหากอ่านอย่างมีเทคนิค จะทำให้คุณจดจำและเข้าใจเรื่องที่อ่านได้มากกว่าการอ่านไปเรื่อยโดยไม่มีจุดหมาย และมันจะส่งผลให้คะแนนสอบของคุณดีขึ้นมากเช่นกัน  โดยเทคนิคการอ่านสามารถทำได้ดังนี้

อ่านหนังสือ ยัง ไง ให้มีประสิทธิภาพ

1. เพิ่มเวลาในการอ่านหนังสือมากขึ้นในช่วงสอบ

หากช่วงปกติคุณใช้เวลาอ่านหนังสือเป็นเลา 30 นาที ตอนช่วงสอบคุณต้องอ่านหนังสือเพิ่มเป็น 1 ชั่วโมงขึ้นไปและควรอ่านหนังสือก่อนเดือนเป็นเวลาหนึ่งเดือนเพื่อสร้างความเคยชินในกับสมอง

2. ไม่เคร่งเครียดกับการอ่านมากไป

เพราะหากคุณเครียดกับการอ่านมากไปจะส่งผลให้สมองเมื่อยล้าและไม่อยากจดจำ หากเครียดควรหลับ 15 นาที เพื่อเป็นการการพักผ่อนและกระตุ้นร่างกายจากนั้นค่อยตื่นมาอ่านหนังสือต่อ

อ่านหนังสือ ยัง ไง ให้มีประสิทธิภาพ

3. จับประเด็นเนื้อหาที่อ่าน

เมื่ออ่านแล้วควรจับประเด็นสำคัญและหาใจความสำคัญจากเรื่องให้ได้ เพื่อประหยัดเวลาในการอ่านและไม่เสียเวลาไปกับการอ่านในส่วนที่ไม่ออกข้อสอบ

4. อ่านแล้วตั้งคำถามที่น่าจะออกข้อสอบ

เมื่ออ่านจบแล้วคุณควรฝึกตั้งคำถามที่น่าจะออกข้อสอบ วิธีการนี้จะทำให้คุณอ่านหนังสือได้อย่างสนุกมากขึ้นเพราะเป็นการท้าทายในการค้นหาคำตอบ

อ่านหนังสือ ยัง ไง ให้มีประสิทธิภาพ

5. จับกลุ่มติวกับเพื่อน

หากคุณกำลังศึกษาระดับมหาวิทยาลัยการจับกลุ่มติวกับเพื่อนเป็นสิ่งสำคัญมาก เพราะคุณอาจจะได้ทราบเนื้อหาของบทเรียนต่างๆมากขึ้นทำให้ส่งผลดีการทำข้อสอบของคุณ และนอกจากนี้เพื่อนยังสามารถช่วยติวให้คุณในวิชาที่คุณไม่เข้าใจอีกด้วย  และคุณก็สามารถติวให้เพื่อนให้วิชาที่ถนัดได้เพื่อเป็นกรทบทวนความรู้โดยวิธีนี้ส่งผลในคุณจำเทคนิคหรือสูตรได้ดีที่สุด

6. อ่านเนื้อหาที่คุณสรุปซ้ำเจ็ดครั้ง

หลังจากได้อ่านหนังสือจับประเด็นสำคัญ และจดสรุปย่อเนื้อหาตามความเข้าใจของตนเองเสร็จแล้ว คุณต้องอ่านเนื้อหาที่คุณจดสรุปซ้ำเจ็ดครั้ง จะทำให้คุณจดจำเนื้อหาที่จะใช้ในการสอบได้อย่างแม่นยำ

การอ่านด้วยวิธีการเหล่านี้จะช่วยให้คุณมีคะแนนสอบดีขึ้นมาอย่างไม่น่าเชื่อเลยทีเดียว

หรือคุณกำลังหมายถึง...

อ่านหนังสือ ยัง ไง ให้มีประสิทธิภาพ

7 เทคนิคจดเลกเชอร์ให้อ่านรู้เรื่อง

FacebookTwitterLine การเข้าเรียนระดับมหาวิทยาลัยไม่มีหนังสือในอ่านทุกวิชาแบบตอนเรียนมัธยม เพราะในระดับมหาวอทยาลัยส่วนมากอาจารย์มักจะเปิดพาวเวอร์พอยและบรรยาประกอบให้นักศึกษาทำความเข้าใจ ดังนั้นการจุดเลกเชอร์จึงมีความสำคัญมากเพราะถ้าหากจดไม่ทันหรือไม่จด ก็จะไม่มีหนังสือหรือเนื้อหาให้ได้อ่านตอนสอบ แต่การจดเลกเชอร์ต้องจดแข๋งกับเวลาทำให้หลายคนจดเลกเชอร์แล้วออกมาอ่านไม่รู้เรื่อง สำหรับใครที่มีปัญหาเรื่องนี้เรามีเทคนิคการเทคนิคจดเลกเชอร์ให้อ่านรู้เรื่องมาแนะนำ ดังนี้ 1. แบ่งเนื้อหาเป็นหัวข้อ เนื้อหาบทเรียนแต่ละวิชานั้นจะมีเนื้อหาที่หลากหลาย ดังนี้ยามจดเลคเชอร์ให้จดแล้วแบ่งรายละเอียดต่างๆเป็นข้อๆ เพราะนอกจากจะอ่านง่ายแล้วยังดูสะอาดและมีระเบียบอีกด้วย 2. จดแบบมายแมพ …

น้องๆ วัยเรียน เคยเป็นมั้ย !?

ตั้งใจอ่านหนังสือแต่ก็ยังจำไม่ได้ ลืมในห้องสอบ หรืออ่านแล้วไม่เข้าใจ

ไม่ว่าจะด้วยสาเหตุอะไรก็ตาม อาทิเช่น มีเวลาอ่านน้อย, ไม่มีสมาธิอ่าน อะไรมารบกวนเวลาอ่านหนังสือ, ไม่รู้จำเริ่มตรงไหนก่อน หรือ ไม่รู้ว่าเนื้อหาส่วนไหนสำคัญบ้าง เป็นต้น

และมักจะตั้งคำถามว่า ทำไมอ่านหนังสือไม่เข้าใจ ทำไมอ่านหนังสือแล้วจำไม่ได้ หรือ ทำยังไงให้ไม่ลืมในห้องสอบ

วันนี้สถาบันเตรียมโดม ได้มี เคล็ดลับวิธีอ่านหนังสือให้จำได้แม่นๆ หรือวิธีอ่านหนังสือแล้วไม่ลืม ที่อยากจะมาบอกต่อให้กับน้องๆ

เผื่อว่า ช่วงก่อนสอบ จะนำไปใช้กันนะ :)

1. อ่านบทสรุปก่อนเป็นอันดับแรก

ในระยะเวลาที่จำกัด เราไม่ควรเริ่มอ่านหนังสือ หน้าแรกๆ ของบท เราไม่จำเป็นต้องรู้บทนำ หรือประวัติของผู้แต่ง จากการอ่าน แต่ในทางกลับกันการอ่านหนังสือให้เข้าใจง่ายขึ้นนั้น ควรเริ่มอ่านจากบทสรุป หรือบทส่งท้ายในช่วงท้ายของหนังสือ เนื่องจากหนังสือส่วนใหญ่จะมีการเขียนอธิบายเนื้อหาอย่างละเอียดยิบ ใช้ประโยคซ้ำๆ เพื่อย้ำให้เข้าใจ

โดยปกติผู้เขียนมักจะสรุปข้อมูลทั้งหมดที่ได้กล่าวมาอีกครั้ง หากเราอ่านบทสรุปก่อน แล้วกลับมาอ่านหน้าแรกอีกครั้งก็ทำให้เราสามารถอ่านได้เข้าใจมากขึ้น และเวลาคุณครูสอนก็จะทำให้เข้าใจเนื้อหาได้ไวขึ้น

2. ใช้ปากกาไฮไลต์เพื่อเน้นใจความสำคัญ

การไฮไลต์นั้น เป็นการบอกกับผู้อ่านว่าสิ่งไหนที่จำเป็นต้องจำ หรือสิ่งไหนไม่จำเป็นต้องจำ เพราะหนังสือมีเนื้อหามากมายให้จำทั้งหมดคงไม่ไหว ดังนั้นเราควรใช้ ปากกาไฮไลต์ เป็นสิ่งที่จะช่วยให้เราจับใจความสำคัญของหนังสือได้ดีขึ้น ไม่ควรไฮไลต์ทุกอย่างในหน้า และไม่ควรไฮไลต์น้อยจนเกินไป สิ่งที่ควรทำคือ การไฮไลต์ข้อความหัวข้อสรุป หรือใจความสำคัญเด่นๆ

เมื่อเราอ่านหนังสือทบทวนอีกครั้ง เราจะเห็นข้อความที่ไฮไลต์ไว้ก่อน หลังจากนั้นเราก็จำนึกเรื่องราว หรือเนื้อให้ในบริบท หรือ หัวข้อนั้นๆ โดยอัตโนมัติ แต่หากไม่จำไม่ได้การอ่านครั้งที่ 2 ก็จะทำให้จำได้แม่น และง่ายมากขึ้น

3. ดูสารบัญและหัวข้อย่อย

การดูสารบัญและหัวข้อย่อย ทำให้เรารู้ใจความสำคัญของสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อ และ ลำดับความสำคัญของเนื้อหาได้มากขึ้น เพราะผู้เขียนมักจะกล่าวถึงประเด็นสำคัญซ้ำ ๆ ในทุกส่วนของหนังสือ

4. ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมประกอบกับเนื้อหาที่อ่าน

         ไม่ควรจำความรู้ทุกอย่างจากการอ่านหนังสือที่คุณครูสั่งเพียงล่มเดียวเท่านั้น ลองเปิดโลกอินเตอร์เน็ตหาข้อมูลเพิ่มดูบ้าง หรือหาหนังสือเล่มอื่นๆ ในห้องสมุด ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียนมาอ่านดู

ซึ่งหนังสือที่เขียนในเรื่องเดียวกัน แต่ผู้เขียนเป็นคนละคนกัน บางเล่มอ่านเนื้อหาแล้วเข้าใจง่ายกว่าหนังสือเล่มแรก, อาจมีภาพประกอบเพิ่มขึ้นมา, มีตัวอย่างที่หลากหลาย และ สรุปแบบอ่านแล้วเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งจริง ๆ เนื้อหาก็เป็นเรื่องเดียวกัน

5. ห้าม! อ่านทุกคำ

คนส่วนใหญ่เข้าใจว่า "การอ่านหนังสือทุกคำ" จะช่วยให้จดจำข้อมูลได้อย่างละเอียดมากขึ้น แต่จริงๆแล้วเป็นวิธีที่ ผิด! เพราะสมองจะได้รับข้อมูลมากเกินไป ทำให้เบื่อง่าย ปวดหัวจากความล้าของสมอง ตาลอยอ่านหนังสือแบบเร่งให้จบๆ ทำให้เนื้อหาไม่เข้าหัว เพราะผู้เขียนส่วนมาก ต้องการที่จะเน้นอธิบายให้เข้าใจ

แต่ใจความสำคัญจริงๆ จะอยู่ที่บทสรุปช่วงท้าย หนังสือส่วนใหญ่ใส่ข้อมูล หลักฐานจนแน่น ซึ่งก็เป็นเรื่องดี และน่าสนใจ แต่ทุกหลักฐานที่อ้างนั้นก็กล่าวถึงประเด็นเดียว การอ่านเพิ่มเติมก็เป็นการย้ำถึงประเด็นเดิม ดังนั้นควรเลือกอ่านอันที่น่าสนใจที่สุดเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องอ่านให้ครบ แล้วอ่านบทต่อไปดีกว่า

6. เขียนสรุปมุมมองของผู้อ่าน

คนส่วนมากจะไม่ชอบการเขียน แต่การเขียนนั้นเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด ในการรวบรวมข้อมูลสำคัญในระยะเวลาอันสั้น หากเป็นไปได้ให้เขียนใจความสำคัญในแบบฉบับของเราใน 1 หน้ากระดาษ โดยพูดถึงประเด็นที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อ ยกตัวอย่างสั้น ๆ และคำถามหรือความรู้สึกของเราที่ต้องการการค้นคว้าเพื่อหาคำตอบต่อไปให้ดียิ่งขึ้น

การเขียนสรุปแบบนี้ ช่วยให้เราเข้าใจถึงประเด็นสำคัญของหนังสือ เช่นเดียวกับการไฮไลต์ข้อความ เมื่อใกล้ถึงช่วงสอบ จะเป็นการง่ายกว่าที่เราจะนั่งอ่านสรุปของเรา แทนที่จะพลิกตำราอ่านหนังสือทั้งเล่มเพื่ออ่านทบทวนอีกครั้ง

7. พูดคุยกับเพื่อน หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อน

การจับกลุ่มกัน เพื่อพูดคุย ถึงเนื้อหาของหนังสือที่ต้องอ่าน จะช่วยทบทวน ให้เราจำได้ง่ายขึ้น บางครั้งอาจพูดถึงหนังสือในแง่ตลก ๆ ก็จะทำให้เราจำประเด็นนั้นได้เมื่อเราอยู่ในห้องสอบ เพราะเราจะคิดถึงเรื่องตลกก่อน เป็นการใช้หลักการเชื่อมโยงข้อมูลที่ทำให้สมองของเราทำงานได้ง่ายขึ้น

การพูดคุยเกี่ยวกับหนังสือที่อ่านช่วยทำให้เราได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจากบางส่วนที่เรามองข้ามไป บางคนนั้นชอบเรียนรู้โดยการฟัง และมักจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อได้ยินข้อมูล ดังนั้นการพูดคุย ถกเถียงประเด็นที่อยู่ในหนังสือจะทำให้เราจำประเด็นสำคัญนั้นได้ดีเมื่อได้ฟังผ่านหู ทำให้เราสามารถนึกถึงข้อมูลส่วนนั้นได้เมื่ออยู่ในการสอบ

8. จดคำถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้นระหว่างการอ่าน

อย่าเชื่อว่าผู้เขียน ถูกต้องเสมอไป เมื่ออ่านไปแล้ว ลองตั้งคำถามดู เช่น

•        ทำไมผู้เขียนจึงกล่าวเช่นนั้น?

•        หลักฐานคำอธิบายนี้เป็นจริงหรือ?

•        ประเด็นนี้เกี่ยวข้องกับข้อโต้แย้งของผู้เขียนอย่างไร?

•        ผู้เขียนต้องการสื่อข้อความนี้ให้แก่ใคร?

คำถามไม่จำเป็นต้องยากก็ได้ อาจจะเป็นคำถามง่ายๆ ขึ้นอยู่กับหนังสือที่อ่าน วิธีนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เราอ่านหนังสือและจดจำได้เป็นอย่างดี แต่แน่นอนว่าอาจจะมีวิธีที่หลากหลายกว่านี้ แต่ละวิธีก็อาจให้ผลลัพธ์แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่าใครชอบวิธีการแบบไหนมากกว่า

อ่านหนังสือยังไงให้ได้ผล

5 เคล็ดลับอ่านหนังสือสอบยังไงให้ทันภายในหนึ่งคืน.
อ่านสรุปเนื้อหาสำคัญเท่านั้น ... .
หาอะไรหวานๆ เปรี้ยวๆ กินเพื่อให้ตื่นตัว ... .
ทำตารางอ่านหนังสือเฉพาะกิจ ... .
จดสรุปใส่กระดาษไว้เตือนความจำ ... .
ถ้าอ่อนล้าแล้วต้องนอนทันที.

ทำยังไงให้มีสมาธิในการอ่านหนังสือ

วิธีสร้างสมาธิในการอ่านหนังสือและทำงาน.
หาช่วงเวลาที่ตั้งสมาธิได้ ... .
ปิดแจ้งเตือน เปิดโหมด Do Not Disturb. ... .
แบ่งเวลาการโฟกัสแต่ละอย่าง ... .
เลือกสถานที่ไร้สิ่งรบกวน ... .
เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม ... .
กำหนดรางวัลให้ตัวเองเมื่อทำเสร็จ.

การอ่านหนังสือมีประโยชน์อย่างไร

10 ข้อดีของการอ่านหนังสือทุกวัน!! ... .
1. การอ่านช่วยกระตุ้นการทางานของสมอง ... .
2. การอ่านช่วยเพิ่มทักษะการคิดวิเคราะห์ ... .
3. การอ่านช่วยกระตุ้นความจา ... .
4. การอ่านช่วยทาให้รู้สานวนภาษาและค าศัพท์มากขึ้น ... .
5. การอ่านให้ความรู้ ... .
6. การอ่านทาให้ทักษะการเขียนดีขึ้น ... .
7. การอ่านช่วยฝึกสมาธิและความตั้งใจ.

เริ่มต้นอ่านหนังสือยังไงดี

1. อ่านบทสรุปก่อนเป็นอันดับแรก ... .
2. ใช้ปากกาไฮไลต์เพื่อเน้นใจความสำคัญ ... .
3. ดูสารบัญและหัวข้อย่อย ... .
4. ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมประกอบกับเนื้อหาที่อ่าน ... .
5. ห้าม! ... .
6. เขียนสรุปมุมมองของผู้อ่าน ... .
7. พูดคุยกับเพื่อน หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อน ... .
8. จดคำถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้นระหว่างการอ่าน.