ต่อภาษีรถกระบะแคปราคาเท่าไร

ราคาค่าบริการ ตรวจสภาพรถก่อนต่อภาษี (ตรอ.) ราคา พ.ร.บ. และราคาค่าบริการฝากต่อภาษี หรือเสียภาษี ของ ตรอ. เมืองยอง (ในกรณีที่ฝากให้เราต่อภาษีให้) ซึ่งราคาค่าตรวจสภาพรถ และค่า พ.ร.บ. เป็นราคามาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด

ลูกค้าสามารถเลือกใช้บริการเพียงแค่อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ เช่น จะตรวจสภาพอย่างเดียว หรือทำพ.ร.บ. อย่างเดียวก็ได้ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ Line : @m2277

ประเภทรถค่าพ.ร.บ.ค่าภาษีค่าตรวจสภาพรถค่าบริการฝากต่อภาษีรย.1 (รถเก๋ง, รถกระบะสี่ประตู)645 บาทคิดตามจริง ขึ้นอยู่กับซีซี200 บาท120 บาทรย.2 (รถตู้, รถนั่งสองตอน ฯลฯ)1,180 บาทคิดตามจริง ขึ้นอยู่กับน้ำหนัก200 บาท120 บาทรย.3 (รถกระบะแคป และ 2 ประตู)967 บาทคิดตามจริง ขึ้นอยู่กับน้ำหนัก200 บาท120 บาทรย.12 (รถจักรยานยนต์, รถมอเตอร์ไซค์)360 บาท (125ซีซี)100 บาท/ปี60 บาท120 บาท

ค่า พ.ร.บ. รถยนต์ และรถจักรยานยนต์

ราคา พ.ร.บ. รถประเภทต่างๆ ตามที่กฎหมายกำหนด เราควรทำ พ.ร.บ. ให้ถูกประเภท เช่น ถ้ารถใช้ส่วนตัว ควรทำแบบส่วนบุคคล และถ้ารับจ้าง หรือปล่อยให้เช่า ก็ควรทำในราคารับจ้าง เพื่อความคุ้มครองสูงสุดต่อผู้ใช้รถ สอบถามเพิ่มเติม หรือทำ พ.ร.บ. ออนไลน์ได้ที่ Line : @m2277

พ.ร.บ. รถเก๋ง, รถกระบะสี่ประตูใช้ส่วนบุคคล 645.21 บาทให้เช่า หรือรับจ้าง 2,041.56 บาท

พ.ร.บ. รถตู้, รถนั่งสองตอน ฯลฯใช้ส่วนบุคคล 1,182.35 บาทรับจ้าง หรือให้เช่า 2,493.10 บาท

พ.ร.บ. รถกระบะแคป และ 2 ประตูใช้ส่วนบุคคล 967.28 บาทให้เช่า หรือรับจ้าง 1,891.76 บาท

พ.ร.บ. รถจักรยานยนต์, รถมอเตอร์ไซค์ ส่วนบุคคลไม่เกิน 75 CC 161.57 บาท75 CC – 125 CC 323.14 บาท125 CC – 150 CC 430.14 บาทเกิน 150 CC ขึ้นไป 645.21 บาท

ค่าพรบ. รถบัส รถโดยสาร (ส่วนบุคคล)รถโดยสาร 15 – 20 ที่นั่ง 2,203 บาทรถโดยสาร 20 – 40 ที่นั่ง 3,438 บาทรถโดยสาร เกิน 40 ที่นั่ง 4,018 บาท

ค่าพ.ร.บ. รถบรรทุก หกล้อ สิบล้อ (ส่วนบุคคล)รถบรรทุก 3 ถึง 6 ตัน 1,310 บาทรถบรรทุก 6 ถึง 12 ตัน 1,408 บาทรถบรรทุก เกิน 12 ตัน 1,826 บาท

วันนี้เราจะมาคำนวณภาษีรถยนต์กระบะ 4 ประตูว่า แต่ละปีคนที่มีรถประเภทนี้ จะมีขั้นตอนวิธีการคำนวณภาษีอย่างไร และสุดท้าย จะต้องเสียภาษีรถปีละกี่บาท ภาษีรถกระบะ ต้องเสียปีละเท่าไหร่


ภาษีรถกระบะ ต้องเสียปีละเท่าไหร่

สำหรับการคำนวณภาษีกรมการขนส่งทางบก ในส่วนของรถนั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 ที่นั่ง หรือรถกระบะ 4 ประตู ที่มีขนาดเครื่องยนต์ 2,494 CC การคำนวณภาษีคิดจากขนาดเครื่องยนต์

ชื่อเต็มๆ ของเจ้า พ.ร.บ.รถยนต์ คือ พระราชบัญญัติประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ หรือเรียกสั้นๆ ว่า พ.ร.บ. ซึ่งก็สมตามชื่อ ภาคบังคับ ต้องต่ออายุทุกปีจึงจะสามารถเสียภาษีรถยนต์รายปีได้

ไม่ต่อ พ.ร.บ.รถยนต์ ได้หรือไม่

คำตอบคือ ไม่ได้ ไม่งั้นจะมีโทษทางกฎหมายครับ เจอปรับไม่เกิน 10,000 บาท ทั้งเจ้าของรถและผู้ที่นำรถที่ไม่มีประกันภัยตาม พ.ร.บ.มาใช้

อัตราค่าใช้จ่าย ต่อ พ.ร.บ.รถยนต์ ปี 2565

- รถยนต์โดยสารที่นั่งไม่เกิน 7 คน 600 บาทต่อปี
- รถยนต์โดยสารเกิน 7 คน ไม่เกิน 15 ที่นั่ง 1,100 บาทต่อปี
- รถยนต์โดยสารเกิน 7 คน เกิน 15 ที่นั่ง ไม่เกิน 20 ที่นั่ง 2,050 บาทต่อปี
- รถยนต์โดยสารเกิน 7 คน เกิน 20 ที่นั่ง ไม่เกิน 40 ที่นั่ง 3,200 บาทต่อปี
- รถยนต์โดยสารเกิน 7 คน เกิน 40 ที่นั่ง เสียค่าต่อ พ.ร.บ. 3,740 บาทต่อปี

- รถยนต์ไฟฟ้า 600 บาทต่อปี

ราคายังไม่ภาษีมูลค่าเพิ่มอีก 7%

อัตราค่าใช้จ่าย ต่อ พ.ร.บ.รถกระบะ ปี 2565

- รถยนต์บรรทุก (รถกระบะ) น้ำหนักไม่เกิน 3 ตัน 900 บาท

- รถยนต์บรรทุก น้ำหนักเกิน 3 ตัน แต่ไม่เกิน 6 ตัน 1,220 บาท

- รถยนต์บรรทุก น้ำหนักเกิน 6 ตัน แต่ไม่เกิน 12 ตัน 1,310 บาท

- รถยนต์บรรทุกน้ำมันเชื้อเพลิง แก๊ส หรือกรด ขนาดน้ำหนักรวมไม่เกิน 12 ตัน 1,680 บาท

- รถยนต์บรรทุกน้ำมันเชื้อเพลิง แก๊ส หรือกรด ขนาดน้ำหนักรวมเกิน 12 ตัน 2,320 บาท

ในเมื่อเราจ่ายเงินซื้อเจ้าประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับมาแล้วย่อมต้องมีความคุ้มครองหากเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้นแน่นอน โดยเราสามารถเคลมอุบัติเหตุได้กับบริษัทประกันที่เราซื้อ พ.ร.บ.รถยนต์ มา ในกรณีที่

- บาดเจ็บ สามารถเคลมค่ารักษาพยาบาลได้ โดยทาง พ.ร.บ.จะจ่ายตามจริง แต่ไม่เกิน 30,000 บาทต่อคน
- ทุพพลภาพ หากพิการหลังเกิดอุบัติเหตุ ทางบริษัทประกันจะจ่ายให้อีกจากค่ารักษาเบื้องต้น 30,000 บาท จากข้อ 1 แต่ไม่เกิน 65,000 บาทต่อคน
- เสียชีวิต ถ้าเสียชีวิตทันทีหลังจากประสบอุบัติเหตุ บริษัทประกันจะจ่ายเงินค่าทำศพ 35,000 บาทต่อคน แต่หากเสียชีวิตหลังจากรับการรักษาไปแล้ว (จากข้อ 1 ตามวงเงินรักษา 30,000 บาทต่อคน) ทางประกันก็จะจ่ายแบบเหมารวมไม่เกิน 65,000 บาท

อันนี้เป็นการเคลมได้ทันทีโดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความผิดของผู้เอาประกันภัย แต่หากพิสูจน์ยืนยันว่าผู้ขับฝ่ายใดเป็นฝ่ายผิด ฝั่งบริษัทประกันที่เป็นฝ่ายผิดจะรับผิดชอบแก่ผู้เสียหาย ในกรณีบาดเจ็บ รับค่าชดเชยไม่เกิน 80,000 บาท แต่หากเสียชีวิต หรือพิการ จะชดเชยเป็นเงิน 500,000 บาท

ผู้บาดเจ็บ หรือทายาท สามารถยื่นเรื่องขอรับค่ารักษาพยาบาลด้วยตนเอง หรือมอบอำนาจให้โรงพยาบาลเป็นผู้รับแทนก็ได้ภายใน 7 วัน โดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความผิด และระยะเวลาในการขอใช้สิทธิ์ พ.ร.บ.ภายใน 180 วันหลังจากวันที่เกิดเหตุ โดยเตรียมหลักฐานให้ครบ ดังนี้

1. สำเนาบัตรประชาชนทั้งผู้บาดเจ็บและเจ้าของรถ
2. สำเนาทะเบียนบ้าน
3. สำเนาบันทึกประจำวันจากตำรวจ
4. สำเนาหนังสือจดทะเบียนรถ
5. ตารางกรมธรรม์ประกันภัย
6. ใบเสร็จรับเงินและใบรับรองแพทย์จากทางโรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษา

สำหรับในกรณีเสียชีวิต นำเอกสาร สำเนาบันทึกประจำวันพนักงานสอบสวนที่แสดงว่าผู้รับประกันถึงแก่ความตายจากประสบภัยจากรถ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ประสบอุบัติเหตุ สำเนาบัตรประชาชนทายาท สำเนาทะเบียนบ้าน และสำเนาใบมรณบัตร ยื่นกับทางบริษัทประกันนั้นๆ.

ต่อภาษีรถกระบะราคาเท่าไร

1,650 บาท โดยประเภทรถกระบะมีการคิดภาษีแบบคงที่ไม่ส่วนลด โดยสามารถเช็กน้ำหนักของรถได้จากเล่มรถของคุณเอง

ต่อพรบ ภาษีรถยนต์แคปกี่บาท

อัตราค่าใช้จ่าย ต่อ พ.ร.บ.รถยนต์ ปี 2565 - รถยนต์โดยสารที่นั่งไม่เกิน 7 คน 600 บาทต่อปี - รถยนต์โดยสารเกิน 7 คน ไม่เกิน 15 ที่นั่ง 1,100 บาทต่อปี - รถยนต์โดยสารเกิน 7 คน เกิน 15 ที่นั่ง ไม่เกิน 20 ที่นั่ง 2,050 บาทต่อปี - รถยนต์โดยสารเกิน 7 คน เกิน 20 ที่นั่ง ไม่เกิน 40 ที่นั่ง 3,200 บาทต่อปี

กระบะแคปเสียภาษีกี่ที่นั่ง

ในส่วนของรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล ไม่ว่าจะเป็น รถกระบะตอนเดียว, รถกระบะแค็ป (ไม่รวม 4 ประตู เพราะถือว่าเป็นรถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 ที่นั่ง) จะใช้วิธีการคำนวนค่าภาษีรถยนต์ประจำปีตามน้ำหนักของตัวรถ ดังนี้ ไม่เกิน 500 กก. อัตราค่าภาษีรถยนต์ 300 บาท 501 - 750 กก. อัตราค่าภาษีรถยนต์ 450 บาท

ต่อภาษีรถยนต์กระบะ4ประตูกี่บาท

รถยนต์ 4 ประตู เครื่องยนต์ 1,900 ซี.ซี. อัตราภาษี 5 ปีแรก 2,500 บาท รถยนต์ 4 ประตู เครื่องยนต์ 1,500 ซี.ซี. อัตราภาษี 5 ปีแรก 1,650 บาท รถยนต์ 4 ประตู เครื่องยนต์ 1,200 ซี.ซี. อัตราภาษี 5 ปีแรก 1,200 บาท รถยนต์ 4 ประตู เครื่องยนต์ 1,000 ซี.ซี. อัตราภาษีที่ 5 ปีแรก 900 บาท