ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

 ประเภทของภาพกราฟิก   มี 2  แบบ  คือ  

   2 มิติ  และ  3 มิติ 

 ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ 

เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ ยกตัวอย่างเช่น การ์ตูนเรื่องพิภพยมราช ชินจัง และ โดเรมอน เป็นต้น ซึ่งการ์ตูนจะเป็นภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Animation) โดยจะมีกระบวนการสร้างที่ซับซ้อนกว่า ภาพวาดปกติ 

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

       ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ

  เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม 3 Ds max โปรแกรม Maya เป็นต้น ซึ่งจะทาให้ได้ภาพมีสีและแสงเงาเหมือนจริง เหมาะกับงานด้านสถาปัตย์และการ ออกแบบต่าง ๆ รวมถึงการสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนหรือโฆษณาสินค้าต่าง ๆ เช่น การ์ตูน เรื่อง Nemo The Bug และปังปอนด์แอนิเมชัน เป็นต้น 

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

++ คลิกเพื่อ ดูตัวอย่าง ++

ประเภทของภาพกราฟิก
โพสต์เมื่อวันที่ : 12 ส.ค. 2550 เปิดอ่าน : 31,524 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

☰แชร์เลย >  
ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

Advertisement


ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

Advertisement


ประเภทของภาพกราฟิก

������������������������� การสร้างภาพกราฟิกด้วยคอมพิวเตอร์ มีวิธีการสร้าง 2 แบบ คือ แบบบิตแมพ (Bit Mapped) และแบบเวกเตอร์ (Vector) หรือสโตรก (Stroked) แต่ละแบบวิธีการรสร้างภาพดังต่อไปนี้


1. กราฟิกแบบบิตแมป
�����กราฟิกแบบบิตแมปความหมายที่ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตาราง แต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดในหน่วยความจำ "1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสีดำและสีขาวอีกด้วย ดังนั้น ถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้า เราจะสามารถสร้างภาพจากจุดดำและขาวเหล่านี้ได้ กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมีลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการ ถ้าทำความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้
�������������������������
พิกเซล (Pixel)
������������������������� พิกเซล (เป็นคำที่ใช้แทนองค์ประกอบของภาพ) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของภาพบิตแมป ซึ่งองค์ประกอบย่อยๆ เหล่านี้ถูกรวมกันเข้าทำให้เกิดภาพ เราคงคุ้นเคยกับการที่ส่วนประกอบย่อยๆ มารวมกันเพื่อประกอบเป็นรายการสิ่งของต่างๆ เป็นต้นว่า เอาแต่ละชิ้นของบล็อกกระจกมาประกอบกันเป็นหน้าต่าง แต่ละเข็มของการเย็บปักถักร้อยประกอบกันกลายเป็นผลงานทางด้านเย็บปักถักร้อย 1 ชิ้น หรือแต่ละจุดของโลหะเงินประกอบกันเป็นรูปภาพ 1 รูป นั้นคือองค์ประกอบอาจจะเป็นแก้วชิ้นใหญ่บนหน้าต่าง หรือจุดโลหะเงินเล็กๆ บนแผ่นฟิล์มก็ได้ โดยแต่ละชิ้นเป็นองค์ประกอบที่แยกจากกัน เปรียบเทียบได้กับพิกเซลซึ่งถือเป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุดของรูปภาพ พิกเซลมีความสำคัญต่อการสร้างกราฟิกของคอมพิวเตอร์มาก เพราะทุกๆ ส่วนของกราฟิก เช่น จุด เส้น แบบลายและสีของภาพ ล้วนเริ่มจากพิกเซลทั้งสิ้น พิกเซลหนึ่งๆ อาจจะมีขนาดความเข้มและสีแตกต่างกันได้
�������������������������������������� ในโลกแห่งดิจิตอลของรูปภาพคอมพิวเตอร์ พิกเซล ได้ถูกใช้สำหรับสิ่งต่างๆ เป็นต้นว่าจุดแต่ละจุดบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ จุดแสดงความละเอียดของเครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ หรืออุปกรณ์แสดงผลประเภทกราฟิกอื่นๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งบางครั้งอาจทำให้เราสับสนได้เพื่อให้เกิดความชัดเจน ขอให้คำจำกัดความดังต่อไปนี้ พิกเซล หมายถึง องค์ประกอบย่อยในไฟล์กราฟิกแบบบิตแมป วิดีโอพิกเซล หมายถึง องค์ประกอบย่อยของภาพในหน้าจอคอมพิวเตอร์ จุดหรือดอต หมายถึง ความละเอียดของภาพที่พิมพ์โดยเครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์
�������������������������
เอสเป็กเรโซของภาพ (Image Aspect Ratio)

������������������������� แอสเป็กเรโชของภาพ คือ อัตราส่วนระหว่างจำนวนพิกเซลทางแนวขวาง และจำนวนพิกเซลทางแนวดิ่งที่ใช้ในการสร้างภาพ หากจะยกตัวอย่างเปรียบเทียบกับกระดาษกราฟ จะเห็นได้ว่าภาพบิตแมปใดๆ ก็ตามจะมีจำนวนพิกเซลคงที่ในมิติแนวขวางและแนวดิ่ง ซึ่งอัตราส่วนมีไว้อ้างถึงขนาดของภาพและมักจะเขียนในรูปของ 800 x 600 (ซี่งหมายถึงรูปภาพที่มี 800 พิกเซลในแนวขวาง และ 600 บรรทัดของพิกเซลในแนวดิ่ง) เราสามารถคำนวณหาจำนวนพิกเซลทั้งหมดในรูปภาพได้โดยการคูณตัวเลขทั้งสองนี้เข้าด้วยกัน นั่นคือรูปภาพที่มีแอสเป็กเรโช 800 x 600 จะมีทั้งหมด 480,000 พิกเซล ซึ่งจำนวนดังกล่าวไม่ได้หมายถึงขนาดของไฟล์ของภาพนั้นๆ
������������������������
รีโซลูชัน (Resolution)

������������������������� รีโซลูชัน (Resolution) หมายถึง รายละเอียดที่อุปกรณ์แสดงกราฟิกชนิดหนึ่งมีอยู่ ค่ารีโซลูชันมักระบุเป็นจำนวนพิกเซลในแนวนอนคือแนวแกน X และจำนวนพิกเซลในแนวตั้งคือแนวแกน Y ดังนั้นรีโซลูชัน 720 x 348 จึงหมายความว่า อุปกรณ์แสดงกราฟิกชนิดนี้สามารถแสดงพิเซลในแนวนอนได้ไม่เกิน 720 พิกเซล และแสดงพิกเซลในแนวตั้งได้ไม่เกิน 348 พิกเซล ผู้ผลิตอุปกรณ์แสดงกราฟิกบางรายจะระบุค่ารีโซลูชันเป็นระดับสูง (High Resolution) ปานกลาง (Medium Resolution) และระดับต่ำ (Low Resolution) โดยพิจารณาจากจำนวนพิกเซลในแนวนอนเพียงอย่างเดียว ซึ่งมีหลักว่า ถ้าค่าน้อยกว่า 128 เป็นระดับต่ำ ค่าระหว่าง 128 ถึง 512 เป็นระดับกลาง ค่าสูงกว่า 512 เป็นระดับสูง สำหรับจอภาพขนาดปกติ ถ้ามีค่ารีโซลูชันมากกว่า 1500 ตาจะมองไม่เห็นแต่ละพิกเซลคือจะมองเห็นเป็นภาพที่มีความละเอียดคมชัดสูงมาก คอมพิวเตอร์กราฟิกที่ใช้กับฟิล์มถ่ายรูปในระดับมืออาชีพจะต้องใช้ค่ารีโซลูชันสูงถึง 3000


2. กราฟิกแบบเวกเตอร์
������������������������� กราฟิกแบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ เช่น วงกลม หรือเส้นตรง เป็นต้น ถึงแม้ว่าอาจจะฟังดูซับซ้อนสักเล็กน้อยแต่ภาพบางชนิดก็ถูกสร้างได้ง่าย หลักที่จะนำไปสู่กราฟิกแบบเวกเตอร์ก็คือ การรวมเอาคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออบเจ็กต์ ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภาพ คุณลักษณะเด่นเหล่านี้ทำให้กราฟิกแบบเวกเตอร์มีข้อได้เปรียบ และข้อเสียเปรียบมากมายกับกราฟิกแบบบิตแมป
�������������������������
ออบเจ็กต์ (Object)

������������������������� ออบเจ็กต์ง่ายๆ (เช่น วงกลม เส้นตรง ทรงกลม ลูกบาศก์ และอื่นๆ เรียกว่ารูปทรงพื้นฐาน) สามารถใช้ในการสร้างออบเจ็กต์ที่ซับซ้อนขึ้น กราฟิกแบบเวกเตอร์สามารถสร้างรูปภาพโดยการรวมเอาออบเจ็กต์หลายๆ ชนิดมาผสมกันเราสามารถผสมออบเจ็กต์ต่างชนิดกัน (เช่น วงกลมและเส้นตรง) เพื่อสร้างภาพที่แตกต่างกัน กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้คำสั่งง่ายๆ เพื่อสร้างออบเจ็กต์พื้นฐาน ถ้าเขียนเป็นภาษาคำพูดแบบธรรมดา คำสั่งอาจจะอ่านได้ว่า "ลากเส้นตรงจากจุด A ไปยังจุด B" หรือ "ลากวงกลมรัศมี R โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด P"
เปรียบเทียบคุณสมบัติของกราฟิกแบบบิตแมปและภาพแบบเวกเตอร์ ในด้านความเร็วของการแสดงภาพที่จอภาพและความสามารถในการเปลี่ยนขนาดภาพจะได้ผลดังนี้
������������������������� 1. กราฟิกแบบบิตแมปสามารถแสดงให้เห็นที่จอภาพได้เร็วกว่าภาพแบบเวกเตอร์ เช่น การแสดงภาพแบบบิตแมปขนาด 1000 ไบต์ จะทำโดยการใช้คำสั่งย้ายข้อมูลขนาด 1000 ไบต์ จากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ (คือ Video Display Buffer) ภาพนั้นก็จะปรากฎบนจอภาพทันที การแสดงภาพแบบเวกเตอร์คอมพิวเตอร์จะใช้เวลามากกว่า เนื่องจากคอมพิวเตอร์ต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า
������������������������� 2. การเปลี่ยนแปลงขนาดภาพให้โตขึ้นหรือเล็กลงกว่าภาพเดิม กรณีภาพแบบบิตแมปจะทำได้ไม่มาก นอกจากนั้นยังอาจจะทำให้ลักษณะของภาพผิดเพี้ยนไปจากเดิมด้วย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงขนาดภาพทำโดยวิธีการเพิ่มหรือลดพิกเซลจากที่มีอยู่เดิม ภาพที่ขยายโตขึ้นจะมองเห็นเป็นตารางสี่เหลี่ยมเรียงต่อกัน ทำให้ขาดความสวยงาม แต่ภาพแบบเวกเตอร์จะสามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังคล้ายเดิม ยิ่งกว่านั้นเราสามารถขยายเฉพาะความกว้างหรือความสูง เพื่อให้มองเห็นเป็นภาพผอมหรืออ้วนกว่าภาพเดิมได้ด้วย



ที่มา http://www.geocities.com/websubstudent/graphic.html


ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

Advertisement

≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


องค์ประกอบของระบบกราฟิก
เปิดอ่าน 21,160 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


ภาพแบบ Bitmap
เปิดอ่าน 19,808 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ
เปิดอ่าน 53,306 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบกราฟิก
เปิดอ่าน 19,606 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


เทคนิคใหม่จากสิงคโปร์ทำภาพสีไม่ใช้หมึกคมชัดกว่าเลเซอร์เจ็ท
เปิดอ่าน 10,957 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


ความหมายของมัลติมีเดีย
เปิดอ่าน 19,497 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


กราฟิก (Graphic)
เปิดอ่าน 14,143 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


มาตรฐานรูปแบบการนำเสนอภาพ
เปิดอ่าน 21,081 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


สีบนจอภาพคอมพิวเตอร์
เปิดอ่าน 10,221 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


พิกเซล (Pixel)
เปิดอ่าน 862 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


มาตรฐาน Image Metadata
เปิดอ่าน 22,078 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


ประเภทของระบบภาพกราฟิก
เปิดอ่าน 17,182 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


กราฟิกไฟล์สำหรับอินเทอร์เน็ต
เปิดอ่าน 25,073 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


การจับจอภาพโดยใช้ความสามารถ Clipboard
เปิดอ่าน 15,009 ครั้ง

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง


บทบาทของสื่อมัลติมีเดีย
เปิดอ่าน 26,369 ครั้ง

:: เรื่องปักหมุด ::

Advertisement

≡ เรื่องน่าสนใจในหมวดหมู่นี้ ≡

≡ เรื่องน่าอ่าน/สาระน่ารู้ ≡

ชนิดของภาพกราฟิกแบ่งเป็นกี่ประเภท

ประเภทของภาพกราฟิกแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ > เป็นภาพที่เราสามารถพบเห็นได้ทั่วๆไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตูนต่างๆ ในโทรทัศน์ ตัวอย่างภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท * 2 ประเภท 3 ประเภท 4 ประเภท 5 ประเภท

แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ แบบ 3 มิติ แบบ 4 มิติ และแบบ 5 มิติ

ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ แบ่งออกเป็น 2 แบบ มีอะไรบ้าง

ภาพกราฟิก 2 มิติแบบ Raster และ แบบ Vector มีความแตกต่างกันดังนี้ ภาพกราฟิกแบบ Raster. ภาพกราฟิกแบบ Vector.

ภาพกราฟิกในคอมพิวเตอร์มีลักษณะอย่างไร

1. ภาพกราฟิกเกิดจากจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หลากหลายสี (Pixels) มาเรียงต่อกันจนกลายเป็นรูปภาพ 1. ภาพเกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์หรือการคำนวณ โดยองค์ประกอบของภาพมีอิสระต่อกัน 2. การขยายภาพกราฟิกให้มีขนาดใหญ่ขึ้น จะทำให้ความละเอียดของภาพลดลง ทำให้มองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ