หนังสือ ค้ำประกัน อิเล็กทรอนิกส์ มี กี่ แบบ

หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร

หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร ผู้สนใจงานจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐควรรู้

หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร ?

การที่ช่างหรือผู้รับเหมาจะทำงานให้กับหน่วยงานรัฐปัจจุบันนี้ มักจะพบว่าจะต้องทำการเสนอราคาผ่านวิธีประกวดราคาผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ที่เรียกกันว่า e-bidding (ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์) อยู่เสมอ ซึ่งเรื่องนี้เกิดขึ้นจากนโยบายภาครัฐที่ต้องการให้การ จัดซื้อจัดจ้าง ของหน่วยงานภาครัฐเป็นไปอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม เป็นการลดการพบปะอันเป็นเหตุให้เกิดข้อครหาเรื่อง และการสมยอมราคา ระหว่างหน่วยงานราชการและผู้ประกอบการ และยังช่วยให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรมไม่มีการสมยอมระหว่างผู้เสนอราคา เนื่องจากไม่มีการเปิดเผยรายชื้อผู้มาขอรับเอกสารและผู้มายื่นเสนอราคา และยังมีความสะดวกในกระบวนการเพื่อยื่นเสนอราคา เพราะทำได้จากทุกที่ผ่านระบบออนไลน์ แต่อย่างไรก็ตาม ในการจะดำเนินการเพื่อร่วมการประกวดราคาได้ บ่อยครั้งที่ต้องมีการใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน ซึ่งในกรณีเป็นการดำเนินการผ่านระบบออนไลน์ก็จะใช้สิ่งที่เรียกว่า หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ Read more…

บริการออกหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ ต่อการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

  • สะดวก ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไป กฟภ. เพื่อยื่นหนังสือค้ำประกัน
  • ลดขั้นตอนเรื่องเอกสาร ป้องกันเอกสารสูญหาย

ขั้นตอนการดำเนินการ

หนังสือ ค้ำประกัน อิเล็กทรอนิกส์ มี กี่ แบบ
 
  1. ผู้ใช้ไฟฟ้ายื่นคำร้องกับ กฟภ. ที่สำนักงานการไฟฟ้า
  2. กฟภ. ออกเอกสารแจ้งค่าใช้จ่าย
  3. ผู้ใช้ไฟฟ้าติดต่อธนาคารเพื่อขอหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์
  4. ธนาคารพิจารณาอนุมัติค้ำประกันและส่งข้อมูลหนังสือค้ำประกันให้ กฟภ.
  5. กฟภ. แจ้งผลดำเนินการข้อมูลหลักประกันให้กับธนาคาร
  6. ธนาคารจะแจ้งผลการทำรายการการค้ำประกันให้ลูกค้าทราบผ่านทาง SMS

เงื่อนไข : สำหรับผู้ใช้ไฟ้ฟ้าที่มีหลักประกันตั้งแต่ 10,000 บาท

หนังสือ ค้ำประกัน อิเล็กทรอนิกส์ มี กี่ แบบ

บริการค้ำประกันทางอิเล็กทรอนิกส์ต่อหน่วยงานภาครัฐ

ให้ทุกการจัดซื้อจัดจ้างกับหน่วยงานภาครัฐเป็นเรื่องง่าย ด้วยระบบที่เชื่อมโยงระหว่างกรมบัญชีกลางกับกรุงศรี

ลักษณะสำคัญของผลิตภัณฑ์

  • ถูกต้อง รวดเร็ว
  • ส่งใบเสร็จรับเงินถึงที่ทำงาน
  • ส่งคำขอให้ธนาคารได้ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุด
  • ง่ายเพียงชำระค่าธรรมเนียม ผ่านบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือบัญชีกระแสรายวันของธนาคารกรุงศรีอยุธยา
  • แจ้งผลการทำรายการทาง SMS ทันที และ e-mail ภายในวันที่ทำรายการ

ประเภทหนังสือค้ำประกัน (Letter of Guarantee: L/G)

  • ค้ำประกันการยื่นซองประกวดราคา (Bid Bond)
  • ค้ำประกันการปฏิบัติตามสัญญา (Performance Bond)
  • ค้ำประกันรับเงินล่วงหน้าหรือรับเงินก่อนการตรวจรับ (Advance Payment Bond)
  • ค้ำประกันผลงาน (Retention Bond /Maintenance Bond)

ขั้นตอนการดำเนินการผ่านระบบ e-Bidding

หนังสือ ค้ำประกัน อิเล็กทรอนิกส์ มี กี่ แบบ
  1. ลูกค้ากรอกข้อมูลคำขอออกหนังสือค้ำประกันผ่านระบบ e-Bidding ระบุโครงการที่ต้องการโดยเลือกธนาคารกรุงศรีอยุธยา
  2. หากข้อมูลถูกต้องครบถ้วน กรมบัญชีกลางจะส่งข้อมูลรายการค้ำประกันให้ธนาคาร
  3. เมื่อธนาคารได้รับรายการจะดำเนินการวางหนังสือค้ำประกันให้ทันทีเมื่อธนาคารเปิดทำการ (วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30 – 17.30 น. ยกเว้นวันหยุดทำการธนาคาร) โดยลูกค้าสามารถตรวจสอบผลการค้ำประกันด้วยตัวเองผ่านระบบ e-Bidding ซึ่งจะแสดงข้อมูล เช่น เลขที่อ้างอิงการค้ำประกัน จำนวนวงเงินการค้ำประกัน ระยะเวลาการค้ำประกัน เป็นต้น
  4. ธนาคารจะแจ้งผลการทำรายการการค้ำประกันให้ลูกค้าทราบผ่านทาง SMS และ e-mail

หมายเหตุ: ระบบ e-Bidding ไม่สามารถตั้งเวลาการทำรายการล่วงหน้าได้ / ธนาคารจะหักชำระค่าธรรมเนียมการทำรายการผ่านบัญชีเงินฝากที่ลูกค้าได้แจ้งไว้ตอนสมัครใช้บริการ
 

ให้ทุกการวางค้ำประกัน เป็นเรื่องง่าย ด้วยบริการออกหนังสือค้ำประกันผ่านรูปแบบ การรับ - ส่ง ข้อมูลการค้ำประกันทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างลูกค้า ธนาคาร และผู้รับผลประโยชน์ ได้อย่าง รวดเร็ว สะดวก ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย ผ่าน Krungsri BIZ Online (KBOL)

 

ขั้นตอนการใช้บริการ Krungsri e-Guarantee

หนังสือ ค้ำประกัน อิเล็กทรอนิกส์ มี กี่ แบบ
  1. ลูกค้ายื่นเอกสารการวางค้ำประกันต่อผู้รับผลประโยชน์ ผ่าน Krungsri BIZ Online (KBOL)
  2. ผู้รับผลประโยชน์แจ้งให้ธนาคารวางหลักประกันหรือออกหนังสือค้ำประกัน
  3. ระบบจะทำการแจ้งและส่ง SMS ให้ลูกค้าอนุมัติรายการผ่าน KBOL (เฉพาะกรณีลูกค้าได้กำหนดให้มีผู้อนุมัติรายการก่อนเท่านั้น
  4. ลูกค้าแจ้งอนุมัติรายการออกหนังสือค้ำประกัน ผ่าน KBOL (ถ้ามี)
  5. ธนาคารส่งข้อมูลหนังสือค้ำประกันให้ผู้รับผลประโยชน์
  6. ธนาคารส่ง SMS/e-mail แจ้งผลดำเนินการเรียบร้อย

เงื่อนไขการสมัครใช้บริการ Krungsri e-Guarantee

  1. ลูกค้าจะต้องเป็นลูกค้าสินเชื่อและมีวงเงินสินเชื่อภาระผูกพัน/หนังสือค้ำประกัน (Letter of Guarantee) กับธนาคาร
  2. ลูกค้าต้องลงนามใน “คำขอให้ธนาคารวางค้ำประกันทางอิเล็กทรอนิกส์ ต่อหน่วยงานภาครัฐผ่านระบบ e-Government Procurement”
  3. เงื่อนไขอื่นๆ และค่าธรรมเนียมเป็นไปตามที่ธนาคารกำหนด

หน่วยงานผู้รับผลประโยชน์ที่เข้าร่วม

หนังสือ ค้ำประกัน อิเล็กทรอนิกส์ มี กี่ แบบ

ภาพรวมระบบ e-GP

ระบบการลงทะเบียนผู้ค้ากับภาครัฐ

ระบบ e-bidding

ระบบ e-market

วิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding) สำหรับผู้ค้ากับภาครัฐ

แหล่งที่มาข้อมูล: เว็บไซต์กรมบัญชีกลาง

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม