วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีกี่ประเภท

1.4 ���觷���Ңͧ������ (Source of Data)

������ʶԵ��Ҩ��ṡ������觷������ 2 �ҧ ���
•  �����Ż������ (Primary Data) �繢����ŷ����������˹��§ҹ������繼��ӡ���红����Ŵ��µ��ͧ ����Ըա�����Ǻ����������Ҩ���Ըա�������ɳ� ��÷��ͧ ���͡���ѧࡵ��ó� �����Ż�������繢����ŷ������������´�ç�����������ͧ��� ���ѡ����������㹡�èѴ������դ��������٧
•  �����ŷص������ (Secondary Data) �繢����ŷ��������������Ǻ����ͧ ���ռ��������� ˹��§ҹ���� �ӡ�����Ǻ���������� �� �ҡ��§ҹ ����������� �����ѧ���������ͧ ˹��§ҹ�ͧ�Ѱ��� ��Ҥ� ����ѷ �ӹѡ�ҹ�Ԩ�� �ѡ�Ԩ�� ������ ˹ѧ��;���� �繵� ��ù���Ң���������ҹ�������繡�û����Ѵ������Ф������� ��㹺ҧ���駢������Ҩ�����ç�Ѻ������ͧ��âͧ����� ��������������´�����§�ͷ��й���������� �͡�ҡ���㹺ҧ���� �����Ź���Ҩ�դ����Դ��Ҵ��м�����ѡ������Һ��ͼԴ��Ҵ�ѧ����� ����Ҩ�ռš�з���͡����ػ�� �ѧ��� �����йӢ����ŷص���������������Ѵ���ѧ��е�Ǩ�ͺ�س�Ҿ�����š�͹���й����������

  น้อง ๆ หลายคนคงจะเคยสับสนและมีข้อสงสัยเกี่ยวกับประโยคในภาษาไทยกันมาไม่มากก็น้อย ทำไมอยู่ดี ๆ เราถึงไม่เข้าใจประโยคภาษาไทยที่พูดกันอยู่ทุกวันไปได้นะ? แต่ไม่ต้องกังวลไปนะคะ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะพาน้อง ๆ กลับไปทบทวนเกี่ยวกับเรื่องประโยคอีกครั้ง พร้อมเรียนรู้เคล็ดลับการสังเกตประโยคง่าย ๆ จะเป็นอย่างไร ไปดูพร้อมกันเลยค่ะ   ความหมายของประโยค   ประโยค เป็นหน่วยทางภาษาที่เกิดจากการนำคำหลาย ๆ คำ หรือกลุ่มคำ มาเรียงต่อกันอย่างเป็นระบบ มีความสัมพันธ์กัน

นายเดี่ยว ใจบุญ.  ปีที่ผลิต.  ค30203 สถิติเบื้องต้น. [ออนไลน์].  รายละเอียดทางการพิมพ์ (ถ้ามี).  เข้าถึงได้จาก : cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/…/06Kept_information_6a82.ppt.  (วันที่ค้นข้อมูล : 30 มกราคม  2553)

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีกี่ประเภท

ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีกี่ประเภท

ความหมายของข้อมูล
ข้อมูล เป็นข้อความจริงหรือสิ่งที่บ่งบอกถึงสภาพ สถานการณ์ หรือปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์หนึ่ง โดยที่ข้อมูลอาจเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้ เช่น ในปี พ.ศ. 2547 คณะรัฐมนตรีกำหนดมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไข้หวัดนก หรือในเดือนกันยายน 2547 น้ำมันเบนซิน 91 จำหน่ายในเขตกรุงเทพและปริมณฑลราคาลิตรละ 20.99 บาท โดยทั่ว ๆ ไป ข้อมูลมักจะอยู่ในรูปตัวเลขซึ่งมีหลาย ๆ จำนวนที่สามารถนำมาเปรียบเทียบขนาดกันได้ เช่น ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน 2547 ไทยส่งออกข้าวไปยังประเทศหนึ่งรวม 2.88 ล้านตัน ลดลงจาก 5.00 ล้านตัน ของการส่งออกในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 42.4
ข้อมูลเชิงสถิติเป็นข้อมูลที่สามารถนำมาประมวลผลหรือวิเคราะห์ด้วยกระบวนการหรือวิธีการต่าง ๆ เพื่อตอบคำถามในประเด็นต่าง ๆ ได้

ประเภทของข้อมูล
ประเภทของข้อมูลสามารถจำแนกได้จากวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล และจากลักษณะของข้อมูล

การจำแนกข้อมูลตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
เมื่อจำแนกประเภทของข้อมูลตามวิธีการเก็บรวบรวมจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) และ ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data)
1) ข้อมูลปฐมภูมิ คือข้อมูลที่ผู้ใช้จะต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจทำได้โดยการสัมภาษณ์ วัด นับ หรือสังเกตจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เนื่องจากข้อมูลเหล่านี้ไม่เคยมีผู้ใดเก็บรวบรวมไว้ก่อน
การเก็บรวบรวมข้อมูลประเภทนี้ทำได้ 2 วิธีคือ การสำมะโน (census) และการสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง (sample survey)
2) ข้อมูลทุติยภูมิ คือข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง แต่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว ข้อมูลประเภทนี้ ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลเอง สามารถนำข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้วมาใช้ได้เลย แต่อย่างไรก็ตามผู้ใช้จะต้องระมัดระวังในการนำข้อมูลประเภทนี้มาใช้ให้มาก เนื่องจากมีโอกาสผิดพลากได้มากหากผู้เก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่างใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
แหล่งที่มาของข้อมูลทุติยภูมิที่สำคัญ คือ
(1) รายงานต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการและองค์การของรัฐบาล โดยทั่ว ๆ ไป หน่วยงานราชการหรือองค์การของรัฐบาล มักจะมีรายงานแสดงข้อมูลพิมพ์ออกมาเผยแพร่เป็นประจำซึ่งอาจเป็นรายงานรายเดือน รายสามเดือน หรือรายปี ข้อมูลที่ได้จากรายงานต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการและองค์การของรัฐบาลนี้อาจถือได้ว่าเป็นที่มาของข้อมูลทุติยภูมิที่สำคัญที่สุด
(2) รายงานและบทความจากหนังสือหรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน หน่วยงานของเอกชนบางแห่งโดยเฉพาะหน่วยงานใหญ่ ๆ จะพิมพ์รายงานเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของตนออกเผยแพร่เช่นเดียวกับหน่วยงานของราชการ เช่น รายงานประจำเดือนของธนาคารพาณิชย์ นอกจากนี้ หนังสือพิมพ์รายวัน หรือสื่ออื่น ๆ มักจะมีข้อมูลทุติยภูมิประกอบบทความหรือรายงานด้วย

วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะอยู่ในหนังสือ รายงาน บทความหรือเอกสารต่าง ๆ ควรดำเนินการดังต่อไปนี้
(1) พิจารณาตัวบุคคลผู้เขียนรายงาน บทความ หรือเอกสารเหล่านั้นเสียก่อนว่าเป็นผู้มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่เขียนถึงขั้นพอที่จะเชื่อถือได้หรือไม่ การเขียนอาศัยเหตุผลและหลักวิชาการมากน้อยเพียงใด ข้อมูลที่จะนำมาใช้ซึ่งรวบรวมจากรายงาน บทความ หรือเอกสารดังกล่าวควรใช้ข้อมูลที่ผู้เขียนเก็บรวบรวมมาเองโดยตรง
(2) ถ้าข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวมสามารถหาได้จากหลาย ๆ แหล่ง ควรเก็บรวบรวมมาจากหลาย ๆ แหล่งเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบว่าข้อมูลที่ต้องการมีความผิดพลาดเนื่องจากการลอกผิด พิมพ์ผิด หรือเข้าใจผิดบ้างหรือไม่
(3) พิจารณาจากลักษณะของข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวมว่าเป็นข้อมูลที่เป็นข้อความจริง ข้อมูลที่ได้จากทะเบียน ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็นหรือเจตคติ ข้อมูลประเภทความลับ หรือข้อมูลซึ่งผู้ตอบอาจต้องเสียประโยชน์จากการตอบ ถ้าเป็นข้อมูลที่เป็นข้อความจริง ข้อมูลที่ได้จากทะเบียนหรือข้อมูลที่เป็นความคิดเห็นหรือเจตคติส่วนใหญ่มักจะมีความถูกต้องเชื่อถือได้สูง แต่ถ้าเป็นข้อมูลประเภทความลับหรือข้อมูลซึ่งผู้ตอบอาจต้องเสียประโยชน์จากการตอบ ส่วนใหญ่มักจะมีความถูกต้องเชื่อถือได้น้อย

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีกี่ประเภท

วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิซึ่งอาจทำได้โดยการสำมะโนหรือสำรวจสามารถทำได้หลายวิธี แต่วิธีที่นิยมใช้กันทั่ว ๆ ไปมี 5 วิธีคือ
(1) การสัมภาษณ์
(2) การสอบถามทางไปรษณีย์
(3) การสอบถามทางโทรศัพท์
(4) การสังเกต
(5) การทดลอง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีกี่ประเภท

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีกี่ประเภท

http://www.vcharkarn.com/lesson/1506

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีกี่ประเภท

การเก็บรวบรวมข้อมูลมีวิธีการใดบ้าง

สำมะโน (Census) เป็นวิธีการเก็บข้อมูล โดยการแจงนับทุกหน่วยของประชากร ซึ่งอาจเป็นการแจงนับโดยการ นับ, วัด หรือ ชั่ง การสัมภาษณ์ที่มีการเผชิญหน้ากัน ตลอดจนการอาศัยสื่อกลางต่างๆ.
การสำรวจตัวอย่าง (Sample survey) ... .
การทดลอง (Experiment) ... .
เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว.

วิธีการเก็บข้อมูลคืออะไร

การเก็บข้อมูล หรือ Data collection คือกระบวนการรวบรวมและการวัดข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่เราสนใจให้เป็นระบบที่ทำให้ได้ข้อมูลนำไปใช้ต่อได้ โดยการเก็บข้อมูลจะช่วยให้นักวิจัยหรือนักสำรวจสามารถตอบคำถามการวิจัยที่ระบุสมมุติฐานในการทดสอบและประเมินผล ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการวิจัยและเป็นเรื่องธรรมดาสำหรับทุกสาขาวิชา รวมถึง ...

ประเภทของข้อมูลมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

ประเภทของข้อมูล จำแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล ได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) 2. แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data)

ขั้นตอนสําคัญของการรวบรวมข้อมูล มี 6 ขั้นตอน อะไรบ้าง

การเก็บรวบรวมข้อมูล.
กำหนดข้อมูลและตัวชี้วัด.
กำหนดแหล่งข้อมูล.
เลือกกลุ่มตัวอย่าง.
เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล.
นำเครื่องมือรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้.
ลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล.