ค่าไฟบ้านหน่วยละกี่บาท 2564

ค่าไฟหน่วยละกี่บาท2565 งวดเดือนก.ย.-ธ.ค. ขึ้นอีกเท่าไหร่ เช็คเลยที่นี่แชร์ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล01 มิถุนายน 2565”ค่าไฟหน่วยละกี่บาท2565 งวดเดือนก.ย.-ธ.ค. ขึ้นอีกเท่าไหร่ เช็คเลยที่นี่มีคำตอบ หลัง กกพ. เตรียมพิจารณาค่าเอฟทีรอบใหม่กลางเดือน มิ.ย.

ค่าไฟหน่วยละกี่บาท2565 เป็นคำถามที่ได้รับความสนใจอีกหนึ่งประเด็น หลังจากทีสินค้าหลายรายการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอย่างตือเนื่อง ทั้งราคาน้ำมัน ก๊าซหุงต้มครัวเรือน หรือแอลพีจี (LPG)

 

นายคมกฤช ตันตระวาณิชย์ เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ในฐานะโฆษก กกพ. เปิดเผยว่า หากไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงคาดว่าค่าไฟรอบใหม่ หรือรอบปลายปีจะปรับขึ้นประมาณ 40 สตางค์ต่อหน่วย โดยตัวเลขดังกล่าวนี้เป็นกรณีไม่ส่งต่อให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) รับภาระ เนื่องจากต้นทุนมีการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง

 

อย่างไรก็ดี ต้องเรียนว่า แนวโน้มค่าไฟฟ้าผันแปรอัตโนมัติ (เอฟที) สำหรับการเรียกเก็บค่าไฟฟ้าในรอบเดือน ก.ย. - ธ.ค.2565 นั้น ยังไม่มีการพิจารณาเพราะต้องรอปิดรอบการคำนวณก่อนคาดว่าจะเริ่มคำนวณกลางเดือนมิ.ย.นี้ และจะประกาศในช่วงกลางเดือน ก.ค.2565

ทั้งนี้ เดิมทีค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงที่สูงขึ้นส่งผลให้ประมาณการค่าเอฟทีในช่วงเดือน พ.ค.ถึงเดือน ส.ค.2565 เพิ่มสูงขึ้นเป็น 129.91 สตางค์ต่อหน่วย แต่ กกพ.พิจารณาภายใต้หลักการการปรับขึ้นแบบขั้นบันได 3 งวด เฉลี่ยงวดละ 47.3 สตางค์ต่อหน่วย

 

และ กฟผ.ช่วยรับภาระจึงลดลงอยู่ที่ 24.77 สตางค์ต่อหน่วย ส่วนงวดใหม่เบื้องต้นตัวเลขคำนวณยังไม่เปลี่ยนแปลง จึงคาดว่าจะขึ้นประมาณ 40 สตางค์ต่อหน่วย

 

ค่าไฟบ้านหน่วยละกี่บาท 2564


สำหรับในรอบเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมานั้น กกพ. ได้มีมติให้ปรับเพิ่มค่าเอฟที โดยให้เรียกเก็บที่ 24.77 สตางค์ต่อหน่วย ส่งผลให้อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 23.38 สตางค์ต่อหน่วย เป็น 4.00 บาทต่อหน่วย

 

โดยปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อค่าเอฟทีมาจากผลกระทบสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ซึ่งส่งผลต่อวิกฤตราคาพลังงานโลกเพิ่มสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์

 

ทำให้ กกพ. ต้องปรับสมมุติฐานการประมาณการ ค่าเอฟทีใหม่ให้สะท้อนราคาเชื้อเพลิงในสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งเป็นปัจจัยลบเพิ่มเติมจากสถานการณ์ที่ก๊าซธรรมชาติ (LNG) ในอ่าวไทยลดลงในช่วงปลายสัมปทาน 

ลองหยิบบิลค่าไฟฟ้าขึ้นมาดู แล้วจะพบว่าแต่ละบรรทัดมีการชี้แจงว่าค่าบริการต่างๆ มีอะไรบ้าง โดยหลักๆ มีอยู่ 3 ส่วน คือ ค่าไฟฟ้าฐาน, ค่า FT และภาษีมูลค่าเพิ่ม

ผู้ใช้ไฟฟ้าเมื่อไปขอมิเตอร์จะต้องแจ้งการติดตั้งมิเตอร์ตามการใช้งาน โดยแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้

- บ้านอยู่อาศัย
- กิจการขนาดเล็ก
- กิจการขนาดใหญ่
- กิจการเฉพาะอย่าง
- องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร
- สูบน้ำเพื่อการเกษตร
- ผู้ใช้ไฟฟ้าชั่วคราว

ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น คือ ค่าพลังงานไฟฟ้า, ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า, ค่าบริการต่อเดือน และค่า PF

ผู้ขอมิเตอร์ทุกประเภทต้องจ่าย ค่าพลังงานไฟฟ้า และค่าบริการต่อเดือน ส่วนกิจการขนาดกลาง กิจการขนาดใหญ่ และกิจการเฉพาะอย่าง จะต้องจ่ายค่าความต้องการพลังไฟฟ้า และค่า PF

องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร และการสูบน้ำเพื่อการเกษตร จะต้องจ่ายค่าความต้องการพลังไฟฟ้า ตามอัตราการใช้

ค่า FT คือ ค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิง หรือค่าซื้อไฟฟ้าของ กฟผ. และค่าใช้จ่ายตามนโยบายรัฐ มีการปรับปรุงทุกๆ 4 เดือน

3. ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT 7%)

นอกจากการซื้อสินค้าตามห้างร้านที่ต้องจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว ค่าไฟก็เป็นอีกรายจ่ายที่ต้องเสีย VAT 7% เช่นกัน ลองสังเกตที่บิลค่าไฟดู

ยกตัวอย่างอัตราค่าไฟฟ้า “ประเภทที่อยู่อาศัย” ที่ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่เริ่มใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2561 เป็นต้นมา ดังนี้

อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน (ค่าบริการ 8.19 บาท)

  • 15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1-15) หน่วยละ 2.3488 บาท
  • 10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16-25) หน่วยละ 2.9882 บาท
  • 10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26-35) หน่วยละ 3.2405 บาท
  • 65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36-100) หน่วยละ 3.6237 บาท
  • 50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101-150) หน่วยละ 3.7171 บาท
  • 250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151-400) หน่วยละ 4.2218 บาท
  • เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 4.4217 บาท


อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกิน 150 หน่วยต่อเดือน (ค่าบริการ 38.22 บาท)

  • 150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1-150) หน่วยละ 3.2484 บาท
  • 250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151-400) หน่วยละ 4.2218 บาท
  • เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 4.4217 บาท

ค่าพลังงานไฟฟ้าประเภทมิเตอร์อื่นๆ

ค่าไฟบ้านหน่วยละกี่บาท 2564

อยู่ๆ ค่าไฟก็แพงขึ้น ถ้าใช้ไฟจำนวนหน่วยเท่าเดิม ก็แสดงว่าอาจมาจากการปรับเรียกเก็บค่า FT และค่าบริการอื่นๆ แต่หากแพงเกินกว่าเดือนก่อนอย่างมาก ควรสังเกต 2 อย่างต่อไปนี้

หากค่าไฟแพงขึ้น และมีหน่วยการใช้ไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้นจากพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้า เช่น ซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าใหม่ทำให้ต้องจ่ายค่าไฟมากขึ้น หรือเปิดเครื่องปรับอากาศเพราะอากาศร้อน ก็ต้องปรับพฤติกรรม กำหนดชั่วโมงการเปิดปิดเพื่อประหยัดค่าไฟ

2. เครื่องใช้ไฟฟ้าชำรุด ไฟรั่ว

ลองสังเกตเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กินไฟสูงอย่าง หม้อหุงข้าว เครื่องซักผ้า แอร์ เตารีด และอื่นๆ ที่เราใช้เป็นประจำ ว่าเกิดการชำรุด ไฟรั่วบ้างหรือไม่

เครื่องใช้ไฟฟ้าบางอย่างทำให้เกิดค่าไฟสูงเกินความจำเป็น เช่น ตู้เย็นเก่า ไดร์เป่าผมอันเก่า เมื่อคำนวณจำนวนวัตต์การใช้งานต่อวัน บวกกับค่าไฟแล้ว ซื้อใหม่จะคุ้มกว่า เรื่องค่าไฟจึงเป็นเรื่องพื้นฐานที่ควรรู้กันตั้งแต่เด็กๆ วันหนึ่งเมื่อเป็นเจ้าบ้านต้องติดตั้งมิเตอร์จะได้รู้ทันค่าไฟแพง

ค่าไฟฟ้าหน่วยละกี่บาท 2564 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน (ค่าบริการ 8.19 บาท) 15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1-15) หน่วยละ 2.3488 บาท 10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16-25) หน่วยละ 2.9882 บาท 10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26-35) หน่วยละ 3.2405 บาท

ค่าไฟบ้านหน่วยละกี่บาท 2565

ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าแปรผัน (Ft) + ค่าบริการ โดยไฟฟ้าฐานสำหรับบ้านอยู่อาศัย มีอัตราอยู่ที่ 2.3488-4.4217 บาท/หน่วย หากใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วย 3.2484-4.4217 บาท/หน่วย หากใช้ไฟฟ้าเกิน 150 หน่วย

ค่าไฟฟ้ายูนิตละกี่บาท

1.2 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน.

ค่าไฟ100หน่วย กี่บาท

7.1 อัตราปกติ
อัตรารายเดือน
ค่าพลังงานไฟฟ้า(บาท/หน่วย)
100 หน่วย ( กิโลวัตต์ชั่วโมง ) แรก (หน่วยที่ 1-100)
2.0889
เกินกว่า 100 หน่วย (หน่วยที่ 101 เป็นต้นไป)
3.2405
อัตราค่าไฟฟ้า : การไฟฟ้านครหลวง - iEnergyGuruienergyguru.com › iknow › ข้อมูลพลังงาน › mea-electricity-tariffnull