บทความวิชาการต่างจากบทความวิจัยยังไง

สอบถามความแตกต่างของ บทความทางวิขาการและผลงานวิจัย

รบกวนสอบถามพี่ๆ ที่มีความรู้ถึงเรื่องนี้ครับ คือสาเหตุเกิดขึ้นจากผมอ่านเกณฑ์ในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
แล้วพบว่า บทความทางวิชาการและผลงานวิจัยอยู่ในคนละหัวข้อ (ตำแหน่ง ผศ.) ผมอยากทราบว่า
1. 2 อย่างนี้มีความแตกต่างกันอย่างไรครับ
2. ถ้าผลงานประชุมวิชาการ (proceeding) เป็นบทความทางวิชาการหรือผลงานวิจัยครับ
3. แล้ววารสารทางวิชาการ (journal) เป็นบทความทางวิชาการหรือผลงานวิจัยครับ

ปล. คือถ้าในข้อ 2 และ 3 ไม่ใช่ผลงานวิจัย แปลว่า ถ้าจะนำผลงานวิจัยเพื่อขอตำแหน่ง
      ต้องนำงานวิจัยทั้งเล่มวิจัยเผื่อขอตำแหน่งใช่หรือไม่ครับ

ขอบคุณครับ

บทความวิชาการต่างจากบทความวิจัยยังไง

รองศาสตราจารย์ ดร.วรางคณา จันทร์คง
สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทบาทของนักวิชาการ/นักวิจัยที่สำคัญอีกบทบาทหนึ่งคือการเผยแพร่ความรู้ซึ่งอาจทำได้หลายวิธี เช่น การสอนงาน การบรรยาย การสาธิตและการเขียน เมื่อเปรียบเทียบผลกระทบในการเผยแพร่ความรู้จะเห็นได้ว่าการเขียนจะสามารถเผยแพร่ ได้กว้างขวางมากที่สุด อีกทั้งยังคงทนถาวรอีกด้วย การเผยแพร่ความรู้โดยการเขียนสำหรับนักวิชาการ/นักวิจัยนี้ส่วนใหญ่จะทำ ในรูปของงานวิชาการ
“บทความ” (article) เป็นรูปแบบการเขียนประเภทหนึ่ง ที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารข้อเท็จจริง และความคิดเห็นเกี่ยว กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้กับผู้อ่าน เนื้อหานำเสนอจากข้อมูลจริงไม่ใช่เรื่องแต่งหรือคิดขึ้นจากจินตนาการ มีลักษณะเป็นข้อเขียน ขนาดสั้น สำหรับ “บทความทางวิชาการ”(academic article) มีผู้ให้ความหมายไว้ใกล้เคียงกัน อาจกล่าวได้ว่า “บทความทาง วิชาการ” หมายถึง งานเขียนวิชาการซึ่งมีการวิเคราะห์ประเด็นตามหลักวิชาการโดยมีการสำรวจวรรณกรรมและวิเคราะห์อย่าง เป็นระบบ เพื่อสนับสนุนจนสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ในประเด็นนั้นได้ โดยรูปแบบประกอบด้วยการนำความที่แสดงเหตุผล หรือที่มีของประเด็นที่ต้องการอธิบายหรือวิเคราะห์ กระบวนการอธิบายหรือวิเคราะห์และบทสรุป มีการอ้างอิงบรรณานุกรมที่ ครบถ้วนและสมบูรณ์ โดย บทความวิชาการจะมีลักษณะเฉพาะอยู่หลายประการ คือ

  1. ต้องเป็นเรื่องที่ผู้อ่านส่วนมากกำลังสนใจอยู่ในขณะนั้น อาจเป็นปัญหาที่กำลังอยากรู้ว่าจะดำเนินต่อไปอย่างไร หรือมี ผลเช่นไร หรือเป็นเรื่องที่สอดคล้องกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ หรือเข้ายุคเข้าสมัย
  2. ต้องมีสาระ มีแก่นสาร อ่านแล้วได้ความรู้หรือความคิดเพิ่มเติมมิใช่เรื่องเลื่อนลอย เหลวไหล ไร้สาระ
  3. ต้องมีทัศนะ ข้อคิดเห็น ข้อวินิจฉัยของผู้เขียนแทรกอยู่ด้วย
  4. มีวิธีการเขียนที่ชวนให้อ่าน ทำให้เพลิดเพลินและชวนคิด
  5. เนื้อหาสาระและวิธีเขียนเหมาะแก่ผู้อ่านระดับที่มีการศึกษา ทั้งนี้เพราะผู้อ่านที่มีการศึกษาน้อย มักจะไม่อ่าน บทความแต่จะอ่านข่าวสดมากกว่า
    สำาหรับ “บทความวิจัย” เป็นบทความที่เป็นผลงานต่อเนื่อง สกัดมาจากงานวิจัย บทความประเภทนี้ เป็นบทความที่ ประมวลสรุปกระบวนการวิจัยให้มีความกระชับและสั้นสำหรับนำเสนอ ในในวารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ หรือที่ประชุมสัมมนา โดยการ พิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยต้องผ่านการตรวจสอบเนื้อหาสาระ และรูปแบบการจัดพิมพ์ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของวารสาร หรือคณะกรรมการประเมิน
    องค์ประกอบของบทความ บทความโดยทั่วไปจะมีเนื้อหาที่สำคัญอยู่ 3 ส่วนคือ1) ส่วนประกอบตอนต้นหรือส่วนนำ 2) ส่วนเนื้อหา และ3)ส่วนท้าย การเขียนงานวิชาการแต่ละประเภทนั้น จะมีเทคนิคและวิธีการที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยในส่วนของบทความทางวิชาการ และบทความวิจัย ก็จะมีองค์ประกอบต่างกัน ทั้งนี้สามารถสรุปในเชิงเปรียบเทียบระหว่างบทความวิชาการและบทความวิจัย ได้

Share:

ขอคำปรึกษา

บทความวิชาการต่างจากบทความวิจัยยังไง

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

บทความวิชาการต่างจากบทความวิจัยยังไง

เคล็ด(ไม่)ลับจัดลำดับงานสุดปัง

ในโลกการทำงานยุคใหม่ ปัญหาที่หลาย ๆ คนต้องเจอคือการจัดระบบเวลาในชีวิตและการทำงาน เพราะมีปัจจัยเยอะมากที่พร้อมกินเวลาของเราไป ไม่ว่าจะเป็นรถติด รถไฟฟ้าเสีย ฝนตก น้ำท่วม และรวมถึงงานที่เข้ามากองรวมกันมากมาย ถึงแม้จะเคลียร์วันนี้ไปได้แล้ว แต่พรุ่งนี้ก็ได้รับงานมาเพิ่มอีก ปัญหาพวกนี้ทำให้ทั้งการทำงานและชีวิตวุ่นวาย จัดการได้ยาก ฉะนั่นวันนี้แอดจะมาแชร์เคล็ด(ไม่)ลับจัดลำดับงานสุดปัง ซึ่งสามารถเริ่มได้จากการแบ่งงานเป็น 4 หมวดและจัดการให้เหมาะกับดังนี้ 1. งานสำคัญและเร่งด่วน :  งานกลุ่มนี้จะเป็นงานที่ ถ้าไม่ดำเนินการก็จะมีปัญหาหรือเกิดวิกฤตขึ้น อาจเกิดผลกระทบมากมาย ไม่คุ้มที่จะรอไว้ก่อน

บทความวิชาการต่างจากบทความวิจัยยังไง

เคล็ด(ไม่)ลับจัดลำดับงานสุดปัง

ในโลกการทำงานยุคใหม่ ปัญหาที่หลาย ๆ คนต้องเจอคือการจัดระบบเวลาในชีวิตและการทำงาน เพราะมีปัจจัยเยอะมากที่พร้อมกินเวลาของเราไป ไม่ว่าจะเป็นรถติด รถไฟฟ้าเสีย ฝนตก น้ำท่วม และรวมถึงงานที่เข้ามากองรวมกันมากมาย ถึงแม้จะเคลียร์วันนี้ไปได้แล้ว แต่พรุ่งนี้ก็ได้รับงานมาเพิ่มอีก ปัญหาพวกนี้ทำให้ทั้งการทำงานและชีวิตวุ่นวาย จัดการได้ยาก ฉะนั่นวันนี้แอดจะมาแชร์เคล็ด(ไม่)ลับจัดลำดับงานสุดปัง ซึ่งสามารถเริ่มได้จากการแบ่งงานเป็น 4 หมวดและจัดการให้เหมาะกับดังนี้ 1. งานสำคัญและเร่งด่วน :  งานกลุ่มนี้จะเป็นงานที่ ถ้าไม่ดำเนินการก็จะมีปัญหาหรือเกิดวิกฤตขึ้น อาจเกิดผลกระทบมากมาย ไม่คุ้มที่จะรอไว้ก่อน

บทความวิชาการต่างจากบทความวิจัยยังไง

6 เทคนิค วางแผนเขียนงานวิจัยให้สำเร็จ !

1. วางแผนเกี่ยวกับ ME ต้องรู้จักเราให้ดีพอ เพื่อที่จะวางแผนการเตรียมข้อมูลที่ตั้งใจไว้ ตั้งแต่ศึกษารายปีที่ 1 เพื่อที่เราจะได้เตรียมงานในแต่ละขั้นตอนอย่างละเอียด และสิ่งที่สำคัญคือจะต้องปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างสม่ำเสมอ เมื่อทุกอย่างเอื้ออำนวยไปพร้อมๆกันเราจะสามารถทำวิจัยได้ระดับดีมากค่ะ 2. การวางแผนการทำวิจัย เริ่มจากการศึกษาค้นคว้าเอกสาร ต้องอ่านเอกสารที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับวิจัยที่ทำและเก็บรวบรวมให้ได้มากที่สุด แล้วจึงตัดออกภายหลังค่ะ จากนั้นสร้างเครื่องมือรวบรวมความคิดเห็นจากผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญหลายคนเพื่อใช้ในการสรุปการวิเคราะห์ข้อมูลจะสรุปโดยยึดวัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็นหลัก และสรุปให้ตรงประเด็น/ชัดเจนตามความเป็นจริงที่เราเก็บข้อมูลมาเลยค่ะ ในส่วนของการอภิปรายผลนั้น แนะนำเลยนะคะให้อภิปรายตามข้อค้นพบที่ได้ จากนั้นลงมือเขียน 3. การวางแผนเกี่ยวกับคน MAN หรืออาจารย์นั้นเองค่ะ บุคคลสำคัญในการทำงานงานวิจัยให้แล้วเสร็จโดยง่าย ซึ่งหลักในการเลือกพิจารณาจาก * ต้องมีความรู้ในงานบริหารโครงการวิจัย เพื่อดูภาพรวมให้เรา 5 บท * อาจารย์ในสาขา ที่มีความรู้ในเรื่องที่เราจะทำ อาจารย์จะดูให้ คือ บทที่ 1,2 และ5  * อาจารย์ที่เกี่ยวกับกระบวนการวิจัย หรือการประเมิน คือ อาจารย์จะดูบทที่ 3,4 ให้เราค่ะ * อาจารย์ทั้งหมดต้องทำงานกันเป็นทีม พูดภาษาเดียวกัน ไม่ตีกัน เท่านี้เราก็วางใจว่าเราจบได้แล้วค่ะ 4. Money การเตรียมเงินไว้สำหรับทำวิจัย 1. IS 15,000-30,000 บาท 2. Thesis 30,000-70,000 บาท 3. Dissertation 100,000 บาท ขึ้นไป จำนวนเงินที่บอกจะเป็นค่าถ่ายเอกสาร ค่าหนังสือ ค่าบทความ ค่าจ้างพิมพ์งานค่าเดินทาง ค่าจ้างเก็บข้อมูล ค่าวิเคราะห์ ค่าทำเล่ม ค่านำเสนอผลงานวิจัย และอื่น ๆ 5. การบริหารเวลาการทำวิจัย มีกลยุทธ์ที่สำคัญคือ มีการร่วมกันกับอาจารย์ที่ปรึกษาวางแผนตารางเวลานัดหมาย มีการค้นคว้าเอกสารตลอดเวลาที่ว่างโดยค้นคว้าเอกสารในห้องสมุดทุกวันแล้วจดบันทึกสรุปรายละเอียด มีการจัดสรรเวลาในการเขียนวิจัยอย่างต่อเนื่อง 6. MATERIALS การเตรียมเรื่องเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วางแผนในการสืบค้น การสังเคราะห์ และการเขียนงานวิจัย ซึ่งประกอบด้วย การเขียนให้กระชับชัดเจน รัดกุม ถูกต้องตามหลักภาษาและอย่าเขียนให้เกิดข้อสงสัยมีการเชื่อมโยงต่อเนื่องกันทุกบท และนี่คือ 6 เทคนิค วางแผนเขียนงานวิจัยให้สำเร็จ ! เชื่อว่าหากเพื่อนๆ นำเทคนิคเหล่านี้ไปบ้าง จะทำให้คุณพิชิตงานวิจัยจนสำเร็จง่ายขึ้นแน่นอนค่ะ หากติดปัญหาทำวิจัย วิทยานิพนธ์ขั้นตอนใดๆ สามารถติดต่อขอความช่วยเหลือได้เสมอนะคะ 🙂

บทความวิชาการต่างจากบทความวิจัยยังไง

ก่อนตัดสินใจต้องรู้ ข้อดีข้อเสียการเรียนปริญญาเอก

ถึงเพื่อนๆที่กำลังลังเลอยู่ว่าจะเรียนปริญญาเอกดีไหม? ลองมาดูข้อดีข้อเสียของการเรียนปริญญาเอกกันอีกสักครั้งก่อนการตัดสินใจครั้งสุดท้ายนะคะ มันอาจทำให้อะไร ๆ ชัดเจนมากยิ่งขึ้นค่ะ “ข้อดี” 1. วิชาที่ถูกออกแบบมาเพื่อคุณ เพื่อน ๆ จะได้เจาะลึกลงไปในขอบเขตที่ไม่คุ้นเคย จะได้ผลักดันตัวเองให้ลองสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ที่จะเป็นประโยชน์และอาจสร้างความแตกต่างได้ค่ะ มันเปิดโอกาสให้เพื่อน ๆ ได้ใช้ศักยภาพที่ยิ่งใหญ่ของความคิดตัวเอง ค้นคว้าและวิจัย เพื่อน ๆ จะเป็นคนที่ขยายขอบเขตความรู้ของมนุษย์ในเรื่องที่ศึกษา 2. มุมมองต่อโลก มุมมองของโลกที่เพื่อน ๆ เห็นจะเปลี่ยนไปตลอดกาลค่ะ