ธนาคารโลกต้องเสียภาษีอย่างไร

ธนาคารโลกต้องเสียภาษีอย่างไร

อ้างอิงจากการจัดอันดับ 50 มหาเศรษฐีไทย ประจำปี 2564 ของนิตยสาร Forbes พบว่าเศรษฐีทั้งหมดร่ำรวยกว่าปีก่อนถึง 20% ขณะที่ประเทศไทยกำลังเผชิญกับหนี้สินกว่า 1.4 ล้านล้านบาท เนื่องจากต้องบริหารสถานการณ์ COVID-19 ทั้งในการดำเนินมาตรการรับมือ และการป้องกันโรค ดังนั้น การขึ้นภาษี ‘คนรวย’ เพื่อนำเงินมาบริหารจัดการอาจเป็นหนึ่งในทางออกที่น่าสนใจ

คิม เอ็ดเวิร์ดส์ นักเศรษฐศาสตร์อาวุโสของธนาคารโลก (World Bank) กล่าวว่า ไทยอาจต้องขึ้นภาษีคนรวยเพิ่มขึ้นเพื่อจัดการกับเงินกู้ยืมของรัฐบาลจำนวน 45,000 ล้านดอลลาร์หรือกว่า 1.4 ล้านล้านบาทที่เกิดขึ้นในช่วงการระบาดของ COVID-19 เพื่อนำไปบริหารจัดการบรรเทาการระบาดที่กำลังเพิ่มขึ้นอย่างมาก

ไทย ถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเท่าเทียมกันน้อยที่สุดในเอเชีย โดยมีมหาเศรษฐีถึง 52 คน ตามรายงานของ Hurun Rich Listซึ่งมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากกว่าเศรษฐีในประเทศอิตาลี ญี่ปุ่น และสิงคโปร์ ขณะที่มหาเศรษฐีหลายคนมีทรัพย์สินเพิ่มมากขึ้นในช่วงการระบาด อาทิ ธนินท์ เจียรวนนท์ มหาเศรษฐีเบอร์ 1 ของประเทศไทย ด้วยทรัพย์สินสุทธิ 18.1 พันล้านดอลลาร์

ในทางกลับกัน คนไทยหลายล้านคนตกงาน รวมถึงกองทัพแรงงานนอกระบบจำนวนนับไม่ถ้วน ตั้งแต่คนขับรถตุ๊กตุ๊กไปจนถึงคนขายของตามท้องถนน ในขณะที่หนี้ครัวเรือนเพิ่มขึ้นเป็น 90% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ขณะที่อัตราภาษียังคงค่อนข้างต่ำ ซึ่งรวมถึงภาษีนิติบุคคลที่ 20% ขณะที่ประเทศเพื่อนบ้านอย่างมาเลเซียมีอัตราภาษีนิติบุคคล 24% ในขณะที่ฟิลิปปินส์สูงถึง 30% มีเพียงสิงคโปร์และบรูไนเท่านั้นที่มีอัตราที่ต่ำกว่าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในขณะที่กำไรจากการขายสินทรัพย์ไม่ต้องเสียภาษีในประเทศไทย

ธนาคารโลกต้องเสียภาษีอย่างไร
ธนินท์ เจียรวนนท์ มหาเศรษฐีเบอร์ 1 ของประเทศไทย

ด้วยหนี้นับล้านล้านและความเสี่ยงของไวรัสสายพันธุ์ใหม่ ประกอบกับการเปิดตัววัคซีนที่ยังติดขัด ธนาคารโลกเตือนว่ารัฐบาลอาจถูกบังคับให้กลับไปที่ธนาคารเพื่อ กู้เงินสดเพิ่ม เพื่อป้อนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ

“การเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่ช่วยให้ไทยสามารถพยุงสถานะทางการเงิน ดังนั้น อาจเพิ่มอัตราภาษีจากบุคคลที่มีความมั่งคั่งสูงสุด รวมถึงภาษีจากกำไรของการขายทรัพย์สิน และทำการปฏิรูปมาตรการลดหย่อนต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ อาจจะช่วยบรรเทาปัญหาการขาดดุลงบประมาณของรัฐบาลได้”

ทั้งนี้ ในการติดตามเศรษฐกิจไทย ธนาคารโลกคาดว่าเศรษฐกิจของประเทศไทยสามารถเติบโตได้ 2.2% หากสามารถควบคุมสถานการณ์ได้เร็ว แต่ถ้าไม่อาจเติบโตเพียง 1.2% ขณะที่ปัจจุบัน ผู้ติดเชื้อในประเทศทุละ 1 หมื่นรายต่อวัน ติดเชื้อสะสมกว่า 3 แสนราย และเสียชีวิตแล้วเกือบ 3 พันราย ขณะที่ผู้ที่ได้รับวัคซีนมีประมาณ 3.4 ล้านคนหรือเพียง 4.8% ของประชากรเกือบ 70 ล้านคน

Source


ธนาคารโลกแนะนำให้รัฐบาลไทยพิจารณาปรับขึ้นอัตราภาษีเงินได้สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เพื่อนำไปช่วยชำระหนี้มูลค่าราว 45,000 ล้านดอลลาร์ หรือ ประมาณ 1.4 ล้านล้านบาท ซึ่งเกิดขึ้นจากการดำเนินมาตรการรับมือและป้องกันการระบาดของโควิด-19 อันรวมถึงค่าใช้จ่ายด้านวัคซีนด้วย

รายงานข่าวที่อ้างข้อมูลของ Hurun Rich List ที่รวบรวมรายชื่อผู้มีฐานะร่ำรวยทั่วโลก ระบุว่า ประเทศไทยมีมหาเศรษฐีระดับพันล้านดอลลาร์อยู่ถึง 52 คน ซึ่งเป็นตัวเลขสูงที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และสูงกว่าอิตาลี ญี่ปุ่น และสิงคโปร์ด้วย ขณะที่หลายรายเดินหน้าขยายความมั่งคั่งของตนเพิ่มอีกหลายเท่าในช่วงที่เกิดการระบาดของโควิด-19 อาทิ นายธนินท์ เจียรวนนท์ ผู้ก่อตั้งเครือเจริญโภคภัณฑ์ และผู้ที่ได้ชื่อว่าร่ำรวยที่สุดในประเทศไทย ด้วยมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ 18,100 ล้านดอลลาร์ ตามข้อมูลการจัดอันดับประจำปี 2021 ของนิตยสารฟอร์บส

ธนาคารโลกต้องเสียภาษีอย่างไร

Dhanin Chearavanont, chairman of Thailand's largest agribusiness group, Charoen Pokphand Food in Bangkok March 15, 2013.

ในทางกลับกัน ชาวไทยนับล้านคนตกอยู่ในภาวะว่างงานในเวลานี้ ขณะที่ภาระหนี้สินครัวเรือนพุ่งถึงระดับ 90 เปอร์เซ็นต์ของจีดีพีประเทศไปแล้ว

ขณะเดียวกัน อัตราภาษีที่รัฐบาลเรียกเก็บจากประชาชนนั้นยังอยู่ในระดับที่ถือว่าต่ำ แม้แต่ภาษีนิติบุคคลที่จัดเก็บอยู่ที่ 20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคแล้ว มีเพียงสิงคโปร์และบรูไนเท่านั้นที่มีอัตราภาษีนิติบุคคลที่ต่ำกว่า

นอกจากนั้น รัฐบาลไทยยังไม่มีการเรียกเก็บภาษีจากกำไรที่ได้จากการขายสินทรัพย์ (Capital Gain) ด้วย

ภายใต้สภาวะหนี้พุ่งสูงและการแพร่กระจายของเชื้อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์เดลตา ขณะที่การแจกจ่ายวัคซีนโควิด-19 ยังเป็นไปอย่างล่าช้านี้ ธนาคารโลกเตือนว่า รัฐบาลไทยอาจจำเป็นต้องพิจารณากู้ยืมเงินจากธนาคารมาอัดฉีดเข้าระบบเศรษฐกิจเพิ่มเติมอีกในไม่ช้านี้แล้ว

คิม เอ็ดเวิร์ดส นักเศรษฐศาสตร์อาวุโสของธนาคารโลก แนะนำว่า รัฐบาลไทยน่าจะลองจัดเก็บรายได้เพิ่มจาก ”บุคคลที่มีความมั่งคั่งสุทธิสูง” และทำการปฏิรูป “มาตรการลดหย่อนแบบหน้าใหญ่ใจโต” บางรายการดูบ้าง เพราะว่า การจัดเก็บรายได้ภาษีบุคคลธรรมดานั้นไม่น่าจะเพียงพอเพื่อมาช่วยพยุงฐานะทางการเงินของรัฐ ดังนั้น การเรียกเก็บภาษีให้ถูกต้องตามกฎหมาย รวมทั้งการปรับขึ้นอัตราภาษีช่วงบน และการเพิ่มอัตราภาษีสำหรับกำไรจากการขายสินทรัพย์ น่าจะสามารถช่วยบรรเทาปัญหาการขาดดุลงบประมาณได้

ทั้งนี้ ในรายงาน Thailand Economic Monitor – the Road to Recovery นั้น ธนาคารโลกประเมินว่า เศรษฐกิจไทยน่าจะขยายตัวในอัตรา 2.2 เปอร์เซ็นต์ในปีนี้ หากสามารถเข้าควบคุมการระบาดของโควิด-19 ได้ หลังจากมีผู้เสียชีวิตเพิ่มถึง 2,938 คน และผู้ติดเชื้อใหม่ถึงกว่า 343,000 คนนับตั้งแต่เมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา ขณะที่เชื้อไวรัสสายพันธุ์อัลฟาและเดลตากำลังแพร่กระจายไปทั่วประเทศอยู่

ธนาคารโลกต้องเสียภาษีอะไร

ภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามมาตรา 66 แห่งประมวลรัษฎากร สถาบันฯ จึงมีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 1 ตามมาตรา 69 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร กรณีที่ธนาคารโลกโอนเงินให้แก่บริษัทคู่สัญญาในประเทศไทยโดยตรงเป็นค่าสินค้าเป็น

กรณีใดบ้างที่กฎหมายกําหนดให้รอบระยะเวลาบัญชีไม่ต้องครบ 12 เดือน

(3) กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิกกิจการหรือควบเข้ากัน บริษัทฯ ที่เลิกกิจการหรือควบเข้ากัน รอบระยะเวลาบัญชีปีที่เลิกกิจการอาจไม่ถึง 12 เดือนก็ได้ และตามประมวลรัษฎากรให้ถือวันที่นายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทรับจดทะเบียนเลิกหรือควบเข้ากันเป็นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี (มาตรา 72 วรรคสอง และมาตรา 73)

รายจ่ายใดต่อไปนี้ ห้ามนำมาหักเป็นรายจ่ายทั้งจำนวน

รายจ่ายแบบแรกที่ห้ามนำไปหักภาษีเด็ดขาดคือรายจ่ายของผู้บริหารบริษัทที่อยู่นอกระเบียบบริษัท เช่น ค่าน้ำมัน เงินช่วยเหลืองานบุญ งานบวช หรือกระทั่งงานศพของพนักงาน เป็นต้น รายจ่ายแบบนี้ ถ้าไม่มีกำหนดในระเบียบชัดเจน ห้ามนำมาหักภาษีเด็ดขาด เพราะถือว่าเป็นรายจ่ายที่เกิดขึ้นตามอำเภอใจและเป็นรายจ่ายส่วนตัวของผู้บริหารบริษัทเอง ...

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย มีอะไรบ้าง

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามกฎหมายไทย บริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลแล้ว บริษัทมหาชน