สภาพ สังคมชมพูทวีปมีส่วนช่วยให้ เจ้า ชาย สิ ท ธั ต ถะ ออกผนวชอย่างไร

ในสมัยโบราณ ประเทศอินเดีย ถูกเรียกว่า “ชมพูทวีป” โดยพลเมืองที่อาศัยอยู่ในชมพูทวีป มีอยู่ ๒ พวกด้วยกัน คือ

๑. พวกมิลักขะ คือ ชนชาวพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในดินแดนถิ่นนั้นมาก่อน

๒. พวกอริยกะ คือ ชนที่อพยพเข้ามาภายหลัง แล้วรุกไล่พวกมิลักขะซึ่งเป็นเจ้าของถิ่นเดิมให้ถอยร่นลงมาทางใต้ จากนั้นพวกอริยกะจึงเข้าตั้งถิ่นฐานในชมพูทวีปแทน พวกอริยกะนี้ฉลาดกว่าพวกมิลักขะ ทำให้มีอำนาจมากกว่าพวกมิลักขะเจ้าของถิ่นเดิม จึงสามารถตั้งบ้านเมืองและปกครองได้ดีกว่า

จากความแตกต่างทางลักษณะของชาติพันธุ์ทำให้ชมพูทวีปถูกแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนคือ

๑. มัชฌิมชนบท หรือมัธยมประเทศ แปลว่า ประเทศกลาง หรืออาณาเขตที่เป็นส่วนกลาง

๒. ปัจจันตชนบท หรือปัจจันตประเทศ แปลว่า ประเทศปลายแดน หรืออาณาเขตที่เป็นส่วนรอบนอก ปัจจุบันได้แก่ ประเทศอินเดีย ปากีสถาน และเนปาล

สาเหตุที่เรียกว่า ‘มัชฌิมชนบท' และ ‘ปัจจันตชนบท' นั้น มีผู้สันนิษฐานว่า พวกอริยกะที่มาตั้งถิ่นฐานในชมพูทวีป คงจะเรียกอาณาเขตที่ตนเข้าตั้งบ้านเมือง และเป็นศูนย์กลางแห่งการปกครองว่า ‘มัชฌิมชนบท' และเรียกชนบทที่พวกมิลักขะตั้งอยู่นอกอาณาเขตของตนว่า ‘ปัจจันตชนบท'

พลเมืองในชมพูทวีปนั้น ได้จัดระดับของความเป็นอยู่เอาไว้ ๔ จำพวกด้วยกัน โดยพลเมืองแต่ละคนจะถูกจัดให้อยู่ในแต่ละชั้นวรรณะ ซึ่งระบบดังกล่าวนี้เรียกว่า “วรรณะ ๔” ประกอบด้วย

๑. กษัตริย์ คือ ชนชั้นปกครอง นักรบ

๒. พราหมณ์ คือ ชนชั้นผู้ศึกษาคัมภีร์ไตรเพท นักสอน นักบวช

๓. แพศย์ คือ ชนชั้นกรรมาชีพ พวกพ่อค้า หรือพวกกสิกรรม

๔. ศูทร คือ ชนชั้นใช้แรงงานชั้นต่ำ พวกคนรับใช้

นอกจากวรรณะทั้ง ๔ นี้แล้ว ยังมีอีกคนอีกจำพวกหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็น ชนชั้นที่ต่ำที่สุด ซึ่งคนในสังคมถือว่าคนเลว และเป็นที่ดูหมิ่นของคนมีชาติสกุล ซึ่งคนจำพวกนี้คือ “จัณฑาล” พวกจัณฑาลนั้น เกิดจากมารดาบิดาที่ต่างวรรณะกัน กล่าวคือ เมื่อคนวรรณะหนึ่ง สมสู่กับคนวรรณะอื่นที่ต่างไปจากพวกของตน เช่น พวกพราหมณ์ได้กับศูทร แล้วเกิดมีบุตรออกมา ก็จัดเป็นพวก “จัณฑาล”

ดินแดนชมพูทวีปมีลักษณะทางสังคมอย่างไร

ลักษณะทางสังคม การปกครอง สมัยก่อนพุทธกาล ชาวชมพูทวีปมักจะปกครองกันโดยสามัคคีธรรม คือ พระราชวงศ์ ชั้นผู้ใหญ่และประชาชนมีสิทธิในการปกครองด้วย เมื่อกษัตริย์ผู้ปกครองทรงประพฤติผิดราชธรรม ประชาชนก็อาจทูลเชิญให้สละราชสมบัติได้ อาจทูลเชิญให้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง กษัตริย์ในสมัยนั้นจึงยังไม่มีอำนาจมาก

ลักษณะสังคมของชมพูทวีปในสมัยก่อนพุทธกาลเป็นอย่างไร

สมัยก่อนพุทธกาล ชาวชมพูทวีปมักจะปกครองกันโดยสามัคคีธรรม คือ พระราชวงศ์ ชั้นผู้ใหญ่และประชาชนมีสิทธิในการปกครองด้วย เมื่อกษัตริย์ผู้ปกครองทรงประพฤติผิดราชธรรม ประชาชนก็อาจทูลเชิญให้สละราชสมบัติได้ อาจทูลเชิญให้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง กษัตริย์ในสมัยนั้นจึงยังไม่มีอำนาจมาก ครั้นต่อมาถึงสมัยพุทธกาล จึงมีการปกครองแบบสมบูร ...

ชมพูทวีปแบ่งออกเป็นกี่ส่วน อะไรบ้าง

ชมพูทวีปในยุคก่อนพุทธกาลและยุคพุทธกาล มีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๒ ส่วนใหญ่ ๆ คือ ส่วนกลาง เรียกว่า มัชฌิมชนบท (มัธยมประเทศ) ส่วนนอก เรียกว่า ปัจจันตชนบท (ปัจจันตประเทศ) มัชฌิมชนบทอือเมืองที่พวกอารยันส่วนใหญ่อาศัยอยู่ ส่วนปัจจันตชนบทคือเมืองที่พวกชนพื้นเมืองแต่ดั้งเดิม อาศัยอยู่ โดยเฉพาะมัชฌิมชนบทมีอาณาเขตครอบคลุม ...

เพราะเหตุใดสังคมชมพูทวีปจึงมีรูปแบบการแบ่งชนชั้นวรรณะ

สภาพสังคมอินเดียได้จัดแบ่งผู้คนออกเป็นชนชั้นเรียกว่า “วรรณะเพราะตามความเชื่อ ทางศาสนาพราหมณ์ถือเอาเชื้อชาติเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง คนเกิดในวรรณะใดจะมีสิทธิและ แนวทางด าเนินชีวิตตามหลักค าสอนที่ได้วางไว้โดยขัดขืนไม่ได้ ระบบวรรณะนั้นชาวอินเดียถือว่า ถูกก าหนดไว้ตายตัวโดยพระผู้เป็นเจ้า การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางสังคม เช่น คน ...

ดินแดนชมพูทวีปมีลักษณะทางสังคมอย่างไร ลักษณะสังคมของชมพูทวีปในสมัยก่อนพุทธกาลเป็นอย่างไร ชมพูทวีปแบ่งออกเป็นกี่ส่วน อะไรบ้าง เพราะเหตุใดสังคมชมพูทวีปจึงมีรูปแบบการแบ่งชนชั้นวรรณะ แคว้นต่างๆ ในชมพูทวีปสมัยก่อนพระพุทธเจ้ามีการปกครองแบบใดเป็นส่วนใหญ่ ระบบวรรณะใดที่เป็นพวกนักรบ นักปกครอง พระพุทธเจ้า ทรงเตือนพวกพราหมณ์อย่างไร ในเรื่องวรรณะ การปกครองแบบสามัคคีธรรมในการบริหารประเทศจะประสบความสําเร็จ ต้องใช้หลักธรรมใด มัชฌิมชนบท มีกี่แคว้น การทำพิธีบูชายัญ บวงสรวงเทพเจ้า เกิดจากสาเหตุปัจจัยใดของคติความเชื่อของสังคมชมพูทวีปก่อนพุทธกาล เพราะเหตุใด สังคมชมพูทวีปจึงมีชนชั้นวรรณะ