การบำรุงรักษาวัดสามารถทำได้อย่างไรบ้าง

       หากบุคลากร์ในองค์กรใด ปล่อยปละละเลยวัสดุสิ่งของที่เป็นขององค์กรต่างคนต่างนิ่งดูดาย เพราะเห็นว่าไม่ใช่หน้าที่ที่ตนรับผิดชอบแล้ว ความหายนะล้มมละลายย่อมมาเยือนองค์กรนั้นๆ แต่เหตุสำคัญที่จะทำให้องค์กรล้มละลายพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจาได้ตรัสไว้ใน กุลสูตร อังคุตตรนิกาย จตุกนิบาต สรุปความได้ดังนี้

หน่วย รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ

ชั่วโมง การบำเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน

เรื่อง การบำเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน 28 ส.ค. 2563

การดูแลรักษาเครื่องมือวัดและเทคนิคการดูแลเครื่องมือวัดแบบง่ายๆ

  • อีเมล

  

การบำรุงรักษาวัดสามารถทำได้อย่างไรบ้าง
การบำรุงรักษาวัดสามารถทำได้อย่างไรบ้าง

การดูแลรักษาเครื่องมือวัดและเทคนิคการดูแลเครื่องมือวัดแบบง่ายๆ

1. ทำความสะอาดชิ้นงาน โดยขจัดสิ่งสกปรก, เศษผงออกให้หมดก่อนวัดงาน

2. รักษาเครื่องมือวัด ให้สะอาด และควรมีน้ำมันกันสนิมเคลือบบางๆ ก่อนเก็บเข้ากล่อง เช่น Hardness Tester 

3. ใช้ แรงกด วัดชิ้นงานอย่างเหมาะสม อย่าฝืน, กดหรือบีบอัดแรงๆ เช่น เครื่องวัดความหนา, เครื่องวัดแรงดึงแรงกด

4. ป้องกัน เครื่องมือวัด ไม่ให้เกิดสนิม, การกระแทก, การกดทับ, การตกจากที่สูง หรือสิ่งใดๆที่จะทำให้เกิดความเสียหาย

5. เช็คหรือ คาลิเบรท  เมื่อถึงเวลาที่กำหนดแค่นี้เครื่องมือวัดจะอยู่กับคุณไปอีกนาน เช่น pH Meter  

             

การบำรุงรักษาวัดสามารถทำได้อย่างไรบ้าง
การบำรุงรักษาวัดสามารถทำได้อย่างไรบ้าง
   

 

 

Knowledge ความรู้

Share this post

Tags: เครื่องมือวัด pH Meter คาลิเบรท เครื่องวัดความหนา เครื่องวัดแรงดึงแรงกด

1. ก้าวเท้าขวาเข้ามัสยิด พลางกล่าวว่า “บิสมิลลาฮฺ อัลลอฮุมมะศอลลิอะลามุฮัมมัด อัลลอฮุมมะอัฟตะฮฺลี อับวาบะเราะฮฺมะติ๊ก”

7.ก้าวเท้าซ้ายออกจากมัสยิด พลางกล่าวว่า “อัลลอฮุมมะศอลลิอะลามุฮัมมัด อัลลอฮุมมะอัฟตะลี อับวาบะฟัฎลิก ”


2. ถอดรองเท้าก่อนเข้ามัสยิด และนำไปไว้ยังสถานที่ ๆ ได้สำรองไว้ หากจะนำรองเท้าเข้าไปด้วย ก็ต้องเช็ดสิ่งสกปรกที่พื้นรองเท้าเสียก่อน แล้วเอาด้านพื้นรองเท้าประกบกันแล้ววางลงที่ข้าง ๆ หรือด้านหน้าที่ตนนั่งหรือละหมาด


3. ก่อนเข้ามัสยิด ต้องทำความสะอาดปากให้หมดกลิ่น หากกินหัวหอมหรือกระเทียม และอาหารที่มีกลิ่นฉุน


4. ห้ามทิ้งหรือทำสิ่งสกปรกในมัสยิด โดยเฉพาะนะยิส (สิ่งสกปรกตามหลักการศาสนา) เช่น เดินด้วยรองเท้าที่เปื้อนนะยิส เป็นต้น


5. ห้ามถ่มน้ำลาย หรือสั่งน้ำมูก หรือเสมหะ ในมัสยิด หรือเช็ดและป้ายสิ่งน่าเกลียดเหล่านี้ที่พรมหรือที่ประตูมัสยิด รวมทั้งในที่ที่อาบน้ำละหมาด ซึ่งอยู่ในมัสยิด และหากพบก็ต้องรีบทำความสะอาดหรือนำออกไปจากมัสยิดทันที


6. พึงหลีกเลี่ยงการวิ่งเล่นหรือทำเสียงดังในมัสยิด แม้เป็นการอ่านอัลกุรอานก็ตาม เพราะจะเป็นการรบกวนผู้ที่กำลังละหมาดหรือกำลังอบรมศาสนากันอยู่


7. ห้ามรับประทานอาหาร หรือนอนในมัสยิด และต้องละเว้นโดยสิ้นเชิงที่จะทำบาปในมัสยิด เช่น การนินทาให้ร้าย ยุแหย่ พูดเท็จและถูกคนอื่น เป็นต้น


8. ไม่ควรนำเด็กอ่อนเข้ามัสยิด แต่เมื่อเด็กรู้เดียงสาโดยเฉพาะเมื่ออายุได้ 7 ขวบ ควรนำเข้ายังมัสยิดด้วย เพื่อเป็นการฝึกหัดการทำอิบาดะฮฺ (ศาสนกิจ) ในมัสยิดและรักมัสยิด



9. สำหรับสุภาพสตรีโดยเฉพาะยังสาว ๆ ที่จะเดินทางไปยังมัสยิด ไม่ควรใส่ของหอมหรือแต่งตัวจนเกินงาม และควรจัดสถานที่เข้าออกหรือที่ละหมาดเฉพาะให้กับสุภาพสตรี เพื่อจะได้ไม่ปะปนและเบียดเสียดกับผู้ชาย

ประเทศไทยมีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติและผสมผสานกลมกลืนกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย จนไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ดังนั้น ความเจริญหรือความเสื่อมของพระพุทธศาสนาย่อมมีผลกระทบต่อสังคมไทยด้วย

กล่าวคือ เมื่อพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง บุคคลในสังคมย่อมมีศีลธรรม
อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสงบสุข แต่ในทางกลับกัน ถ้าพระพุทธศาสนาเสื่อมลง ผู้คนก็จะขาดศีลธรรมอยู่อย่างเอารัดเอาเปรียบกัน สังคมก็ย่อมเดือดร้อน

ดังนั้น ในฐานะที่เป็นชาวพุทธ เราจึงมีหน้าที่ที่จะ
ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญมั่นคงสืบไป โดยหมั่นศึกษา
หาความรู้ ปฏิบัติตามหลักธรรมและประเพณีพิธีกรรมทางศาสนา
เผยแผ่ และปกป้องพระศาสนา

หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ

ปวดตา เป็นอาการเจ็บปวดในดวงตาที่ผู้ป่วยอาจรู้สึกแสบร้อน ปวดตุบ ๆ รอบดวงตา รู้สึกคล้ายโดนทิ่มแทงบริเวณดวงตา หรือรู้สึกเหมือนมีวัตถุแปลกปลอมอยู่ในดวงตา ซึ่งอาจเกิดจากความผิดปกติบนพื้นผิวของดวงตาหรือโครงสร้างภายในดวงตา

อาการปวดตาเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น ตาแห้ง ปวดศีรษะ ตาอักเสบ และเป็นไข้หวัด อาการส่วนใหญ่อาจหายได้เอง แต่หากอาการรุนแรงหรือเกิดภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยอาจต้องเข้ารับการรักษาจากแพทย์ตามแต่กรณี

การบำรุงรักษาวัดสามารถทำได้อย่างไรบ้าง

อาการปวดตา

อาการปวดตาอาจครอบคลุมถึงอาการเจ็บเหมือนโดนทิ่มแทง แสบร้อน ปวดตุบ ๆ ซึ่งอาจเกิดขึ้นตามส่วนต่าง ๆ ของดวงตา เช่น กระจกตา เยื่อตา ม่านตา กล้ามเนื้อดวงตา เส้นประสาทในตา เบ้าตา ลูกตา และหนังตา นอกจากนี้ ผู้ป่วยอาจมีอาการอื่น ๆ ปรากฏขึ้นร่วมกับอาการปวดตาได้ เช่น

  • การมองเห็นแย่ลง
  • ตาไวต่อแสง
  • รู้สึกเหมือนมีอะไรอยู่ในตา
  • ตาแดง หรือเยื่อบุตาอักเสบ
  • มีน้ำตาหรือขี้ตาที่ใส เหนียว หรือมีสีคล้ายหนองที่อาจบดบังดวงตาตอนตื่นนอนได้
  • ปวดศีรษะ

อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยควรรีบไปพบแพทย์ทันทีหากปวดตาอย่างรุนแรงโดยเฉพาะเมื่อขยับลูกตา ปวดตานานเกิน 2 วัน มีปัญหาในการกลอกตา ลืมตา หรือหลับตา รอบดวงตาหรือดวงตาบวมแดง มองเห็นแสงกระจายเป็นรัศมี มองเห็นไม่ชัด ปวดตาจากสารเคมีหรือสิ่งแปลกปลอมเข้าตา ปวดตาร่วมกับคลื่นไส้หรืออาเจียน หรือมีโรคประจำตัวเรื้อรังอยู่ก่อน เช่น โรคข้ออักเสบ หรือมีปัญหาเกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน

สาเหตุของอาการปวดตา

อาการปวดตาอาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ อาทิ อาการเจ็บป่วยหรือสาเหตุอื่น ๆ ดังต่อไปนี้

  • การใช้สายตาอ่านหนังสือ หรือจ้องหน้าจอคอมพิวเตอร์ แท็บเลต หรือโทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน
  • การติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียที่บริเวณดวงตาจากการสัมผัสหรือขยี้ตา หรือการติดเชื้อบริเวณอื่น เช่น ไข้หวัด และโรคไซนัสอักเสบ
  • อาการตาล้า ตาแห้ง และเคืองตาจากการใส่คอนแทคเลนส์
  • อาการอักเสบบริเวณเปลือกตา ม่านตา กระจกตา ตาขาว และประสาทตา 
  • โรคตา เช่น ตาแดง ตากุ้งยิง กระจกตาถลอก ท่อน้ำตาอุดตัน ภาวะหนังตาม้วนออกด้านนอกหรือม้วนเข้าด้านใน และโรคต้อหินชนิดเฉียบพลัน
  • มีวัตถุแปลกปลอมในดวงตา หรือดวงตาได้รับบาดเจ็บ เช่น เป็นแผล ถูกไฟไหม้ หรือโดนวัตถุกระเด็นเข้าตาจากอุบัติเหตุ
  • โรคอื่น ๆ เช่น โรคภูมิแพ้  ไมเกรน หรือปวดศีรษะแบบคลัสเตอร์ (Cluster Headaches) และปวดกราม

การวินิจฉัยอาการปวดตา

ในเบื้องต้นแพทย์จะสอบถามถึงระยะเวลาที่เริ่มปวดตา และอาการอื่น ๆ ที่เป็นร่วมกับอาการปวดตา เช่น อาการไวต่อแสง คลื่นไส้ หรืออาเจียน ผู้ป่วยควรแจ้งให้แพทย์ทราบหากสวมแว่นหรือคอนแทคเลนส์ เคยผ่าตัดดวงตา หรือเคยได้รับบาดเจ็บบริเวณดวงตา และควรแจ้งให้แพทย์ทราบถึงยาที่ใช้ และอาการเจ็บป่วยอื่น ๆ ก่อนเริ่มรับการวินิจฉัย

หลังจากนั้นแพทย์อาจวัดสายตา โดยให้ผู้ป่วยอ่านตัวเลขและตัวหนังสือบนแผ่นตรวจตา เพื่อตรวจการมองเห็นของสายตาทั้ง 2 ข้าง หากแพทย์วินิจฉัยว่าอาการของผู้ป่วยรุนแรงมากกว่าอาการตาแดงหรือตาอักเสบ ผู้ป่วยอาจถูกส่งตัวไปพบจักษุแพทย์ต่อไป เพื่อรับการวินิจฉัยด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น

  • การตรวจวัดความดันลูกตา เพื่อตรวจหาต้อหิน ซึ่งแพทย์จะใช้ยาชาหยอดตาร่วม
  • การตรวจโดยใช้กล้องจักษุจุลทรรศน์ชนิดลำแสงแคบ เพื่อตรวจหาอาการบาดเจ็บหรือการอักเสบบริเวณดวงตา ซึ่งอาจต้องหยอดสีหรือสารฟลูออเรสซีน เพื่อหาสิ่งแปลกปลอมในตาและความเสียหายอื่น ๆ ที่กระจกตาเพิ่มเติม 

การรักษาอาการปวดตา

วิธีรักษาอาการปวดตาจะขึ้นอยู่กับสาเหตุ หากอาการไม่รุนแรงมาก ผู้ป่วยอาจดูแลตนเองได้ด้วยวิธีต่อไปนี้

  • พักสายตา โดยงดใช้สายตาในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น จ้องจอคอมพิวเตอร์ อ่านหนังสือ หรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่ต้องใช้สายตามาก รวมถึงควรหลีกเลี่ยงแสงจ้า  
  • ล้างตาด้วยผลิตภัณฑ์สำหรับทำความสะอาดดวงตา หรือน้ำอุ่น เพื่อขจัดสิ่งแปลกปลอมและอาจช่วยบรรเทาอาการปวดตาได้ แต่หากล้างตาด้วยน้ำสะอาดแล้ววัตถุแปลกปลอมยังค้างอยู่ในตา ห้ามขยี้ตา และห้ามให้ผู้อื่นช่วยนำวัตถุดังกล่าวออก เพราะอาจทำให้อาการแย่ลง โดยผู้ป่วยควรไปพบแพทย์ เพื่อรับการรักษาอย่างเหมาะสมแทน
  • หยอดน้ำตาเทียม ซึ่งอาจช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้ดวงตา และบรรเทาอาการปวดตาได้ในบางกรณี ผู้ป่วยควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรในการใช้น้ำตาเทียมในปริมาณที่เหมาะสม
  • ผู้ที่ใส่คอนแทคเลนส์ควรเปลี่ยนมาใส่แว่นตาเป็นเวลา 2-3 วัน เพื่อสังเกตว่าอาการปวดตาดีขึ้นหรือไม่
  • ใช้ยาแก้แพ้ ทั้งชนิดที่ใช้หยอดตาหรือชนิดรับประทาน เพื่อบรรเทาอาการปวดตาที่อาจเกี่ยวข้องกับการแพ้
  • รับประทานยาแก้ปวด ยาในกลุ่ม NSAIDs เช่น ยาไอบูโพรเฟน อาจช่วยลดอาการปวดบวมและลดไข้ได้ แต่ยาอาจมีผลข้างเคียงทำให้เลือดออกในกระเพาะอาหารหรือทำให้ผู้ป่วยมีปัญหาเกี่ยวกับไตได้ ผู้ป่วยจึงควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรก่อนใช้ยาทุกครั้ง และห้ามให้ยานี้กับเด็กที่อายุต่ำกว่า 6 เดือน หากไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์ก่อน

หากดูแลตนเองในเบื้องต้นแล้วอาการไม่ทุเลาลงหรือรุนแรงยิ่งขึ้น ผู้ป่วยควรไปพบแพทย์ เพื่อวินิจฉัยสาเหตุ และรักษาด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น ใช้ยาปฏิชีวนะหรือยาสเตียรอยด์ และผ่าตัดเพื่อรักษาแผลไหม้ แผลที่เกิดจากความเสียหายของดวงตาจากวัตถุหรือมีสิ่งแปลกปลอมในดวงตา ซึ่งเป็นกรณีที่พบได้ไม่บ่อยนัก

ภาวะแทรกซ้อนจากอาการปวดตา

โดยปกติ อาการปวดตามักไม่รุนแรง อาการอาจหายได้เองหรือบรรเทาอาการได้เองที่บ้าน แต่หากอาการรุนแรงขึ้นแล้วไม่ได้รับการตรวจรักษาอย่างเหมาะสม อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตราย ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น หรืออาจตาบอดได้

การป้องกันอาการปวดตา

เนื่องจากอาการปวดตาเกิดได้จากหลายสาเหตุ บางสาเหตุไม่สามารถป้องกันได้ แต่บางสาเหตุอาจลดความเสี่ยงได้ด้วยวิธีต่าง ๆ ดังนี้

พักสายตา

พักสายตาจากหน้าจอโทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ หรือคอมพิวเตอร์ทุก 20 นาทีด้วยการมองไปที่ไกล ๆ ในระยะ 6 เมตรนาน 20 วินาทีก่อนกลับมาใช้จออีกครั้ง เพราะการมองหน้าจอเป็นเวลานานจะทำให้เรากะพริบตาน้อยลง และทำให้ตาล้าและตาแห้ง และเลือกใช้จอที่ป้องกันแสงสะท้อน

สวมแว่นตาป้องกัน

ควรสวมแว่นตาป้องกันดวงตาถลอก ไหม้ และป้องกันวัตถุแปลกปลอมหรือสารเคมีต่าง ๆ เข้าตา โดยเลือกประเภทของแว่นตาให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น ใช้แว่นนิรภัยเมื่อต้องตัดหญ้า ทำความสะอาดของใช้ในครัวเรือน หรือขณะใช้ผงซักฟอก ส่วนผู้ที่ทำงานก่อสร้าง เชื่อมโลหะ ทำงานเกี่ยวกับยานยนต์ หรือสารเคมีอันตรายอย่างยากำจัดแมลง ควรสวมแว่นตานิรภัยที่ออกแบบโดยเฉพาะ

ทำความสะอาดคอนแทคเลนส์ 

ควรทำความสะอาดคอนแทคเลนส์อย่างสม่ำเสมอ ไม่ควรใส่คอนแทคเลนส์นานเกินไป และควรสลับใส่แว่นตาบ้างบางครั้งเพื่อพักสายตา

หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้

ผู้ที่เป็นภูมิแพ้ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสหรือเข้าใกล้สารที่ก่ออาการแพ้ เพราะอาจกระตุ้นให้เกิดการระคายเคืองและปวดตาได้

เลิกบุหรี่ 

สารเคมีในบุหรี่อาจสร้างความเสียหายต่อเส้นประสาทตา ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดต้อกระจกและจอประสาทตาเสื่อมในระยะยาว

เสริมสารอาหารที่มีประโยชน์

รับประทานอาหารให้หลากหลายและมีประโยชน์ โดยเฉพาะอาหารที่มีสารต้านอนุมูลอิสระและวิตามินที่ดีต่อดวงตา เช่น

  • วิตามินเอ ช่วยในการทำงานของจอตาและช่วยให้ดวงตาชุ่มชื้น พบมากในผักผลไม้สีเหลืองและส้ม เช่น แครอท มันหวาน และแคนตาลูป 
  • ลูทีน (Lutein) และซีแซนทีน (Zeaxanthin) เป็นสารกลุ่มแคโรทีนอยด์ (Carotenoid) พบมากในผักใบเขียว เช่น คะน้า ปวยเล้ง และเคล รวมทั้งดอกดาวเรืองที่นิยมนำมาสกัดเป็นอาหารเสริม
  • แอนโทไซยานิน (Anthocyanin) เป็นสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ (Flavonoid) ที่มีคุณสมบัติต่อต้านอนุมูลอิสระและช่วยบำรุงสายตา พบในผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ที่มีสีม่วง สีแดง และสีน้ำเงิน เช่น แบล็คเคอร์แรนท์ บลูเบอร์รี่ และแบล็คเบอร์รี่ 
  • แอสตาแซนทิน (Astaxanthin) เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่พบมากในอาหารทะเล เช่น แซลมอน กุ้ง ปู สาหร่ายสีแดงฮีมาโตคอกคัส พลูวิเอลิส (Haematococcus Pluvialis) และยีสต์

หากรับประทานอาหารที่ประกอบด้วยสารอาหารบำรุงสายตาไม่เพียงพอ อาจพิจารณาเสริมด้วยผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีสารอาหารเหล่านี้ โดยปรึกษาแพทย์และเภสัชกรก่อนรับประทานเสมอ

พบจักษุแพทย์เป็นระยะ 

โรคที่เกี่ยวข้องกับดวงตาบางโรค เช่น โรคต้อหิน อาจไม่ปรากฏอาการใด ๆ เลยในช่วงแรก การตรวจสุขภาพดวงตาเป็นประจำอาจช่วยให้แพทย์ตรวจพบและรักษาโรคดังกล่าวได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น