โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 2565

¤Á‹Ù ×Í¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹âçàÃÕ¹ʋ§àÊÃÔÁ梯 ÀÒ¾ (©ºÑº»ÃºÑ »Ãا ¾.È. 2558)

ÊØ¢ÀÒ¾´ÕÊÌҧ䴌·ÕèâçàÃÕ¹

¤Á‹Ù ×Í¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹
âçàÃÕ¹ʋ§àÊÃÁÔ ÊØ¢ÀÒ¾

(©ººÑ »ÃѺ»Ãا ¾.È. 2558)

¨Ñ´·Óâ´Â
Êӹѡʋ§àÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾ ¡ÃÁ͹ÒÁÑÂ

¡ÃзÃǧÊÒ¸ÒóÊØ¢

ISBN 978-616-11-2509-7

ช่ือหนังสือ คูม่ อื การดำ�เนินงานโรงเรียนส่งเสรมิ สขุ ภาพ

(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2558)
ISBN
978-616-11-2509-7
จำ�นวนหน้า
262 หน้า
จดั ทำ�โดย
ส�ำ นักสง่ เสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
88/22 ถนนตวิ านนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000

ครัง้ ท่ีพิมพ ์ พิมพค์ รงั้ ท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 จำ�นวนพมิ พ์ 9,000 เลม่
พิมพค์ ร้ังท่ี 2 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2559 จำ�นวนพิมพ์ 3,000 เล่ม
พมิ พค์ รงั้ ที่ 3 มถิ ุนายน พ.ศ. 2560 จ�ำ นวนพมิ พ์ 11,200 เล่ม

สำ�นักบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
พิมพ์ท่ ี

§Ò¹¢Í§á¼‹¹´Ô¹¹Ñé¹ à»š¹§Ò¹Ê‹Ç¹ÃÇÁ Áռŷèաnjҧ¢ÇÒ§
à¡èÕÂÇ¢ŒÍ§¡ÑººŒÒ¹àÁ×ͧáÅкؤ¤Å·Ø¡½†Ò àÁè×Í໚¹§Ò¹Ê‹Ç¹ÃÇÁ
áÅÐÁÕ¼Åà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡ºÑ ¤¹ËÁÁ‹Ù Ò¡ »Þ˜ ËÒ¢ŒÍ¢Ñ´áÂŒ§μ‹Ò§æ Í¹Ñ à¹×èͧ
ÁÒ¨Ò¡¤ÇÒÁ¤Ô´àËç¹äÁ‹μç¡Ñ¹ ¡ç‹ÍÁà¡´Ô Á¢Õ Ö¹é ºŒÒ§à»¹š »Ã¡μ¸Ô ÃÃÁ´Ò
¢ŒÒÃÒª¡ÒüŒÙ»¯ÔºÑμÔºÃÔËÒçҹ¢Í§á¼‹¹´Ô¹ μÅÍ´¨¹·Ø¡¤¹·Ø¡½†ÒÂ
·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ ¨Ö§μŒÍ§ÁÕ㨷Õè˹ѡṋ¹áÅÐແ´¡ÇŒÒ§ ÃѺ¿˜§¤ÇÒÁ¤Ô´
·èÕáμ¡μ‹Ò§áÁŒ¡ÃзÑ觤ÓÇԾҡɏÇÔ¨ÒóÍ‹ҧÁÕÊμÔ ãªŒ»˜ÞÞÒáÅÐ
àËμؼÅ໚¹à¤Ãè×ͧ»¯ÔºÑμÔÇÔ¹Ô¨©Ñ â´Â¶×ÍÇ‹Ò¤ÇÒÁ¤Ô´àËç¹áÅÐ
¤ÓÇԾҡɏÇÔ¨Òó¹Ñé¹ ¤×Í¡ÒÃÃдÁÊμÔ»˜ÞÞÒáÅлÃÐʺ¡Òó
ÍѹËÅÒ¡ËÅÒ¨ҡ·Ø¡½†Ò à¾×èÍ»ÃÐ⪹á¡‹¡Òû¯ÔºÑμÔºÃÔËÒçҹ
áÅСÒÃᡌ䢻˜ÞËÒμ‹Ò§æ ãËŒ§Ò¹·Ø¡Ê‹Ç¹·Ø¡´ŒÒ¹¢Í§á¼‹¹´Ô¹
ÊÓàÃ稼Å໚¹¤ÇÒÁà¨ÃÔÞÁÑ蹤§á¡‹»ÃÐà·ÈªÒμÔáÅлÃЪҪ¹
Í‹ҧ᷌¨Ã§Ô .

ÍÒ¤ÒÃà©ÅÁÔ ¾ÃÐà¡ÕÂÃμÔ âç¾ÂÒºÒÅÈÔÃÃÔ Òª
Çѹ·Õè óñ ÁÕ¹Ò¤Á ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òõõö

'U;U

กรมอนามัยไดด�เนินงานโครงการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพเพ่ือพัฒนาเด็กและเยาวชนดานสุขภาพ
ควบคูไปกับการพัฒนาดานการศึกษา โดยการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนใหเปนจุดเริ่มตนและศูนยกลางของการ
พัฒนาสุขภาพ รวมทั้งพัฒนาชุมชนใหมีสวนรวมในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ต้ังแตปพ.ศ.2541
และเพื่อใหโรงเรียนมีแนวทางการด�เนินงานเปนมาตรฐานเดียวกัน กรมอนามัยไดจัดท�เกณฑมาตรฐาน
การประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพใหครอบคลุมท้ัง 10 องคประกอบโรงเรียนสงเสริมสุขภาพขึ้นในพ.ศ.2545
โดยแบงระดับการรับรองโรงเรียนสงเสริมสุขภาพเปน 3 ระดับ คือระดับทอง เงิน และทองแดง และจัดท�
เกณฑมาตรฐานการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชรข้ึนในพ.ศ.2552 ต้ังแต พ.ศ.2545 จวบจน
ปจจุบัน เกณฑมาตรฐานการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพตาม 10 องคประกอบยังมิไดถูกน�มาปรับปรุง
หรือแกไข เม่ือกระทรวงสาธารณสุขมีการขับเคลื่อนแนวคิดเรื่องการบูรณาการในการจัดท�ยุทธศาสตรของ
กระทรวงในพ.ศ.2557 โรงเรียนสงเสริมสุขภาพซึ่งมีความเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรดานการพัฒนากลุมเด็ก
วัยเรียนและยุทธศาสตรดานการพัฒนาสุขภาพกลุมเด็กวัยรุน และมีหนวยงานของกรมตางๆ เก่ียวของกับ
กลุมเปาหมายดังกลาว กรมอนามัยรวมกับหนวยงานเหลานั้น ไดด�เนินการปรับปรุงเกณฑมาตรฐาน
การประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพตาม 10 องคประกอบ ใหสอดคลองกับสถานการณท่ีเปล่ียนแปลงไป
ในลักษณะท่ีมีผลกระทบตอสุขภาพของเด็กและเยาวชน ดังน้ัน กรมอนามัยจึงจัดท�คูมือการด�เนินงาน
โรงเรียนสง เสรมิ สขุ ภาพ พ.ศ.2558 ขน้ึ

คูมือการด�เนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพเลมนี้ จัดท�เปนฉบับรวมเลมโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ
ทุกระดับ เพ่ือเช่ือมโยงความคิดและพัฒนาการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพตามล�ดับ กรมอนามัยหวังเปนอยางยิ่งวา
คูมือการด�เนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ พ.ศ.2558 จะเปนประโยชนแกโรงเรียนและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ
น�ไปใชเปนแนวทางการปฏิบตั ใิ หบ รรลผุ ลส�เร็จตอไป

กรมอนามยั
2558

สารบัญ

'lT;Tl M;T

<99gW 1 เสนทางสรางเด็กไทยสู ดี เกง มสี ขุ 11

<99Wg 2 พัฒนาการของโรงเรยี นสงเสรมิ สุขภาพ 33

<99gW 3 กา วสูโรงเรียนสง เสรมิ สุขภาพ 77

<99gW 4 การรับรองเปนโรงเรยี นสง เสรมิ สุขภาพ 1212

<99gW 5 การพัฒนาสคู วามสาํ เร็จเพอ่ื คณุ ภาพชวี ิตท่ีดีของเด็กอยางยัง่ ยืน 1414

<99gW 6 การดําเนินงานโรงเรียนสง เสรมิ สขุ ภาพ 1616
17
เกณฑม าตรฐานการประเมนิ โรงเรยี นสงเสรมิ สุขภาพ
องคป ระกอบที่ 1 นโยบายของโรงเรียน 1717
องคป ระกอบที่ 2 การบรหิ ารจดั การในโรงเรียน 1919
องคประกอบที่ 3 โครงการรวมระหวางโรงเรยี นและชมุ ชน 2121
องคประกอบที่ 4 การจัดสงิ่ แวดลอ มในโรงเรียนทเี่ อื้อตอ สขุ ภาพ 2323
องคป ระกอบท่ี 5 บริการอนามัยโรงเรยี น 2525
องคป ระกอบท่ี 6 สขุ ศกึ ษาในโรงเรยี น 2929
องคป ระกอบท่ี 7 โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย 3232
องคประกอบท่ี 8 การออกกําลงั กาย กีฬา และนนั ทนาการ 3636
องคป ระกอบท่ี 9 การใหค าํ ปรึกษาและสนับสนนุ ทางสังคม 3737
องคป ระกอบท่ี 10 การสงเสรมิ สขุ ภาพบคุ ลากรในโรงเรียน 3939
แนวทางการดาํ เนินงานตาม 10 องคประกอบ โรงเรียนสง เสรมิ สุขภาพ 4040
68
BT'>;I$ ก. แบบสอบถามการประเมินโรงเรียนสง่ เสรมิ สขุ ภาพตามองคป์ ระกอบที่ 1-10 90
ข. แบบรายงานและแบบประเมนิ ท่ใี ชในการประเมนิ โรงเรยี นสง เสรมิ สุขภาพ
- แบบสรปุ ผลการประเมนิ โรงเรียนสง เสริมสขุ ภาพ 70
- แบบประเมินสุขาภิบาลส่ิงแวดลอ มในโรงเรียน 71
- แบบประเมนิ สุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน 78
ค. นิยามศัพทและขอแนะนาํ ในการดําเนินงานโรงเรยี นสง เสรมิ สุขภาพ 102

สารบัญ (ตอ)

M; T

<99Wg 7 การด�เนินงานโรงเรียนสงเสรมิ สุขภาพระดับเพชร 123

เกณฑม าตรฐานการประเมินโรงเรียนสง เสรมิ สขุ ภาพระดับเพชร 124

แนวทางการด�เนนิ งานโรงเรยี นสง เสรมิ สุขภาพระดบั เพชร 131

ตวั ช้ีวดั ท่ี 1 โรงเรียนผานการประเมินรับรองเปน โรงเรียนสง เสริมสขุ ภาพระดับทอง 131

ตวั ช้วี ดั ที่ 2 มกี ารจดั ต้ังชมรมสขุ ภาพท่มี แี กนน�นกั เรยี นรวมตวั กัน 132

ด�เนนิ กจิ กรรมสุขภาพอยา งตอเนอ่ื ง 133

ตวั ชีว้ ดั ท่ี 3 มโี ครงงานสุขภาพของนักเรยี นท่ปี ระสบผลส�เร็จชัดเจนในการลด

ปญหาสขุ ภาพหรือสงิ่ แวดลอ ม ในโรงเรียนหรือชมุ ชน 135

ตัวชี้วัดท่ี 4 ภาวะการเจริญเตบิ โต

นักเรียนมีน�้ หนักตามเกณฑสวนสงู (W/H) เกนิ เกณฑ (เร����� ��������)

นกั เรยี นมีสวนสูงตามเกณฑอ ายุ (H/A) ต่�กวาเกณฑ (��� �����เ������เ���) 138

ตวั ชว้ี ัดที่ 5 นกั เรยี นไมมีฟนแทผุ อดุ และถอน 140

ตัวช้ีวดั ที่ 6 นกั เรียนอายุ 7-18 ป มสี มรรถภาพทางกายท่สี มั พนั ธก ับสุขภาพ

(Health-related Physical Fitness) ผานเกณฑ 142

ตัวช้วี ดั ที่ 7 นกั เรยี นทมี่ ปี ญ หาสุขภาพจิตไดร บั การดูแลชวยเหลือ 144

ตัวชว้ี ัดท่ี 8 นกั เรียนมีความรแู ละทักษะดานสขุ ภาพอนามยั ทางเพศ 146

ตัวชี้วดั ที่ 9 การสูบบุหรใี่ นโรงเรยี น 147

ตัวช้วี ดั ท่ี 10 นักเรียนท่มี ีสายตาและการไดยนิ ผิดปกตไิ ดร บั การแกไข 149

ตัวช้วี ัดที่ 11 มีโครงการแกไขปญหาดา นสขุ ภาพหรอื สิ่งแวดลอมท่ีมคี วามชกุ สงู

หรือเปน อนั ตรายตอสุขภาพของนกั เรยี นไดเ ปน ผลส�เรจ็ 151

ตวั ช้ีวดั ท่ี 12 น�้ บรโิ ภคปลอดภยั และเพยี งพอ

ตวั ชวี้ ดั ที่ 13 สวมผา นเกณฑม าตรฐาน HAS 153

ตวั ช้วี ดั ท่ี 14 มกี ารจดั หรือจ�หนา ยอาหารวางและเคร่ืองด่ืมท่มี ีคณุ คา 154

ทางโภชนาการ ไมห วานจัด ไมเค็มจัด และไมม ีไขมันสงู

ตวั ช้ีวัดท่ี 15 มีการสง เสริมใหน ักเรียนทุกคนไดบรโิ ภคผักมอ้ื กลางวันตามปริมาณทแ่ี นะน� 157

ตัวชีว้ ัดท่ี 16 โรงอาหารผานเกณฑม าตรฐานสุขาภิบาลอาหารในโรงเรยี น 160

ตวั ชีว้ ัดท่ี 17 การบาดเจบ็ ในโรงเรยี นที่ท�ใหนักเรียนตอ งพักรักษาตวั ในโรงพยาบาล 161

ตัวช้ีวดั ท่ี 18 มีการจดั การปญ หาท่เี กิดจากมลภาวะภายนอกโรงเรียน 162

ท่ีมีผลกระทบตอสุขภาพ

ตัวชว้ี ดั ที่ 19 โรงเรียนผานเกณฑม าตรฐานสขุ าภบิ าลส่งิ แวดลอ มในโรงเรียน 163

สสาารรบบััญญ ((ตตออ)) MM;; T T

BBTT''บ>>รรณ;;าIIน$$ุกขขกกคคงง..ร...... ม11อ11------------1-------แแ---1--แแ--ก--กโน1โ1น228977985364635400รร1122..งาา.บบบบ...............ิยิย..งงค....รราาบบบบเเกกกกโโแแแแแแแแแแแแคแแแแแแแคแแแแแกกกกกกบกกบกหกกกหกกโ��รรค์มมรรรรรสสาาาาบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบาาาายีียาาาาาาาาาาววหุููหุดัดัวคคคศศาารรตต��รรรรรรรรรรรรรรรราานนบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบททรราธธไยยจจัพัพบบรรจจจจรปปรอดนอดนาามมี่ี่มสสมปปปปปปปปปปรรรรรรสรสรรรสสาา��ัดดังงกัักววัดดััดดัตตออูแูแ��เเออออททาาาาาาาาาาลลรรต่งงรร��ชชรรราารรรรรรรรรรเเ��ษษบบททททิดดิลลกกนนงงยยยยยยยยยยกัักกกเเรรุปุปัสสัาาู้ดิะะะะะะะะะะนน่อืื่อ//ออสสกกาาสสงงดััดแกก����งงงงงงงงงงววหหษษยยบ็็บซซเเเเเเเเเเกกตมมปปาามมงงนัันรผผรรราาาาาาาาาามมมมมมมมมมุขขุนน��ลจจงงลลีเเีาายยาา่อโโยยคครราานนนนนนนนนนิมิมาาลลลลมมภภพพนินนิิิินนิินนนินิินสสะ����าายยไไบัับรราาเเยยะะตตคคววังงักกกผกกกผกกสสงงเเยีียขนนวว(าาพสพจสจสสพพลลปปฤฤงงแแชชเเสสงงNกกาารรววลลาาาาาาาามมุขุขพพรรมมุดดุ้อุขขุขขุุิกิกตตลลใใฤฤฤฤรราาววียียนน((ฐฐาารรรรรรรรoะะชชาากกตตภภTTแแาาาาจจแยยนินิะะนนิกกิะะตตตตยยาากยกยทปทปทปทปววมมหหnสสาาภภภภาาขขhhิตติเเาาาานใใรรผผนนิกกิกิกิพพเเออชิิชมมรรรรดดดดรรชชรรมมc่ือือ่ววกกพ็งง็พพพิิบบิบิบรaรaดดลละรรรรคคัฒัฒาานนะะะะตตินินููoสสสสยยาาแแออเเมมllววรรรราาาา่ือ่อืนแแกรกรกกกกุณณุเเเเaaงงรรปปออออาาmลลตตยยนนเเลลลลยมมมมยมมมมะะสสาา��ำาามมssณณววสสใใลลบบบบะะนนาาภภาาสออสดดกกกกนินินิินรsรsรรุขขุกหหmจจะะาายี่่ีย““งงจจออสสฑฑสสสสeeเเดาาดิ่งงิ่าาขขาาาาบับัจภภจภภาตตขขสสปปออสสงงตตุดุดยยแแพพมมหหmmาามมรรรรu��ออมมรดุดุททรรเเาาขุขุาาออลลงงรรนนออยยววสสบบบบพพเเออรรnาาดนนงงฐฐาาววพพแแตตภภาานนาแาแiiออดดททตตออูสูสรรรรโโaaรรรรงงตตiะะาาำ�ขข����ชชงงงงาาเเcรราานนดดินนิถถลลใใา)า)โโิโโิิินนาาุนุนนปนปสสบบเกกรรเเง็็งมมรรaงงแแพพนนภภภภนภภพพแแะะงงธธภภออปปฐฐจจชชรราา�นน�เเรรbเเลลาาโโ((ชชนนรราคคคคาโโลลิยััยมมกกศศาาาารรรรดุุดโิโิีววีSSออรรปรปรlนนะะรรียียออออออภภะะนนพพ��ใใคคเเณณeใใแแงิติตงงDDอองงงงจจณณกกรรนนนโนโนนงงกกกกาาาาเเาคคสสเเกกลลททรรออQQรระะรรฑฑรราาปปdหหหหหหททโโนาาาาะะววงงันนัะะาานนียยีิญิญจจรรรรียีย))iรรโาโารรออเเาาาาักักมมสสsงงไไงงเเนนรรรร��นนกกไไดดเเรรรรจจeดดกกงงษษ((สสเเทิทิงงยียีดดตตSSรรสสขขขขแแพพรร��aาาเเาาะะนนธธยยบิบิยียีDDรรงงออออญิิญลลเเsยยธธยยิททินนยีียนินิสสเเนนโโeQQงงงงะะภภขขาาสสาาเเตตพ่ีีพ่นนงงนิินเเเเsตตฟฟรรบบมูมูออ))รรดดดดเเสสึงึงณณงงบิบิสสิมิมนนงง:ิคิคาาก็ก็็ก็กททNาางงนนรรโโลลสสุมุมะะออออเเนนตตรรCมิมิักักสสุขขุรรกกาาาาาาDสสะะเเรรภภยยยยนัันบบรรมิิมุขุขsดดุุุุาาียยี )1166ภภสสแแับับพพนน-4-4ลลขุขุาาปปแแ11--พพะะภภ1313รรลลภภรราาะะ88ะะปปะะพพมููมเเมมททปปดดิปปิรราาศศบัับะะตตญญดดเเรรพพญญบับัฐฐชชาาาาเเพพรรนน””ชชกกรราารรศศกึึกษษาา 211121121121111111111111111111111111111111111111111110606960797979708955665556568885878787776675449888899987108566704214684263362919155311636191199919957979577
คณะผจู้ ัดท�ำ
209
222222222112222222222222221119901101111000000732546919980483043125512
236
238

247
249
ทีต่ ง้ั และเบอร์โทรศพั ท์ของศูนยอ์ นามัยท่ี 1-13 256

บทที่

_L ;9T*LE T*_6f$c9DL [ 6W _$ * CLW %Z

จากกระแสโลกาภิวัฒน ท่ีเกิดจากความเจริญทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยเฉพาะ
ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เปนปจจัยสําคัญท่ีสงผลกระทบท้ังดานบวก
และดานลบตอเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และคุณภาพชีวิตของประชาคมโลก สังคมไทยจึงตองมีการปรับตัว
โดยการ “พัฒนาคน” ท้ังดานคุณภาพและสมรรถนะของบุคคลใหมีพ้ืนฐานในการคิด เรียนรู และทักษะ
การจัดการและการดํารงชีวิต ท่ีสามารถเผชิญกับปญหาสังคมและเศรษฐกิจที่เปล่ียนแปลงไป รวมท้ัง
จําเปนตองปรับกระบวนการพัฒนาพรอมกับการสรางโอกาสและหลักประกันใหทุกคนในสังคม โดยความรวมมือ
ของทุกภาคสวนเพื่อใหคนไทยไดรับการพัฒนาทั้งดานสติปญญา กระบวนการเรียนรูและทักษะความรับผิดชอบ
ตอ ตนเอง เพ่อื ประโยชนใ นการรวมพฒั นาทองถ่นิ และประเทศชาติตอ ไป

เด็กวัยเรียนและเยาวชนเปนกลุมเปาหมายที่สําคัญยิ่งของการพัฒนา ดังพระราชดํารัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในปเด็กสากล พุทธศักราช 2522 ท่ีวา “เด็กเป�นผูท่ีรับชวง
ทุกส่ิงทุกอยางจากผูใหญ รวมทั้งภาระความรับผิดชอบในการธํารงรักษา ความสุขสงบของประชากรโลก”
และในอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กขององคการสหประชาชาติ (UN Convention on the right of the child)
ซ่ึงประเทศไทยลงนามและมีผลบังคับใชต้ังแตป 2535 มีสาระสําคัญท่ีมุงคุมครองสิทธิเด็ก 4 ประการ คือ
สิทธิในการอยูรอด (Servival Rights) สิทธิในการไดรับการปกปองคุมครอง (Protection Rights) สิทธิ
ในการพัฒนา (Development Rights) และสิทธิในการมีสวนรวม (Participation Rights) ซึ่งรัฐตอง
ดําเนินการใหเด็กไดรับการคุมครองในสิทธิดังกลาว การลงทุนกับเด็กและเยาวชนยอมมีผลคุมคามากกวา
การลงทนุ ใดๆ เด็กที่ไดรบั การพัฒนาอยา งถูกตอง เหมาะสมจะนําไปสกู ารเปน ผูใหญทม่ี ีคณุ ภาพ

[email protected]=‰ MT_6f$`GR_DTI-;

จากสภาพสังคมและสิ่งแวดลอมในปจจุบันที่เปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว สงผลตอวิถีชีวิตของ
เด็กวัยเรียนและเยาวชน โดยเฉพาะดานพฤติกรรมเสี่ยงจากการไดรับแบบอยางที่ไมเหมาะสม มีคานิยมและ
วัฒนธรรมตามกระแสสังคมท่ีไมถูกตอง นําไปสูปญหาที่เกิดจากตัวเด็ก ครอบครัว และสภาพแวดลอมทางสังคม
เชน การมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร การตั้งครรภไมพึงประสงค โรคเอดส ยาเสพติด ความรุนแรง
และอุบตั เิ หตุ เปน ตน

ปญหาดังกลาว หากไมมีการปองกันลวงหนา จะกอใหเกิดความสูญเสียนานัปการ จําเปนตอง
ใหความสําคัญและเรงสรางคุณภาพทั้งการศึกษาควบคูไปกับสุขภาพ เพ่ือพัฒนาศักยภาพใหเด็กและเยาวชน
เปนผทู ม่ี คี ุณภาพชวี ติ ท่ีดี

1

$TE_LECþ LE T*@G*S 'ITCEL [ [LZ%BTIR

สุขภาพกับการศึกษา ตองดําเนินการควบคูกันไปในลักษณะเก้ือกูลซึ่งกันและกันของทุกฝาย
ที่เก่ียวของ เพื่อผลลัพธท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุดตอเด็กนักเรียนและเยาวชน ดังนั้นนับตั้งแตป 2540
แนวทางการพัฒนาเด็กวัยเรียนและเยาวชน จึงมีความชัดเจนเปนรูปธรรมมากข้ึนทั้งเชิงยุทธศาสตรและ
เปา หมาย โดยเฉพาะจาก 2 มติ สิ าํ คัญของนโยบายชาติ ไดแก

1. มิติแหง “การปฏิรูปการศึกษา” กลาวถึง “การประกันคุณภาพการศึกษา” ดานกระบวนการ
เรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ บนพ้ืนฐานกระบวนการจัดการศึกษาตามปรัชญาหลัก 3 ประการ คือ
การศึกษาเพือ่ ปวงชน การศกึ ษาตลอดชีวิตและการศกึ ษาเพือ่ การแกไขปญหาทัง้ มวล

2. มติ แิ หง “การปฏิรปู ระบบสขุ ภาพ” กลา วถงึ “การสรา งหลกั ประกนั สขุ ภาพถว นหนา” ซง่ึ เปนการ
ใหสิทธิข้ันพ้ืนฐานของประชาชน บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการสาธารณสุขท่ีไดมาตรฐาน
โดยกระบวนการจัดการดานสุขภาพตามปรัชญาหลัก 3 ประการ คือ สุขภาพเพ่ือปวงชน สุขภาพเพื่อชีวิต และ
สขุ ภาพเพ่ือแกไ ขปญหาทง้ั มวล

จึงเหน็ ไดว าท้งั 2 มิติ ตา งมีความเชอ่ื มโยงจากรากฐานปรชั ญาเดยี วกนั

_6$f c9D 6W _$* CWL%Z

C7V V9T*$TEJ$X KT CV79V T*L%Z [email protected]

[email protected] ;T_6$f `GR_DTI-;L[= ER-T'COT_.Dÿ ;

การพัฒนาเด็กและเยาวชน ตอ งกาํ หนดเปา หมายใหชัดเจน โดยเฉพาะดานสุขภาพซ่ึงเปนความจาํ เปน
พื้นฐานสําคัญในการดํารงชีวิต หากเด็กมีพัฒนาการทางรางกาย สติปญญาและจิตใจท่ีสมบูรณ แข็งแรง มีทักษะ
สามารถดูแลสุขภาพตนเองและมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสม และมีความพรอมในการเรียนรู ยอมสงผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษา การพัฒนาการเรียนรูสูประชาคมอาเซียน จะประสบความสําเร็จหรือไมเพียงใด อยูท่ีกระบวนการ
จัดการโดยมุงเนนที่ประสิทธิภาพของสถาบันการศึกษาใหสามารถเปนแกนนําหรือศูนยกลางการพัฒนา
การศึกษาควบคูไปกับการสรางสุขภาพ ภายใตความรวมมือจากทุกฝายท่ีเก่ียวของ ต้ังแตครอบครัวของเด็ก
ชมุ ชนและองคก รในทอ งถน่ิ ซง่ึ เปน สถาบนั พน้ื ฐานทางสงั คม ทม่ี คี วามสาํ คญั ยง่ิ ตอ การพฒั นาใหเ ดก็ และเยาวชนไทย
มีคณุ ภาพมาตรฐานทดั เทียมกับประเทศอน่ื

2 Ù‹ × Ø

บทที่

@S4;T$TE%O*aE*_EÿD;L* _LEþCL%Z [email protected]

ความหมายของ “��ง���ย��ง� ���ม� ��ข�า�”

องคการอนามัยโลก (WHO : 1998) ไดใหคําจํากัดความของ โรงเรียนสงเสริมสุขภาพ คือ โรงเรียน
ท่ีมีขีดความสามารถแข็งแกรงมั่นคง ที่จะเปนสถานท่ีท่ีมีสุขภาพอนามัยท่ีดี เพ่ือการอาศัย ศึกษาและทํางาน
(A health promoting school is a school constantly strengthening its capacity as a healthy
setting for living, learning and working)

สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2545) ไดใหความหมายของโรงเรียน
สงเสริมสุขภาพ คือ โรงเรียนที่มีความรวมมือรวมใจกันพัฒนาพฤติกรรมและส่ิงแวดลอมใหเอ้ือตอสุขภาพ
อยางสมํา่ เสมอ เพอ่ื การมีสุขภาพดีของทกุ คนในโรงเรียน

��วค����ง��ย� ���ง����ม�ข� �า�

การดําเนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ เปนการพัฒนาที่มีความครอบคลุมทุกมิติดานสุขภาพและ
สิ่งแวดลอม โดยสรางกระบวนการเรียนรูรวมกันของทุกคนท้ังในโรงเรียนและชุมชน ใหสามารถนําความรู และ
ทักษะดานสุขภาพมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ดวยการดูแลใสใจสุขภาพของตนเองและผูอื่น รวมท้ังสามารถ
ตัดสินใจในการควบคุมสภาวการณท่ีมีผลกระทบตอสุขภาพ โดยเฉพาะนักเรียนจะไดรับการปลูกฝงทัศนคติ
ฝ�กทักษะและพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สมาชิกในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อยูในส่ิงแวดลอมที่
สะอาดและปลอดภัย ทาํ ใหบ รรลเุ ปา หมายของการพัฒนาคนใหม คี ณุ ภาพชีวิตท่ดี แี ละอยูในสังคมอยางมคี วามสุข

�า��า� ����งา��ง� ���ม� �ข� �า�����ว�ย���ย�����ยาว��

การดําเนินงานอนามัยโรงเรียน (School Health Program) ในอดีตเนน 4 เร่ืองหลัก คือ
สุขศึกษาในโรงเรียน (School Health Education) อนามัยสิ่งแวดลอมในโรงเรียน (School Health
Environment) บรกิ ารอนามยั โรงเรียน (School Health Service) และความสัมพนั ธร ะหวา งบานและโรงเรยี น
(School and Home Relationship)

ตอมามีการปรับเปลี่ยนวิธีการดําเนินงานอนามัยโรงเรียนจากขอเสนอแนวคิด “โรงเรียนสงเสริม
สุขภาพ” ของคณะผูเชี่ยวชาญดานการสงเสริมสุขภาพและสุขศึกษาขององคการอนามัยโลก ซ่ึงประเทศไทยโดย
กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการรวมกับสํานักงานภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต (SEARO)
ขององคการอนามัยโลก จัดประชุม Intercountry Consultation on Health Promoting School
เม่ือวันที่ 2-5 ธันวาคม 2540 ณ กรุงเทพมหานคร ผูเขาประชุมประกอบดวยผูแทน กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทบวงมหาวทิ ยาลยั และผแู ทนจาก 7 ประเทศในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต สบื เนอ่ื งจาก

‹Ù Í× 3

Ø

การประชุมดังกลาว กรมอนามัยจึงนําแนวคิดและกลยุทธ โรงเรียนสงเสริมสุขภาพน้ีมาดําเนินการในชวงเวลา
ท่ีตรงกับแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540-2544) โดยลักษณะการทํางานอยูบนพ้ืนฐาน
การมีสวนรวมของผูเก่ียวของทุกหนวยงาน องคกร และประชาชนในชุมชน มีการพัฒนาโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ
อยา งตอเน่อื ง ดังน้ี

พ.ศ. 2541 กรมอนามัยเร่ิมดําเนินการกลยุทธโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ โดยกําหนดเปาหมาย
ถายทอดแนวคดิ และพฒั นาโรงเรยี นสงเสรมิ สุขภาพตน แบบจงั หวดั ละ 1 โรงเรยี น (มีโรงเรยี นตนแบบ ของจงั หวดั
ศนู ยอนามยั และสวนกลาง รวม 89 โรงเรียน) และจดั ทาํ คูมือแนวทางการดาํ เนนิ งาน

พ.ศ. 2542 มติคณะรัฐมนตรีมีคําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพแหงชาติ
ซึ่งกรมอนามัยไดจัดประชุมคณะกรรมการดังกลาวและผลการประชุมทําใหเกิดเปาประสงคของนโยบายโรงเรียน
สงเสริมสุขภาพ กรมอนามัยจึงจัดประชุมแถลงนโยบายโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ โดยปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงมหาดไทย และจัดอบรมผูนําเพ่ือดําเนินงานโรงเรียน สงเสริมสุขภาพ
แกผูบริหารโรงเรียนตนแบบจํานวน 89 โรงเรียน สวนระดับจังหวัดมีการถายทอดแนวคิด แกฝายการศึกษาและ
สาธารณสุขระดบั อําเภอท่วั ประเทศ และขยายผลสรู ะดบั อาํ เภอ อาํ เภอละ 1 โรงเรียน

พ.ศ. 2543 มีการจัดทําเกณฑประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพดานกระบวนการ 5 องคประกอบ คือ
1) นโยบายดานสงเสริมสุขภาพ 2) คณะกรรมการสงเสริมสุขภาพ 3) การคนหาและกําหนดปญหาสุขภาพ
4) แผนงาน/โครงการดานสงเสริมสุขภาพ 5) การดําเนินงานตามแผนและการติดตามผล โดยกําหนดเปาหมาย
ใหมีโรงเรียนสงเสริมสุขภาพตําบล ตําบลละ 1 โรงเรียนและจัดประชุมสัมมนาเครือขาย โรงเรียนสงเสริมสุขภาพ
ระดับประเทศเพื่อประชาสัมพันธสูสาธารณะ สวนในระดับจังหวัดมีการประชุมถายทอดแนวคิดสูระดับตําบล
ทั่วประเทศ

พ.ศ. 2544 มีการลงนามขอตกลงความรวมมือในการพัฒนาโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระหวาง
กรมอนามัย กรมสามัญศึกษาและสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (สปช.) ตอมากรมอนามัย
ไดจดั ประชมุ โรงเรียนสงเสรมิ สุขภาพท้งั 4 ภาค ซ่งึ มีผแู ทนองคก รปกครองสวนทองถิ่นเขา รวมประชมุ สวนระดับ
จังหวัดมีการประชุมช้ีแจงผูเกี่ยวของระดับตําบล เพื่อขยายผลสูโรงเรียนที่ยังไมไดเขารวมโครงการ (มีโรงเรียน
สง เสรมิ สขุ ภาพผานการประเมนิ รอ ยละ 9.6 และมโี รงเรียนเขารว มโครงการ รอยละ 32)

พ.ศ. 2545 จัดทําเกณฑมาตรฐานการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพตาม 10 องคประกอบ
โรงเรียนสงเสริมสุขภาพ และแบงการประเมินเปน 3 ระดับ คือ ระดับทอง เงิน และทองแดง ในขณะเดียวกัน
กรมอนามยั ไดจ ดั ประชมุ ชแ้ี จงผบู รหิ ารโรงเรยี นในเขตกรงุ เทพมหานคร เพอื่ สรา งความเขา ใจแนวทางการดาํ เนนิ งาน
และจัดอบรมพัฒนาผูประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ (มีโรงเรียนสงเสริมสุขภาพผานการประเมิน รอยละ 22.6
และมโี รงเรียนเขารว มโครงการ รอยละ 84.3)

พ.ศ. 2546 จัดทําคูมือการดําเนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ และจัดประชุมสัมมนาวิชาการ
และมหกรรมโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ (มีโรงเรียนสงเสริมสุขภาพผานการประเมิน รอยละ 43.9 และมีโรงเรียน
เขา รว มโครงการรอ ยละ 88.3)

4 ‹Ù × Ø¢ÀÒ¾ ¾.È. 2558

พ.ศ. 2547 ไดข ยายเปา หมายสโู รงเรยี นในฝน ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ เกดิ โครงการ “โรงเรยี นในฝน
สรรคสรางอนามัยด”ี (มีโรงเรียนสง เสริมสุขภาพผานการประเมิน รอ ยละ 51.3)

พ.ศ. 2548 เริ่มโครงการ “เด็กไทยทําได” เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนดานสุขภาพ เนนการ
ใหความสําคัญและการมีสวนรวมของนักเรียน และการดําเนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพเปนไปอยางตอเนื่อง
(มีโรงเรียนสงเสรมิ สขุ ภาพผานการประเมินรอ ยละ 68.2 และเพ่มิ ขึน้ เปนรอ ยละ 88.8 ในป 2549)

พ.ศ. 2550 มีการลงนามขอตกลงความรวมมือในการพัฒนาสุขภาพนักเรียนระหวาง กรมอนามัย
และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกําหนดนโยบายพรอมท้ังจัดทําแผนปฏิบัติการรวมกัน
เพอ่ื ใชเ ปน กรอบการปฏบิ ตั งิ านสสู ขุ ภาวะทยี่ ง่ั ยนื ของนกั เรยี น ภายใตก ลยทุ ธโ รงเรยี นสง เสรมิ สขุ ภาพ ซงึ่ กรมอนามยั
ไดมุงเนนพัฒนาศักยภาพนักเรียนใหสามารถคิด วิเคราะห ประเมินสถานการณสุขภาพและวางแผนแกไขปญหา
ในรูปแบบของโครงงานสุขภาพ โดยนํารองจังหวัดละ 1 โรงเรียน และมีการขยายผลการดําเนินงานโรงเรียน
สง เสริมสุขภาพอยางตอ เนื่อง (มโี รงเรียนสงเสริมสขุ ภาพผานการประเมินรอ ยละ 93.6)

พ.ศ. 2551 มีการลงนามขอตกลงความรวมมือการพัฒนาระบบประกันสุขภาพการศึกษาเพื่อ
สรางสุขภาวะระหวางกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ โดยกระทรวงศึกษาจะเปนแกนหลัก
ในการผลักดันการสรางเสริมสุขภาวะนักเรียนและกระทรวงสาธารณสุขสนับสนุนและสรางเครือขาย
การดําเนนิ งาน

พ.ศ. 2552 มีโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพและผานการประเมินคอนขางสูง
รอยละ 96.8 กรมอนามัยจึงไดพัฒนาเกณฑมาตรฐานในระดับท่ีสูงขึ้นคือโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร
ซ่ึงเนนคุณภาพโดยวัดผลลัพธที่เกิดจากกระบวนการดําเนินงานตาม 10 องคประกอบท้ังดานสุขภาพและ
ดานพฤติกรรมสุขภาพ ผนวกกับผลลัพธจากการดําเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ พรอมท้ังจัดทํา
คูมือเกณฑมาตรฐาน และชี้แจงแนวทางใหผูเก่ียวของทราบ โดยเร่ิมดําเนินการในป 2552 และมีทีมประเมินจาก
สว นกลางรวมกบั ศนู ยอนามัย มีโรงเรยี นผา นการประเมนิ เปนโรงเรยี นสง เสรมิ สขุ ภาพระดับเพชรจํานวน 37 แหง

พ.ศ. 2553 การประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชรในชวงเวลา 2 ปแรกพบปญหาอุปสรรค
ในการประเมินโรงเรียน จึงมีการทบทวน ปรับปรุงเกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชรคร้ังท่ี 1
และจดั ทาํ คูมือ 2 เลม คือคมู ือการดําเนินงานโรงเรียนสง เสริมสุขภาพ และคมู อื ผปู ระเมนิ โรงเรยี น สง เสรมิ สุขภาพ
เปนฉบับรวมเลมของโรงเรียนสงเสริมสุขภาพทุกระดับ ผลการดําเนินงานในป 2553 มีโรงเรียนผานการประเมิน
เปน โรงเรียนสง เสริมสุขภาพระดับเพชร จํานวน 60 แหง และในป 2554 มจี ํานวน 65 แหง

พ.ศ. 2555 กรมอนามัยจัดอบรมช้ีแจงทีมประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร ประกอบดวย
นักวิชาการจากศูนยอนามัย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัดและสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร
การดําเนนิ งานในป 2555 มโี รงเรียนท่ผี า นการประเมินเปนโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร จํานวน 105 แหง

พ.ศ. 2556 การประเมินโรงเรยี นสง เสริมสุขภาพระดับเพชร ต้ังแตป งบประมาณ 2556 ดาํ เนินการโดย
ทีมประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขไดลงนามคําสั่งแตงต้ัง และกรมอนามัย
ไดปรับปรุงเนื้อหาเกณฑมาตรฐาน และแนวทางการประเมินโรงเรียนใหชัดเจนมากขึ้น สอดคลองกับ
บริบทโรงเรยี นและสถานการณป ญ หาสุขภาพนักเรียนในปจจุบนั เพอ่ื ใชเ ปน แนวทางการดําเนนิ การตอ ไป

‹Ù ×Í 5

Ø

พ.ศ. 2557 มีการขับเคลื่อนแนวคิดเรื่องบูรณาการ ในการจัดทํายุทธศาสตรของกระทรวงสาธารณสุข
โดยโรงเรียนสงเสริมสุขภาพมีความเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรดานพัฒนาสุขภาพกลุมเด็กวัยเรียนและยุทธศาสตร
ดานการพัฒนาสุขภาพกลุมวัยรุน หนวยงานของกรมตางๆ ท่ีเก่ียวของกับกลุมเปาหมายทั้งสองกลุมจึงดําเนินการ
ปรับปรุงเกณฑมาตรฐานการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพตาม 10 องคประกอบ ใหสอดคลองกับ
ความเปล่ยี นแปลงของสถานการณท ีม่ ผี ลกระทบตอ สขุ ภาพเดก็ และเยาวชน
อมยีกาางรไลรงกน็ตาามมข้อกตากรลดงําคเนวินามงรา่วนมโรมงือเรีรยะนหสวง่าเสงกรริมมสอุขนภาามพัย ตแอลงะอสาำ�ศนัยักกงาารนมรีัสบวรนองรมวามตขรอฐงาภนาแคลีเะคปรรือะขเามยิน
ทคุกณภภาาคพสกวานรใศนกึ สษังาค(มองคไดก์ แากรม หผูบาชรนิห)า(รสโมรศงเ.ร) ียในนกาครรพู ฒั นนักาเรกียานรดแ�ำ เลนะนิ ชงุมานชนแลฯะลแฯลกเปนลยี่กนําลขังอ้ สมําลู คทัญจี่ �ำในเปกน็ าปรรขะับโเยคชลน่ือต์ นอ่
กกาารรดดําำ�เเนนนิ นิ งงาานนใหบ รรลุผลสาํ เร็จ

พ.ศ. 2558 มีการสมั มนาโครงการโรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพแบบบูรณาการ โดยการชี้แจงเกณฑ์มาตรฐาน
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่ปรับปรุงใหม่ ร่วมกับการประชุมชี้แจงการใช้แบบบันทึกการตรวจสุขภาพ
ด้วยตนเองสำ�หรับนักเรียน และการประชุมถอดบทเรียนการดำ�เนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผู้เข้าประชุม
ประกอบดว้ ยผูบ้ ริหารและนกั วิชาการฝ่ายสาธารณสขุ และฝา่ ยการศึกษา จากหนว่ ยงานส่วนกลางและภูมิภาค

อย่างไรก็ตาม การดำ�เนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย

ทุกภาคสว่ นในสงั คม ไดแ้ ก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครู นกั เรยี น และชุมชน ฯลฯ เปน็ กำ�ลังส�ำ คัญในการขับเคลื่อนการ

ด�ำ เนินงานใหบ้ รรลุผลสำ�เร็จ

6 ¤Á‹Ù Í× ¡ÒôíÒà¹¹Ô §Ò¹
6
âçàÃÂÕ ¹Ê‹§àÊÃÁÔ Ê¢Ø ÀÒ¾ ¾.È. 2558

บทท่ี

$ TILa [ E*_EDÿ ;L* _LECþ LZ%[email protected]

$TE_%T E ICa'E*$TEaE*_EDÿ ;L* _LEþCLZ%[email protected]

โรงเรียนทุกสังกัดทั้งภาครัฐและเอกชนเขารวมโครงการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพได โดยแสดง
ความจํานงกับหนวยงานตนสังกัดระดับจังหวัดหรือสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และรับคูมือการดําเนินงาน
โรงเรียนสงเสริมสุขภาพสําหรับใชเปนแนวทางในการดําเนินงานเพื่อพัฒนาสูการประเมินรับรองในระดับตางๆ
ตอไป

%h;S 7O;$TE$T IL [aE*_EDÿ ;L *_LEþCL%Z [email protected]

การพัฒนาโรงเรียนสูโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ เกิดจากผูบริหาร คณะครูและนักเรียนมีความ
ตระหนักถึงความสําคัญของการมีสุขภาพดี และความจําเปนในการสรางพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองต้ังแตเด็ก
รวมท้ังมุงม่ันสรางใหโรงเรียนเปนศูนยกลางของการพัฒนาความเปนอยูอยางมีสุขภาพดีของทุกคนในชุมชน
โดยโรงเรียนดาํ เนินการตามขัน้ ตอน ดังนี้

1. ���� ��������� ���� ������������������

ผูบริหารโรงเรียนควรชี้แจงแก ครู นักเรียน ผูปกครอง ผูนําชุมชนและประชาชนในทองถ่ิน
เก่ียวกับความสําคัญและความจําเปนในการดําเนินงานสรางสุขภาพเพ่ือสรางความเขาใจและความรวมมือระหวาง
โรงเรยี นและชุมชน

2. ��� ���������������� ����������������������

คณะกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียนสรรหากลุมบุคคลที่สนใจงานสงเสริมสุขภาพ และ
การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของนกั เรยี นและชมุ ชน แตง ตง้ั เปน คณะกรรมการสง เสรมิ สขุ ภาพของโรงเรยี นประกอบดว ย
ครู นักเรียน ผูปกครอง บุคลากรสาธารณสุขและผูแทนองคกรในชุมชน โดยคณะกรรมการชุดน้ี ทําหนาที่
ในการรว มกันคน หาแนวทางปฏบิ ัติเพ่อื พฒั นาสูก ารเปนโรงเรียนสง เสรมิ สุขภาพ

3. ������������������������ 7
คณะกรรมการสถานศึกษาสรรหาและแตงตั้งคณะกรรมการท่ีปรึกษาจากผูนําชุมชน และ

ผูที่สนใจ โดยคณะกรรมการชุดน้ีจะทํางานรวมกับโรงเรียนในการเผยแพรขาวสารดานการสงเสริมสุขภาพ
ตลอดจนระดมทรัพยากรในทองถ่ิน เพื่อสนับสนุนและสรางความแข็งแกรงในการดําเนินงานโรงเรียนสงเสริม
สขุ ภาพ

Ù‹ ×

Ø

4. Iþ_'ETRML 8T;$TE5
คณะกรรมการสงเสริมสุขภาพของโรงเรียนสํารวจสถานการณดานสุขภาพของโรงเรียนและชุมชน

เพ่ือรวบรวมขอมูลพ้ืนฐานในการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพ เชน สถานการณปญหาสุขภาพ สภาพส่ิงแวดลอม
ทางสังคม ระเบยี บ กฎเกณฑ รวมท้ังทรัพยากรในชุมชนท่ีเอือ้ ตอการสง เสริมสุขภาพ

5. $Tl M;6+Ă6_ECgþ 7 ;b;$TE9Tl *T;
คณะกรรมการสงเสริมสุขภาพของโรงเรียน นําผลการวิเคราะหสถานการณสุขภาพของ

โรงเรียนและชุมชน มารวมกันระดมความคิดในการกําหนดประเด็นเพ่ือดําเนินการสงเสริมสุขภาพตาม
สภาพปญหา/ความตองการของนกั เรยี น บคุ ลากรในโรงเรยี น ผปู กครองและชมุ ชน

6. +6S 9Tl `>;=1<V S7V$TE
คณะกรรมการสงเสริมสุขภาพของโรงเรียนกําหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการใหสอดคลอง

กับสภาพปญหา พรอมทั้งกําหนดเปาหมายการดําเนินงาน รูปแบบกิจกรรม บทบาทท่ีเกี่ยวของ ตัวช้ีวัดในการ
ติดตามประเมินผล การประสานความรวมมอื ระหวา งโรงเรยี นกับชุมชนและระบบรายงานใหช ัดเจน

7. 76V 7TC`GR=ER_C;V >G
คณะกรรมการสงเสริมสุขภาพของโรงเรียน ติดตามความกาวหนาในการดําเนินงาน โดยการ

จัดประชุมแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางผูเก่ียวของ มีการประเมินผลการดําเนินงาน การเผยแพร
ประชาสัมพนั ธผ ลสาํ เรจ็ และการปรับแผนงานเพอ่ื แกไ ขขอ บกพรอ งในการดําเนนิ งานเปน ประจาํ อยางตอเนือ่ ง

8. [email protected] ;T_'EāO% TDER6S<9 O*8;Vg
คณะกรรมการสงเสริมสุขภาพของโรงเรียนแตละโรงเรียน มีการผลักดันและสนับสนุน

การดําเนินงานซ่ึงกันและกัน ดวยการสรางเครือขายโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ โดยมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร
ประสบการณ และแหลงทรัพยากร ตลอดจนมีการจูงใจใหโรงเรียนอื่นๆ ที่ยังไมรวมโครงการ เกิดความตื่นตัว
และรว มดาํ เนนิ การสง เสริมสุขภาพในโรงเรียนตามแนวทางโรงเรยี นสง เสริมสุขภาพ

8 Ù‹ × ¹
Ø¢ÀÒ¾ ¾.È. 2558

[email protected] ;T$TE6Tl _;;V *T;aE*_EDÿ ;L* _LEþCLZ%[email protected]

การพัฒนาโรงเรียนสงเสริมสุขภาพตามหลักการบริหารงานโดยใชวงจรคุณภาพ (Quality Circle)
ดังน้ี

1. 1ก.า$รวTEาIงTแ*ผ`น>ด;�ำ6เนTl _นิ;ง;V า*นT;(P(PLLAANN)) 2. การ2ป.ฏ$บิ Tตั Eกิ=1ารV<S7($VDTOE)(DO)

● แต่งต้ังคณะกรรมการสง่ เสรมิ สุขภาพของ ● ปฏิบัตติ ามแผนงาน โครงการ ทกี่ ำ�หนด
โรงเรียนเป็นลายลักษณ์อกั ษรประกอบดว้ ย ● โรงเรียนประเมินตนเอง (Self Assessment)
ครู นักเรยี น ผ้ปู กครอง บคุ ลากรสาธารณสุข
และผูแ้ ทนองค์กรในชมุ ชน โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานการประเมินโรงเรียน
ส่งเสริมสุขภาพ เพื่อค้นหาสิ่งที่ยังไม่ได้ดำ�เนิน
● คณะกรรมการสง่ เสริมสขุ ภาพของโรงเรยี น การหรือดำ�เนินงานไม่เป็นไปตามเกณฑ์
ร่วมกันก�ำ หนดนโยบายสง่ เสริมสขุ ภาพ มาตรฐานโรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพ
ใหค้ รอบคลมุ ประเด็นสุขภาพทจี่ ำ�เปน็ ● ดำ�เนินงานเพื่อปรับปรุงให้บรรลุตัวชี้วัดตาม
ตอ่ การสร้างสขุ ภาพ เพอื่ เป็นทิศทาง เกณฑม์ าตรฐานการประเมิน
ในการพัฒนา
● ถา่ ยทอดนโยบายสนู่ กั เรียน ครู
ผปู้ กครอง และผเู้ กย่ี วขอ้ ง
● จัดทำ�แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา

และแผนงานโครงการใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบาย
ส่งเสรมิ สุขภาพ
● จัดทำ�ข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ
สภาพปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพ
ของทกุ ฝา่ ยท้ังในและนอกโรงเรียน

‹Ù × 9

Ø

3. $TE7EI+LO</9<9I;/=ER_CV; (CHECK) 4. $TE=E<S =EZ*`$ c%/@S4;T (ACT)

3. การตรวจสอบ/ทบทวน/ประเมนิ (CHECK) 4ส.รุปผกลากราปรรตรบั วปจรสอุงบแกทไ้ ขบท/วนแพลฒั ะ นา (ACT)

นนหโไใรนป ิเํารงทปใผอื●●เชรศกลก ป ยี งากจิ รนสหไโนนารากรปบันรศสเิำ�รรงรทใุปผปอืตงกึตเรชศรเลผการษรมป้สยีงมงุกลิจวขารรานแจอากกตอมิับนกสรสงราองสปตตไ่งครรอโไขุขเารรรตมปปบสภมงุงวรขกรรเแจอาวทรอะามิ กพสจงยีรกบงสคไ้อสดนโอทขุขร์ปบอาํสบภวงเรบกงเ/นนาทะรเาตพสแนิทียกบรวั รลงนดอบทชิมาะ�ำบสทว้ีวนสนเ่ง/ัดนวนขุเิเตนแทสนิภวั ลแรศงชาิมะลางพีว้ นนสาะดั นุขิเทภศางพาน
ในปีการศกึ ษาตอ่ ไป
● นเิ ทศ กำ�กบั ติดตาม สร้างขวญั กำ�ลังใจในการ
ดำ�เนินงานโดยคณะกรรมการนิเทศภายในของ
โรงเรียนเปน็ ระยะ ระหว่างการปฏบิ ตั งิ าน

● ตรวจสอบ ทบทวน ประเมินโรงเรียน
สง่ เสรมิ สขุ ภาพโดยคณะกรรมการจากหนว่ ยงาน
สาธารณสุขและการศึกษา รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิ
ในแตล่ ะกลุ่มโรงเรียน หรือเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา

● ขอรบั การประเมนิ เพอ่ื รบั รองในแตล่ ะระดบั จาก
ทีมประเมินระดับอำ�เภอหรือทีมประเมินระดับ
จงั หวัดต่อไป

'ITCE ICCYOb;$TE6lT_;;V *T;aE*_EÿD;L *_LEþCLZ%[email protected]

'EO<'EIS BT'ES2 ;S$_EÿD;
* @ O`C * aE*_EDÿ ; * `$;;Tl
* >=[ $'EO* * M;I D*T;LT:TE5L%Z * -CEC
* M; ID*T;OY;g e

aE*_EÿD;
L *_LECþ
LZ%[email protected]

-CZ -;
* O*' $E9O *8g;V
* $G CZ /-CEC

10 Ù‹ × Ø

=ERaD-;9 Wg_$6V %;hĀ +T$$TE_=; aE*_EÿD;L *_LEþCLZ%[email protected]

โรงเรียนไดรบั รแู นวทางการสง เสริมสุขภาพนกั เรียน บคุ ลากรในโรงเรยี นและขยายผลสูชมุ ชน
นักเรียนไดเรียนรูวิถีชีวิตในการสรางพฤติกรรม ซ่ึงจะปลูกฝงใหเกิดการปฏิบัติตนท่ีจะนําไปสู
การมสี ขุ ภาพดีตง้ั แตเ ดก็ ควบคไู ปกบั การศึกษา เพอื่ ใหเ ดก็ “ดี เกง มีสุข”
ครู ผูปกครอง และสมาชิกของชุมชนจะไดรับความรูเก่ียวกับสุขภาพอนามัยเพื่อนําไปปฏิบัติ
ใหเกดิ ทกั ษะการดแู ลสขุ ภาพที่เหมาะสม
ตัวช้ีวัดของโรงเรียนสงเสริมสุขภาพมีความสอดคลองกับตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพการศึกษา
กอใหเ กดิ ผลดตี อ โรงเรยี นในการรบั การประเมินจากภายนอก
โรงเรยี นมีโอกาสไดร ับความรว มมอื และการชวยเหลือจากชุมชนและองคกรตา งๆ เพ่มิ ขึ้น
ประโยชนดังกลาวขางตน เปนความทาทายภายใตเง่ือนไขที่จํากัดของทรัพยากร คน เวลา และ
งบประมาณของฝายการศึกษา สาธารณสขุ และทองถน่ิ ทางเลอื กที่เหมาะสมคอื “การบรู ณาการความรว มมอื
ในเร�องการศึกษาควบคูไปกับการมีสุขภาพดี” โดยมีเปาหมายสูงสุดคือ ภาพลักษณของเด็กวัยเรียน
และเยาวชนไทยที่ดี เกง และมีความสุข อันเปนความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาและการปฏิรูประบบสุขภาพ
ซึ่งจะนาํ ไปสกู ารบรรลุถึงปรัชญาการพัฒนา “คน” อยางแทจรงิ

11

Ù‹ ×

Ø

บทท่ี

$TEES<EO*_= ;aE*_EDÿ ;L* _LEþCL%Z [email protected]

%hS;7O;$TEES<EO*_=; aE*_EDÿ ;L *_LECþ LZ%[email protected]

1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรวมกับหนวยงานตนสังกัดของโรงเรียนในพ้ืนที่ ช้ีแจงหนวยงาน
ฝา ยสาธารณสขุ ฝา ยการศกึ ษา ตลอดจนโรงเรยี นทแ่ี สดงเจตจาํ นงเขา รวมพัฒนา

2. โรงเรยี นประเมนิ ตนเอง โดยใชเ กณฑม าตรฐานการประเมนิ โรงเรยี นสง เสรมิ สขุ ภาพ 10 องคป ระกอบ
เพอื่ คนหาสง่ิ ทีย่ งั ไมไดดาํ เนนิ การ หรือดําเนินการไมครบถว น

3. โรงเรียนพัฒนาใหเขาสูเกณฑมาตรฐาน โดยใชวงจร PDCA คือ วางแผน ดําเนินการ ทบทวน
ตรวจสอบ แกไขเพ่ือปรับแผนใหม ทั้งในสวนที่สามารถดําเนินการไดเองและสวนที่จําเปนตองขอรับการสนับสนุน
จากบุคคล/หนวยงานทเี่ กี่ยวของในพ้ืนที่ ซงึ่ สามารถขอรับคาํ แนะนาํ ไดจ ากทีมประเมนิ ระดบั อาํ เภอ

4. เม่ือโรงเรียนดําเนินการไดครอบคลุมทุกองคประกอบ และเห็นวาผานเกณฑมาตรฐานการประเมิน
โรงเรียนสงเสริมสุขภาพแลว สามารถแจงความประสงคขอรับการประเมินไดบุคลากรสาธารณสุขผูรับผิดชอบ
งานอนามัยโรงเรียน

5. โรงเรียนนําผลจากการผานเกณฑประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับทองมาเปนขอมูลเบื้องตน
เพ่ือกา วสรู ะดับเพชร

6. โรงเรียนประเมินตนเองโดยใชเกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชรเพ่ือคนหา
ส่งิ ที่ยงั ไมถึงเกณฑและพัฒนาเขาสเู กณฑ

7. เมื่อโรงเรียนเห็นวาผานเกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร จะตองจัดทําเอกสาร
ท่ีแสดงใหเห็นถึงผลการบรรลุตัวช้ีวัดตางๆ ตามแบบฟอรม (ภาคผนวก) สงผานทีมประเมินระดับอําเภอไปยัง
ทมี ประเมนิ ระดบั จังหวัดเพ่อื ประเมินในเบื้องตน

8. เม่ือโรงเรียนไดรับการประเมินวาผานเกณฑโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชรในเบื้องตน
จากทีมประเมินระดับจังหวัดแลว สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดแจงศูนยอนามัยเพื่อขอรับการประเมินรับรอง
โรงเรียน

9. หลังจากทีมประเมินจากศูนยอนามัยไดประเมินโรงเรียนและพิจารณาใหผานการประเมิน
ในระดบั เพชรแลว สง เอกสารรายงานของโรงเรียน (รายงานท่แี กไ ขแลว) และสรุปผลการประเมินของศูนยอนามัย
เพ่ือใหกรมอนามยั พิจารณาการรับรองเปน โรงเรยี นสง เสริมสุขภาพระดบั เพชรตอไป

12 Ø

‹Ù ×

$ER<I;$TEE<S EO*_=; aE*_EÿD;L *_LECþ LZ%[email protected]

สสจ. ร่วมกับ สพท. โรงเรยี นเข้าร่วมโครงการ โรงเรยี นแจ้งความจำ�นงสมัครเขา้ ร่วม
ช้ีแจง โครงการไปยังหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ในพน้ื ที่
ไม่ผา่ น
โรงเรียนประเมนิ ตนเอง
โรงเรียนพัฒนา ภายใต้ 10 องคป์ ระกอบ
เขา้ สู่เกณฑ์ โดยคณะกรรมการสง่ เสรมิ สุขภาพของโรงเรยี น

ผ่าน
แจ้งความจ�ำ นงขอรับการประเมนิ

ไปยงั เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ
ที่ดูแลโรงเรียน

ประเมินรับรองเป็น พัฒนา ประเมินรบั รองการเปน็ โรงเรียน ทีมประเมิน
โรงเรยี นส่งเสรมิ สุขภาพ ส่งเสรมิ สุขภาพระดับทอง ระดับอ�ำ เภอ
ระดับเงินและระดบั ทองแดง

ส�ำ นักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ตรวจสอบผลการประเมิน
แลว้ พจิ ารณารบั รองการเปน็ โรงเรียนระดบั ทอง

ไม่ผ่าน โรงเรียนประเมนิ ตนเองโดยคณะกรรมการส่งเสรมิ สุขภาพ ทีมประเมิน
โรงเรียนพัฒนา ของโรงเรียนเพอ่ื ยกระดับจากโรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพ ระดบั อ�ำ เภอ

เขา้ สู่เกณฑ์ ระดับทองเป็นโรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพระดับเพชร
ผา่ น

แจง้ ความจำ�นงขอรบั การประเมนิ
พรอ้ มเอกสาร/หลกั ฐาน ไปยงั
ส�ำ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด

ประเมนิ รับรองการเปน็ โรงเรยี น ทีมประเมิน
สง่ เสรมิ สขุ ภาพระดบั เพชรในเบอ้ื งต้น ระดับจงั หวัด

ประเมินรับรองการเปน็ โรงเรยี น คณะกรรมการประเมนิ โรงเรียน
สง่ เสริมสุขภาพระดบั เพชร ส่งเสรมิ สขุ ภาพระดบั เพชรตาม

คำ�สั่งกระทรวงสาธารณสขุ

- สง่ รายงานฉบับสมบรู ณ์ของโรงเรยี น
- สง่ สรุปรายงานการประเมินของศูนย์อนามยั

พิจารณาและรบั รองการเป็น คณะกรรมการประเมนิ รบั รองฯ
โรงเรียนส่งเสรมิ สขุ ภาพระดับเพชร จากสว่ นกลาง

โรงเรียนได้รบั เกียรตบิ ตั รและพฒั นาเพือ่ คงสภาพอยา่ งต่อเนื่อง

- การรับรองมอี ายุ 3 ปี นับจากวนั ที่ระบุในเกียรตบิ ัตร ‹Ù ×
- การเลอ่ื นระดับของการประเมนิ สามารถท�ำ ไดต้ ามความพรอ้ มของโรงเรยี น
Ø

13

บทที่

[email protected];TL[' ITCLTl _Ef+
[email protected] '5Z [email protected]ÿ þ796Wg %W O*_6f$ODT *D*gS D;Y

การพัฒนาโรงเรียนสงเสริมสุขภาพสูความสําเร็จและย่ังยืน ตองอาศัยความสามารถและความรวมมือ
ของหนวยงานทุกระดับ ในการรวมพลังสรางความเขมแข็ง และความรวมมือภายใตบริบทพ้ืนที่ของโรงเรียน
โดยบทบาทของผเู ก่ยี วขอ งในการพฒั นาเพอื่ ความสาํ เร็จและยง่ั ยืน ประกอบดว ย

1. >< [ EþMTEaE*_EDÿ ;
ผูบริหารโรงเรียน เปนบุคคลสําคัญและเปนผูท่ีมีวิสัยทัศนเร่ืองการสรางสุขภาพ เห็นประโยชน
และใหความสําคัญ มีความมุงมั่นต้ังใจท่ีจะพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโรงเรียนสงเสริมสุขภาพอยางจริงจัง
โดยการผลักดนั สงเสริม สนบั สนนุ สรางขวัญกาํ ลงั ใจใหค รู นักเรยี น ผูปกครอง และสมาชิกของชมุ ชน

2. '5R'E[
คณะครูทํางานเปนทีม เขาใจบทบาทหนาที่ตนเอง และการประสานการดําเนินการดานสุขภาพ
ท่ีมีเปาหมายรวมกัน เพื่อการพัฒนาสุขภาพตนเอง นักเรียน และบุคลากรทุกคน ไมใชครูอนามัยหรือครูคนใด
คนหน่ึงเปน ผูรบั ผดิ ชอบ

3. ;$S _EÿD;`$;;Tl `GR-CECL%Z [email protected];aE*_EÿD;
นักเรียนแกนนําเปนบุคคลสําคัญท่ีโรงเรียนตองพัฒนาใหเปนผูนําดานสุขภาพ ดวยการสงเสริม
ใหนกั เรียนรวมกลุมกัน จัดต้ังชมรมสุขภาพและทํากิจกรรมสุขภาพในโรงเรียนและชุมชน โดยโรงเรียนและชุมชน
เปน ผสู นบั สนุน

4. '5R$EEC$TEL* _LEþCLZ%[email protected]%O*aE*_EDÿ ;
คณะกรรมการสงเสริมสุขภาพของโรงเรียน ทําหนาที่ในการกําหนดทิศทางการพัฒนา
เปน ผทู มี่ คี วามสนใจและเขา ใจการทาํ งานดา นสขุ ภาพสาํ หรบั กลมุ เดก็ และเยาวชน เขา ใจวตั ถปุ ระสงคข องการพฒั นา
โรงเรียนใหเปนโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ โดยคณะกรรมการมีการประสานงานอยางสม่ําเสมอ เปนท่ีปรึกษา
ใหข อเสนอแนะ และติดตามผลการดาํ เนนิ งานเปน ระยะ

5. $TECWL I;E IC%O*-ZC-;`GR=ER-T-;
การพัฒนาใหชุมชนมีสวนรวม เร่ิมจากการสรางความเขาใจและทัศนคติที่ดีเรื่องสงเสริมสุขภาพ
รวมท้ังไดรับทราบปญหาที่มีผลกระทบตอสุขภาพในชุมชน เม่ือชุมชนเกิดความตระหนัก ใหความสําคัญ และ
เห็นประโยชนของการสงเสริมสุขภาพ ชุมชนจะเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสุขภาพมากข้ึน ซ่ึงเปนส่ิงสําคัญ
ทีท่ ําใหชุมชนเขมแข็ง

6. [email protected]$Eb;-CZ -;
การระดมทรัพยากรในชุมชน ทุกคนในชุมชนสรรหาและคนหาแหลงทุน หรือทรัพยากรท่ีมีคุณคา
ในชุมชน ไดแก ปราชญชาวบาน วัฒนธรรม วิถีชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติ และทุนทางสังคมอ่ืนๆ เพื่อนํามา
ปรับใชใหเ กดิ ประโยชนต อ การดําเนินงานดา นสุขภาพ
‹Ù ×
Ø
14

7. _'EāO% TDaE*_EÿD;L* _LEþCL%Z [email protected]
เครือขายโรงเรียนสงเสริมสุขภาพเปนรูปแบบหนึ่ง ท่ีทําใหเกิดการพัฒนาดวยการขยายผล

การดําเนินงาน โดยการสนับสนุน ชวยเหลือเกื้อกูลกัน การแลกเปล่ียนประสบการณเรียนรู การสรางและ
บริหารจดั การเครือขา ยโรงเรียนสง เสริมสขุ ภาพ ซ่ึงจะทําใหเครือขา ยมีความเขม แขง็

= ++SDL *_LEþCbM aE*_EÿD;L* _LECþ LZ%[email protected]=ERL<'ITCLTl _Ef+ODT *Dg*S DY;
1. ทีมงานที่ทรงคุณภาพ มีความตระหนัก มีความรู ความเขาใจ ทุมเทและเสียสละ ท้ังทีมงานครู

และนักเรียน
ผูบริหารมีวิสัยทัศน นโยบายและรูปแบบการบริหารจัดการ โดยใชโรงเรียนเปนฐานในการ
ขบั เคลือ่ นพฒั นา มกี ารกําหนดผูรบั ผดิ ชอบอยางชดั เจน
คณะครูและนักเรียนมุงมั่นต้ังใจ รวมแรงรวมใจในการทํางานเปนทีม และรวมเปนเจาของ
โครงการ

2. ภาคีเครือขายท่ีเขมแข็ง ไดแก คณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ผูนําชุมชน ศิษยเกา
อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ฯลฯ มีการประสานความรวมมืออยางเขมแข็ง รวมคิด รวมทํา
รว มตัดสนิ ใจ รว มแกป ญหาและรว มพฒั นา

3. การระดมทรัพยากร ไดแก การระดมทุนเพื่อการพัฒนาสภาพแวดลอม อาคารสถานที่ และวัสดุ
อุปกรณท่ีจําเปนอยา งเพียงพอ ปลอดภัยและมมี าตรฐาน

4. การบรหิ ารจดั การแบบมสี ว นรว ม ไดแ ก การมสี ว นรว มของทกุ ภาคสว นในการดาํ เนนิ งาน ทกุ ขน้ั ตอน
ต้งั แตก ารวางแผน การดําเนินงาน การประเมินผล

5. พัฒนาสิ่งใหมใหเกิดข้ึน โดยการคนควาและพัฒนาอยางสรางสรรค เพ่ือใหเกิดความตอเน่ือง
และยัง่ ยืน

6. คนหาเครือขายใหมๆ เสมอ ขยายเครือขายการสงเสริมสุขภาพใหมากข้ึนทั้งในระดับอําเภอ
จังหวัดและประเทศ

7. การแลกเปลย่ี นเรียนรแู ละเผยแพรผลงานระหวา งเครอื ขายและหนว ยงานทีเ่ ก่ยี วของ

3 @GS*b;[email protected];TL[ 'ITCLTl _Ef+`GRD*gS DY;
1. @GS*6T ;Iþ-T$TE : ผบู ริหารตอ งมนี โยบายทช่ี ดั เจน มีกลยทุ ธสรา งแรงจูงใจในการทํางาน
: บุคลากรในโรงเรียนรวมดาํ เนนิ การ ศกึ ษาขอมลู สภาพปญ หา
: บุคลากรสาธารณสุขใหการสนับสนุนองคความรูวิชาการดานสุขภาพ
และสงิ่ แวดลอม
2. @GS*6T ;$TE_CYO* : คณะกรรมการบริหารโรงเรียนตระหนักถึงความสําคัญและมีสวนรวม
ในการพัฒนาการดาํ เนนิ งานโรงเรยี นสง เสรมิ สขุ ภาพ
: หนวยงานท่ีเก่ียวของ มีการนิเทศ กํากับ ติดตามเพ่ือการพัฒนาอยาง
ตอ เนือ่ ง
3. @G*S =ER-TLS*'C : ผปู กครองนกั เรยี นและชมุ ชนควรมสี ว นรว มในการดาํ เนนิ กจิ กรรม/โครงการ
หรอื เขารวมกิจกรรม

‹Ù ×

Ø 15

บทท่ี

$TE6Tl _;;V *T;aE*_EÿD;L *_LECþ L%Z [email protected]

การดําเนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพเปนกระบวนการดําเนินงานเพ่ือใหเกิดกิจกรรมสงเสริม
สขุ ภาพและปองกันโรคตามองคประกอบของโรงเรียนสงเสริมสขุ ภาพ 10 ประการ แบงเปน 2 ดาน คือ

1) ดานกระบวนการ ไดแ ก
องคป ระกอบท่ี 1 นโยบายของโรงเรยี น
องคประกอบท่ี 2 การบริหารจดั การในโรงเรยี น

2) ดา นการสง เสรมิ สุขภาพและสง่ิ แวดลอ ม ไดแก
องคป ระกอบที่ 3 โครงการรว มระหวา งโรงเรยี นและชมุ ชน
องคป ระกอบท่ี 4 การจดั สิ่งแวดลอ มในโรงเรียนทีเ่ อ้อื ตอ สุขภาพ
องคประกอบท่ี 5 บรกิ ารอนามัยโรงเรยี น
องคประกอบท่ี 6 สขุ ศึกษาในโรงเรียน
องคป ระกอบท่ี 7 โภชนาการและอาหารท่ปี ลอดภัย
องคป ระกอบที่ 8 การออกกําลังกาย กฬี าและนันทนาการ
องคประกอบท่ี 9 การใหคาํ ปรกึ ษาและสนบั สนุนทางสงั คม
องคประกอบท่ี 10 การสง เสรมิ สุขภาพบคุ ลากรในโรงเรียน

ER6<S $TEES<EO*aE*_EDÿ ;L *_LEþCL%Z [email protected]
ระดับทองแดง
ผานเกณฑประเมินขั้นดีมาก 4 องคประกอบ โดยตอ งผา นตวั ชว้ี ดั ทกุ ตัว
ผา นเกณฑก ารประเมนิ ขัน้ ดใี น 6 องคป ระกอบทเ่ี หลือ
ระดบั เงิน
ผา นเกณฑป ระเมนิ ข้นั ดมี าก 6 องคประกอบ โดยตอ งผา นตัวชว้ี ัดทกุ ตัว
ผา นเกณฑก ารประเมนิ ขัน้ ดใี น 4 องคประกอบที่เหลือ
ระดบั ทอง
ผา นเกณฑป ระเมนิ ขั้นดีมาก 8 องคป ระกอบ โดยตอ งผานตวั ชว้ี ัดทกุ ตัว

ผา นเกณฑก ารประเมินขนั้ ดใี น 2 องคป ระกอบทเ่ี หลือ

รายละเอยี ดการดําเนนิ งานโรงเรียนสงเสรมิ สขุ ภาพในบทที่ 6 ประกอบดวย 2 สวน คอื
1. เกณฑมาตรฐานการประเมนิ โรงเรยี นสง เสริมสุขภาพ
2. แนวทางการดําเนินงานโรงเรียนสง เสรมิ สขุ ภาพ

16 ‹Ù × Ø

1. _$53C T7E2T;$TE=ER_C;V aE*_EDÿ ;L* _LEþCLZ%[email protected]

องคป ระกอบท่ี 1 น��บา�ของ�รงเร��น

�ั����ดั เกณฑ ระดับการประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลงขอ มูล/
ทีไ่ ด ��� �� �ิ ู�น

การกาํ หนดนโยบายสงเสริมสุขภาพ

ของโรงเรยี น

1. มกี ารแตงตงั้ คณะกรรมการสง เสรมิ คณะกรรมการ 3 ใน 5 ขน้ึ ไป (5) .................... - คาํ สงั่ แตงตงั้
นอ ยกวา 3 ใน 5 (3) - ประกาศ
สขุ ภาพของโรงเรยี นหรอื คณะทาํ งาน หรือคณะทาํ งาน ไมมี (0) ของโรงเรียน

ทท่ี ําหนา ท่ีเกี่ยวกบั การสง เสรมิ สุขภาพ มสี ดั สว นอยาง - สอบถามหรือ
สัมภาษณผบู รหิ าร
ของโรงเรยี น อยางเปน ลายลกั ษณอ กั ษร นอ ย 3 ใน 5 โรงเรยี น

ซึ่งประกอบดว ยครู นกั เรียน ผปู กครอง มาจากประชาชน

เจา หนาท่ีสาธารณสขุ และผูแทนองคกร และองคกร

ในชมุ ชน ในชมุ ชน

2. โรงเรยี นมีนโยบายสงเสริมสขุ ภาพท่ี 8 ประเด็น ครอบคลมุ 8 ประเดน็ (10) .................... - เอกสารนโยบาย
ครอบคลุมประเด็น ดงั ตอ ไปนี้ ครอบคลมุ 7 ประเด็น (7) ดา นสง เสริมสุขภาพ
1) การสงเสริมส่ิงแวดลอ มทาง ครอบคลมุ 5-6 ประเด็น (5) ของโรงเรยี น
กายภาพและทางสงั คมที่เออ้ื ตอ ครอบคลมุ 3-4 ประเด็น (3) - สอบถามหรอื
การพฒั นาสขุ ภาพนักเรียน ครอบคลมุ 1-2 ประเดน็ (1) สัมภาษณผบู รหิ าร
2) การสงเสริม เฝาระวงั และ ไมม กี ารกําหนดนโยบาย (0) โรงเรยี น
แกไ ขปญ หาสุขภาพ
3) การพฒั นาพฤตกิ รรมสุขภาพ
ตามสุขบัญญัติแหง ชาติ
4) การคมุ ครองผบู ริโภคในโรงเรยี น
5) การสงเสรมิ สขุ ภาพจติ และเฝาระวงั
พฤติกรรมเสยี่ ง
6) การพัฒนาระบบการเรียนรูด า น
สุขภาพโดยมผี ูเรียนเปน สาํ คญั
7) การสงเสริมสุขภาพบคุ ลากร
ในโรงเรียน
8) สง เสรมิ การมสี ว นรว มของชมุ ชน
ในการพัฒนาสขุ ภาพนักเรยี น
บุคลากรในโรงเรียนและชุมชน

Ù‹ × 17

Ø

��ั ���ดั เกณฑ ระดับการประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลง ขอ มลู /
8 ประเดน็ ที่ได ��� ���ิ �ู น
การถา ยทอดนโยบายสูก ารปฏบิ ตั ิ
3. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม รองรับ มคี รบตามนโยบาย8ประเด็น (10) .................... - แผนพัฒนา

นโยบายสง เสริมสขุ ภาพ มี 7 ประเดน็ (7) คุณภาพการศึกษา

มี 5-6 ประเด็น (5) - แผนปฏบิ ัตกิ าร

มี 3-4 ประเด็น (3) ประจําป

มี 1-2 ประเดน็ (1) - แผนงาน/โครงการ

ไมมี (0)

4. บุคลากรในโรงเรียนทราบนโยบาย ทุกคน ทกุ คน (10) .................... - สมุ สอบถามหรือ
ท่ีเกี่ยวกบั การสงเสริมสขุ ภาพ
รอ ยละ 80 ขึ้นไป (5) สมั ภาษณบ คุ ลากร

นอ ยกวารอ ยละ 80 (3) ในโรงเรยี น

ไมม ีการรบั รู (0) ตามขนาดโรงเรยี น

5. ผูปกครองและชมุ ชนทราบนโยบายหรอื รอ ยละ 60 รอยละ 60 ข้นึ ไป (10) .................... - สมุ สอบถามหรอื
กิจกรรมทเี่ กี่ยวกบั การสง เสรมิ สุขภาพ ขึ้นไป รอ ยละ 51-59 (5) สมั ภาษณ
นอยกวา รอ ยละ 50 (3) ผูป กครอง/
ไมมีการรบั รู (0) คนในชุมชน

- รายงานการจัด

ประชมุ ผูปกครอง

6. นักเรยี นทราบนโยบายหรือกจิ กรรม รอ ยละ 80 รอ ยละ 80 ขนึ้ ไป (10) .................... - สมุ สอบถามหรอื
ที่เก่ยี วกบั การสง เสริมสขุ ภาพ ขน้ึ ไป รอ ยละ 71-79
นอยกวารอ ยละ 70 (5) สัมภาษณน กั เรียน
ไมมีการรับรู
(3) ชั้น ป.4 ขนึ้ ไป

(0) (หรือม.1 ขนึ้ ไป
สาํ หรับโรงเรยี น
มัธยม)
ตามขนาดโรงเรียน

รวมคะแนนทีไ่ ด

หมายเหตุ : การคดิ รอ ยละของตวั ชวี้ ดั ท่ี 4, 5, 6 คิดจากจาํ นวนตัวอยางทีส่ มุ ทงั้ หมด

สรุปผลการประเมนิ ตามองคประกอบท่ี 1 (คะแนนเตม็ 55 คะแนน)
ผานเกณฑประเมนิ ขนั้ ดมี าก (41 คะแนนขึน้ ไป)

ผานเกณฑประเมินขน้ั ดี (36 - 40 คะแนน)

ผา นเกณฑป ระเมินขัน้ พน้ื ฐาน (30 - 35 คะแนน)

ควรพฒั นาตอไป (0 - 29 คะแนน)

18 Ø

‹Ù ×

องคป ระกอบที่ 2 การบรห� าร�ดั การ�น�รงเร��น

��ั ��� ัด เกณฑ ระดบั การประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลงขอ มลู /
ทีไ่ ด ��� �� �ิ �ู น

การจดั ทําโครงการสง เสรมิ สุขภาพ 1 โครงการ 1 โครงการขึน้ ไป (15) .................... - โครงการหรอื
1. มีการจัดทาํ โครงการสงเสริมสขุ ภาพ ขึ้นไป ไมมี (0) เอกสารอน่ื ๆ

อยา งเปนระบบครบทกุ ขั้นตอนตอ ไปนี้
* มกี ารรวบรวม วิเคราะหป ญ หาและ

ความตอ งการโดยใชก ระบวนการกลมุ
* มคี วามสอดคลอ งกับสภาพปญ หา

ของโรงเรียน
* มีการระบุกจิ กรรมและกาํ หนดเวลา
* มกี ารระบถุ งึ การมีสว นรว มของ

ผเู กยี่ วของ
* มีการระบุการใชท รัพยากรและ/หรอื

ภมู ปิ ญญาทอ งถิน่ ใหเ กิดประโยชน
* มกี ารระบุกิจกรรมสงเสรมิ สขุ ภาพ

ท่สี อดคลอ งกบั กจิ กรรมการเรียน
การสอน

การจัดองคกร 1 โครงการ 1 โครงการขึน้ ไป (5) .................... - โครงการหรือ
2. มคี ณะทาํ งานรับผิดชอบในแตล ะ ขน้ึ ไป ไมม ี (0) เอกสารอน่ื ๆ

โครงการสง เสรมิ สขุ ภาพประกอบดว ย

ครู นกั เรียนและผปู กครอง/เจา หนา ที่

สาธารณสขุ /องคก รในชมุ ชน

3. มีผูนาํ นักเรยี นสง เสริมสุขภาพหรอื สัดสวน 2 ใน 3 2 ใน 3 ขนึ้ ไป (5) .................... - อร.14
ผนู าํ เยาวชนสาธารณสขุ ในโรงเรยี น ของแกนนาํ นอยกวา 2 ใน 3 (3) - คาํ สัง่ แตงตง้ั ผนู ํา/
หรือแกนนํานักเรยี นดานสุขภาพ นกั เรียนท่ีผาน ไมมี (0) แกนนํา
โดยมกี ารจดั ตง้ั ชมรม/ชมุ นมุ /กลมุ การอบรม
ปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหนาท่ี 2 ใน 3 ขนึ้ ไป - สอบถามผูนาํ /
นอ ยกวา 2 ใน 3 แกนนาํ นกั เรียน
การนิเทศ/ตดิ ตาม สัดสว น 2 ใน 3 ไมมี ตามขนาดโรงเรยี น
4. โครงการสง เสรมิ สุขภาพ มีการนิเทศ/ ขึน้ ไปของ
โครงการดา น (10) .................... - บนั ทกึ ผลการนิเทศ/
ตดิ ตามโดยระบบของโรงเรยี นอยาง (5) ติดตามของโรงเรียน
สขุ ภาพท้ังหมด (0) และแนวทางแกไข
ตอเนื่อง มสี รปุ ผลการนเิ ทศและมกี าร
ปญ หา
นาํ ผลการนิเทศไปใชพ ัฒนางาน

Ù‹ Í×

Ø 19

��ั ���ัด เกณฑ ระดบั การประเมิน (คะแนน) คะแนน แหลง ขอมลู /
ที่ได ����� �ิ �ู น

การประเมนิ ผล สัดสวน 2 ใน 3 2 ใน 3 ข้ึนไป (10) .................... - บนั ทกึ ผลการ
5. มกี ารประเมนิ โครงการสงเสรมิ สุขภาพ ขึ้นไปของ นอยกวา 2 ใน 3 (5) ประเมนิ
โครงการ ไมม ี (0)
ดา นสขุ ภาพ
ท้งั หมด

6. มีการประเมินผลการปฏบิ ัติงานของ สัดสว น 2 ใน 3 2 ใน 3 ขึน้ ไป (5) .................... - บันทกึ การ
ผูนํา/แกนนํานกั เรียนดานสขุ ภาพ ขน้ึ ไปของชมรม/ นอยกวา 2 ใน 3 (3) ปฏิบตั งิ านของผนู ํา
กลมุ ดา นสขุ ภาพ ไมมี (0) - บนั ทึกผลการ
ทงั้ หมด
ประเมนิ

สรุปผลการประเมนิ ตามองคป ระกอบที่ 2 (คะแนนเต็ม 50 คะแนน) รวมคะแนนที่ได

ผานเกณฑป ระเมินขั้นดมี าก (38 คะแนนข้นึ ไป)
ผานเกณฑป ระเมนิ ขน้ั ดี (33 - 37 คะแนน)
ผา นเกณฑป ระเมินข้ันพืน้ ฐาน (28 - 32 คะแนน)
ควรพฒั นาตอ ไป (0 - 27 คะแนน)

20

20 ¤Ù‹Á×Í¡ÒôíÒà¹¹Ô §Ò¹

âçàÃÂÕ ¹Ê‹§àÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾ ¾.È. 2558

องคป ระกอบที่ 3 �ครงการร� มระห�า ง�รงเร�� นและ��ม�น

�ั����ดั เกณฑ ระดับการประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลง ขอมูล/
ทีไ่ ด ��� ��ิ��ู น

1. โครงการทเ่ี กีย่ วของกับสุขภาพเกดิ สดั สวน 4 ใน 4 ใน 5 ขึ้นไป (15) .................... - แผนงาน/โครงการ
จากการมีสว นรวมระหวางโรงเรียน 5 ข้นึ ไปของ 3 ใน 5 (10) - รายงานสรปุ ผล
และชมุ ชน โครงการ นอ ยกวา 3 ใน 5 (5) การดําเนนิ งาน
ดา นสขุ ภาพ ไมม ี (0)
ทัง้ หมด

2. ชมุ ชนมสี วนรวมในโครงการ 5 ขั้นตอน 5 ขนั้ ตอน (15) .................... - แผนงาน/โครงการ
อยางเปนระบบ 5 ข้ันตอนตอไปน้ี 4 ขนั้ ตอน (12) - รายงานสรปุ ผล
อยางนอ ย 1 โครงการ 3 ข้ันตอน (9) การดาํ เนนิ งาน
1) รว มวิเคราะหสภาพและสาเหตุ 1 -2 ขน้ั ตอน (6) - บันทกึ การประชุม
ของปญหา ไมมี (0) - ภาพกจิ กรรม
2) รว มวางแผน
3) รวมดาํ เนินการ
4) รวมตรวจสอบทบทวน
5) รว มแกไขพัฒนาปรับปรุง

3. โรงเรียนจัดกิจกรรมภายนอกโรงเรยี น มีการจดั ปละ 2 ครงั้ (10) .................... - รายงานการจัด
ปล ะ 1 ครัง้ (5) กิจกรรม
เพ่อื ใหนกั เรียนมีสวนรว มพัฒนาสขุ ภาพ กจิ กรรม ไมมี (0) - ภาพกิจกรรม

ของคนในชมุ ชน ในชุมชน โรงเรียนจัดกิจกรรม (10) .................... - รายงานการจดั
สรา งสรรคร ว มกบั ชุมชน กจิ กรรม
4. โรงเรยี นรว มกบั ชุมชนพัฒนาพนื้ ที่เพอื่ มพี นื้ ทแ่ี ละ โดยเด็กและเยาวชน
มีสว นรวม ปละ 2 ครั้ง - ภาพกจิ กรรม
ดําเนนิ กิจกรรมสรางสรรคส าํ หรับเดก็ กิจกรรมสําหรบั โรงเรียนจัดกจิ กรรม
ปล ะ 1 คร้งั (5)
และเยาวชน เด็กและเยาวชน ไมม ี
(0)
5. นกั เรียนมคี วามพงึ พอใจตอ โครงการ รอยละ 80 รอยละ 80 ข้นึ ไป
รว มระหวา งโรงเรียนและชุมชน ข้ึนไป นอ ยกวารอยละ 80 (5) .................... - สมุ สอบถามหรอื
ไมม ี (3) สัมภาษณนกั เรยี น
(0) ช้ัน ป.4 ข้ึนไป

(หรอื ม.1 ขน้ึ ไป
สําหรบั โรงเรยี น
มัธยม) ตามขนาด
โรงเรยี น

Ù‹ ×Í 21

Ø

�ั���� ดั เกณฑ ระดบั การประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลงขอมลู /
ทไ่ี ด ��� �� ิ�ู�น
6. ประชาชนมีความพึงพอใจตอโครงการ รอ ยละ 60
รวมระหวา งโรงเรียนและชมุ ชน ข้นึ ไป รอ ยละ 60 ขึ้นไป (5) .................... - สอบถามหรอื
นอยกวารอยละ 60 (3) สมั ภาษณผ ูปกครอง
ไมม ี (0) หรอื ประชาชน

ตามขนาดโรงเรียน

รวมคะแนนท่ไี ด
หมายเหตุ : การคิดรอ ยละของตวั ช้ีวดั ที่ 5 และ 6 คิดจากจาํ นวนตวั อยา งทีส่ ุม ท้ังหมด

สรุปผลการประเมนิ ตามองคป ระกอบที่ 3 (คะแนนเตม็ 60 คะแนน)

ผานเกณฑป ระเมินขน้ั ดีมาก (45 คะแนนข้นึ ไป)
ผา นเกณฑป ระเมินขั้นดี (39 - 44 คะแนน)
ผานเกณฑประเมินขนั้ พ้ืนฐาน (33 - 38 คะแนน)
ควรพัฒนาตอ ไป (0 - 32 คะแนน)

22 22 ¤‹Ù × Ò ¹
Ø¢ÀÒ¾ ¾.È. 2558

องคประกอบที่ 4 การ�ัด�งิ่ แ�ดลอ ม�น�รงเร�� นท่เี อ�อ�อ�ข� �า�

�ั���� ัด เกณฑ ระดับการประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลงขอ มลู /
1. มาตรฐานสขุ าภิบาลส่งิ แวดลอ ม ผานมาตรฐาน ที่ได ����� �ิ �ู น

ในโรงเรยี น (47 ขอ ) ขอ ละ 1 คะแนน .................... - ผลการประเมนิ
สขุ าภิบาล
2. การเกดิ อบุ ัตเิ หตจุ ากส่งิ แวดลอม ไมม ี สิง่ แวดลอมของ
ในโรงเรียน จนไมสามารถเรียนได โรงเรยี นตามแบบ
(ตง้ั แตปการศกึ ษาท่ีผานมาจน มี ประเมินในภาคผนวก
ถึงปจจุบัน) และสงั เกตสภาพจรงิ
เพ่มิ เตมิ โดย
3. โรงเรียนมีมาตรการและการดาํ เนนิ งาน ผปู ระเมนิ
ควบคุมเครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล
และบหุ รใี่ นโรงเรยี น ไมม ี (10) ................... - รายงานการเกิด
มไี มเ กินรอยละ 5 (5) อุบัติเหตุของนกั เรียน
มีเกนิ รอยละ 5 (0) ในโรงเรยี น

ยอนหลัง 1 ป

มีครอบคลุมทัง้ (10) ................... - เอกสารแสดงการ

เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอลและบุหร่ี กาํ หนดมาตรการ

มีเร่ืองใดเร่ืองหน่งึ (5) และการดาํ เนนิ งาน

ไมม ี (0) - สุมตรวจสอบ

สถานทตี่ า ง ๆ เชน

โรงอาหาร

สนามกีฬา รานคา

ใตอาคารเรยี น

และบริเวณโดยรอบ

- สมุ สอบถามหรอื

สมั ภาษณนักเรียน

ชัน้ ป.4 ข้นึ ไป

(หรอื ม.1 ขึน้ ไป

สาํ หรบั โรงเรยี น

มธั ยมศกึ ษา)

ตามขนาดโรงเรยี น

Ù‹ ×

Ø 23

��ั ��� ดั เกณฑ ระดับการประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลงขอ มลู /
ทไี่ ด ����� ิ�ู�น
4. นกั เรียนมคี วามพึงพอใจตอ บรรยากาศ รอ ยละ 70
ภายในโรงเรยี น ขึน้ ไป รอยละ 70 ขึ้นไป (5) .................... - สุมสอบถามหรือ
นอยกวารอยละ 70
ไมมี (3) สมั ภาษณน ักเรยี น

(0) ชนั้ ป.4 ขนึ้ ไป

(หรอื ม.1 ข้ึนไป
สําหรบั โรงเรยี น
มัธยม)
ตามขนาดโรงเรียน

รวมคะแนนท่ไี ด

หมายเหตุ : การคดิ รอ ยละของตวั ช้ีวดั ที่ 3, 4 คิดจากจาํ นวนตัวอยางท่ีสุม ทัง้ หมด

สรุปผลการประเมินตามองคประกอบท่ี 4 (คะแนนเต็ม 72 คะแนน)

ผานเกณฑประเมนิ ข้ันดีมาก (54 คะแนนข้ึนไป) และผานมาตรฐานสุขาภบิ าลสิ่งแวดลอมครบอยา งนอย 30 ขอ ท่ีมเี ครื่องหมาย
ผา นเกณฑป ระเมนิ ขั้นดี (47 - 53 คะแนน) และผา นมาตรฐานสขุ าภบิ าลส่งิ แวดลอมครบอยา งนอย 30 ขอ ท่ีมีเครื่องหมาย
ผา นเกณฑป ระเมินขั้นพ้นื ฐาน (40 - 46 คะแนน) และผา นมาตรฐานสุขาภบิ าลสง่ิ แวดลอมครบอยางนอย 30 ขอ ทมี่ เี ครื่องหมาย
ควรพัฒนาตอไป (0 - 39 คะแนน)

24 Ø

Ù‹ ×

องคป ระกอบที่ 5 บร�การอนาม�ั �รงเร�� น

�า� หรับ�รงเร��นประ�ม��ก�า

�ั����ดั เกณฑ ระดบั การประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลงขอ มูล/
ทกุ คน ทีไ่ ด ����� �ิ ู�น
การตรวจสุขภาพนักเรียน
1. นักเรียนช้นั ป.1, ป.3, ป.5 ไดรบั การ ทกุ คน (5) .................... - อร.14
รอ ยละ 80 ขึ้นไป (3) - สศ.3/ระเบยี นสะสม
ตรวจสขุ ภาพโดยบุคลากรสาธารณสุข นอ ยกวา รอยละ 80 (0) - รายงานการติดตาม
อยางนอยปล ะ 1 ครั้ง

2. นักเรียนท่ีมปี ญ หาสขุ ภาพไดรบั การ ทกุ คน ทกุ คน (5) .................... - อร.14

ตดิ ตามเพ่ือชว ยเหลอื /แกไข/สงตอ รอยละ 80 ขึ้นไป (3) - แบบบนั ทกึ การตรวจ

นอยกวา รอ ยละ 80 (0) สุขภาพดวยตนเอง

หรอื เอกสารอืน่ ทมี่ ี

ลักษณะคลายกนั

การเฝาระวังสขุ ภาพ ทกุ คน ทุกคน (5) .................... - อร.14
3. นักเรยี นช้ัน ป.5, ป.6 ประเมิน
รอ ยละ 80 ขึ้นไป (3) - แบบบนั ทกึ การตรวจ
สุขภาพตนเองและบันทกึ ลงใน
นอ ยกวา รอ ยละ 80 (0) สุขภาพดว ยตนเอง
แบบบันทึกฯ ภาคเรยี นละ 1 คร้งั
หรอื เอกสารอ่นื ท่ีมี

ลกั ษณะคลา ยกัน

4. นกั เรียนชั้น ป.1, ป.3, ป.5 ไดร บั การ ทุกคน ทุกคน (5) .................... - อร.14
ทดสอบสายตาปล ะ 1 ครง้ั รอยละ 80 ขึ้นไป (3) - สศ.3/ระเบียนสะสม
นอ ยกวา รอยละ 80 (0) - เอกสารอ่ืนทมี่ ี

ลักษณะคลายกัน

5. นักเรยี นช้นั ป.1, ป.3, ป.5 ไดร บั การ ทกุ คน ทกุ คน (5) .................... - เชนเดยี วกับ
ทดสอบการไดยนิ อยา งงาย ปละ 1 คร้งั รอยละ 80 ขึ้นไป (3) ตวั ชว้ี ดั ที่ 4
นอยกวา รอ ยละ 80 (0)

6. นกั เรยี นชั้น ป.1, ป.3, ป.5 ไดรบั การ ทุกคน ทุกคน (5) .................... - เชน เดียวกับ
ตรวจโดยวธิ ีคลําคอ (เพอ่ื ตรวจหา รอยละ 80 ขน้ึ ไป (3) ตัวช้วี ัดที่ 4
ความผิดปกติจากภาวะขาดสารไอโอดีน นอยกวารอยละ 80 (0)
และความผดิ ปกตอิ ื่นๆ บรเิ วณคอ)
โดยบุคลากรสาธารณสขุ ปล ะ 1 คร้งั

7. นักเรยี นชน้ั ป.1- ป.6 ไดร บั การตรวจ ทุกคน ทกุ คน (5) .................... - เชนเดยี วกับ
สขุ ภาพชอ งปากโดยทันตบคุ ลากรหรอื รอ ยละ 80 ขึ้นไป (3) ตวั ชีว้ ดั ที่ 4
ครู ภาคเรียนละ 1 ครั้ง นอยกวา รอยละ 80 (0)

Ù‹ ×

Ø 25

�ั����ดั เกณฑ ระดับการประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลง ขอ มลู /
8. นกั เรยี นไดรบั บรกิ ารทันตกรรมปอ งกัน ทกุ คน ท่ีได ����� ิ�ู�น

ทกุ คน (5) .................... - เชนเดยี วกบั
รอยละ 80 ขึน้ ไป (3) ตวั ช้วี ดั ท่ี 4
นอ ยกวา รอ ยละ 80 (0) - สมุ ตรวจนกั เรียน

ชั้น ป.1 และ ป.6
เพ่ือดสู ภาวะโรคฟนผุ
และบริการเคลอื บ
หลุมรอ งฟน

9. นกั เรยี น ไดร ับการทดสอบประสิทธภิ าพ รอ ยละ 50 รอ ยละ 50 ขึน้ ไป (5) .................... - เชนเดียวกับ
การแปรงฟน โดยครหู รอื บคุ ลากร ขน้ึ ไป รอยละ 40 - 49 (3) ตวั ช้ีวัดท่ี 4
สาธารณสุข ภาคเรียนละ 1 ครง้ั นอยกวา รอยละ 40 (0) - สมุ ตรวจนกั เรียน

ชัน้ ป.6 จํานวนตาม
ขนาดโรงเรียน เพื่อดู
สภาวะเหงือกอักเสบ

10. นักเรียนชน้ั ป.1 ไดรับวคั ซนี ปองกนั รอ ยละ 95 รอ ยละ 95 ข้นึ ไป (5) .................... - อร.14
หัด หดั เยอรมนั คางทูม (MMR) ขนึ้ ไป รอยละ 80 - 94 (3) - สศ.3/ระเบยี นสะสม
นอยกวา รอยละ 80 (0)

11. นักเรียนชั้น ป. 1 ทไ่ี มเ คยไดรับวคั ซนี ทุกคน ทกุ คน (5) .................... - อร.14
ปอ งกนั วณั โรค (BCG) มากอนหรอื ไมมี ทกุ คน ไมครบทกุ คน (0) - สศ.3/ระเบียนสะสม
ประวตั ิแนชดั และไมม รี อยแผลเปน
ตองไดรับการฉีดวัคซีน BCG 1 ครั้ง ทกุ คน (5) .................... - อร.14
ไมครบทุกคน (0) - สศ.3/ระเบยี นสะสม
12. นักเรียนช้นั ป.1 ท่ไี มเ คยไดรบั วัคซนี
ปอ งกันโรคคอตีบ บาดทะยัก
ไอกรน (DTP) หรือ DTP-HB
และวคั ซีนปองกันโรคโปลิโอ (OPV)
หรอื เคยไดร ับนอยกวา 5 ครั้ง
ตอ งไดร บั วัคซีน dT และ OPV
ตามเงอ่ื นไข
(รายละเอียดในภาคผนวก)

26 ‹Ù × Ø

ทกุ คน (5)
ทุกคน

��ั ���ดั เกณฑ ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนน แหลงขอมูล/
ท่ีได ��� �� ิ��ู น
13. นักเรียนช้ัน ป.6 ได้รับการฉดี วคั ซนี รอ้ ยละ 95 รอ้ ยละ 95 ขนึ้ ไป (5)
ปอ้ งกนั โรคคอตีบ บาดทะยกั (dT) ขนึ้ ไป รอ้ ยละ 80 - 94 (3) ................... - อร.14
กระตุ้น (รายละเอยี ดในภาคผนวก) นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 (0) - สศ.3/ระเบยี นสะสม
- รายงานการตดิ ตาม

การจัดบริการรักษาพยาบาลเบอ้ื งตน้ ทุกคน ทกุ คน (5) ................... - สุ่มสอบถามหรือ
14. นักเรียนท่ีมปี ัญหาสขุ ภาพ ไมค่ รบทกุ คน (0) สัมภาษณ์นักเรยี น
(เชน่ เหา พยาธิ ฯลฯ) ได้รบั การรกั ษา ไมม่ ีนักเรียนทม่ี ปี ัญหา (5) ที่มีปญั หาสขุ ภาพ
สุขภาพทตี่ อ้ งรักษา
- สมดุ บันทกึ ผรู้ บั
บริการของหอ้ ง
พยาบาล

15. นักเรียนท่ีเจบ็ ป่วยเกินขอบเขต ทกุ คน ทกุ คน (5) ................... - สมดุ บนั ทกึ ผ้รู ับ
การบริการของหอ้ งพยาบาล ทุกคน ไมค่ รบทุกคน (0) บริการของห้อง
(เช่น ภาวะโลหิตจาง คอพอก ไมม่ นี กั เรียนท่เี จ็บปว่ ย (5) พยาบาล
ฟนั ผุ โรคในชอ่ งปาก ฯลฯ) เกินขอบเขตการบรกิ ารของ
ได้รบั การสง่ ตอ่ เพอ่ื รกั ษา หอ้ งพยาบาล
16. นกั เรียนทม่ี ีปัญหาสุขภาพ เชน่
ภาวะอ้วน ผอม เต้ีย ฯลฯ ทุกคน (5) ................... - สมุ่ สอบถามหรือ
เข้ารว่ มกจิ กรรมแกไ้ ขปัญหา ไม่ครบทกุ คน (0) สมั ภาษณน์ กั เรยี น
ทโ่ี รงเรียนจัดขนึ้ ไมม่ ีนกั เรยี นทม่ี ปี ัญหา (5) ที่มีปัญหาสขุ ภาพ
สขุ ภาพดังกลา่ ว
- รายงานการจดั
กิจกรรม
- ภาพกิจกรรม

รวมคะแนนทไ่ี ด้

หมายเหตุ : การคิดรอ้ ยละของตวั ชวี้ ัดท่ี 8, 9, 14, 16 คดิ จากจำ�นวนตวั อยา่ งทสี่ มุ่ ท้ังหมด

สรปุ ผลการประเมนิ ตามองคป์ ระกอบที่ 5 โรงเรียนประถมศกึ ษา (คะแนนเต็ม 80 คะแนน)

ผ่านเกณฑ์ประเมินขัน้ ดีมาก (60 คะแนนข้นึ ไป)
ผ่านเกณฑ์ประเมนิ ข้นั ดี (52 - 59 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมนิ ขัน้ พน้ื ฐาน (44 - 51 คะแนน)
ควรพัฒนาตอ่ ไป (0 - 43 คะแนน)

27

องคป ระกอบที่ 5 บร�การอนาม�ั �รงเร�� น

��าหรบั �รงเร�� นม�ั �ม�ก� �า

�ั����ดั เกณฑ ระดับการประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลง ขอ มูล/
ท่ีได ��� �� ิ��ู น

การตรวจสุขภาพนกั เรียน ทุกคน ทกุ คน (10) .................... - อร.14
1. นกั เรียนชั้น ม.1,ม.4 ไดรบั การตรวจ ทกุ คน รอ ยละ 80 ข้นึ ไป (5) - สศ.3/ระเบยี นสะสม
นอ ยกวา รอ ยละ 80 (0) - เอกสารอ่นื ที่มี
สขุ ภาพโดยบุคลากรสาธารณสุขปล ะ ทกุ คน
1 ครัง้ รอ ยละ 80 ข้นึ ไป ลักษณะคลายกัน
การเฝาระวังสุขภาพ นอยกวา รอยละ 80 (10) .................... - อร.14
2. นกั เรียนชนั้ ม.1 ขึ้นไป ประเมนิ สขุ ภาพ (5) - แบบบนั ทกึ การ
ตนเอง และบันทกึ ลงใน แบบบันทึกฯ (0) ตรวจสขุ ภาพ
ภาคเรยี นละ 1 ครั้ง
ดว ยตนเองหรอื
เอกสารอนื่ ที่มี
ลกั ษณะคลา ยกัน

3. นักเรยี นช้นั ม.1, ม.4 ไดร ับการทดสอบ ทกุ คน ทุกคน (10) .................... - อร.14
สายตาปล ะ 1 ครงั้ รอ ยละ 80 ข้ึนไป (5) - สศ.3/ระเบียนสะสม
นอยกวา รอยละ 80 (0) - เอกสารอื่นท่มี ี

ลักษณะคลายกัน

การจดั บรกิ ารรกั ษาพยาบาลเบ้ืองตน
4. นักเรียนท่ีมปี ญหาสขุ ภาพ ทุกคน ทุกคน (5) .................... - สุมสอบถามหรอื
(เชน มีไข เปน หวัด ปวดทอ ง ฯลฯ) ไมครบทุกคน (0) สัมภาษณนักเรยี น
ไดร ับการรกั ษา ไมมีนกั เรียนทม่ี ปี ญ หา (5) ที่มีปญหาสขุ ภาพ
สขุ ภาพทต่ี อ งรกั ษา - สมดุ บนั ทกึ ผรู บั บรกิ าร
ของหอ งพยาบาล

5. นกั เรียนทเี่ จบ็ ปว ยเกนิ ขอบเขต ทกุ คน ทกุ คน (5) .................... - สมดุ บนั ทกึ ผรู บั บรกิ าร
การบริการ ของหอ งพยาบาล ไมค รบทุกคน (0) ของหองพยาบาล
(เชน หอบหดื โลหติ จาง ฯลฯ) ไมม ีนักเรยี นที่เจ็บปว ย (5)
ไดร ับการแนะนําชวยเหลือ/ เกนิ ขอบเขตการบริการของ
สงตอ เพือ่ การรักษา หอ งพยาบาล

หมายเหตุ : การคิดรอ ยละของตัวช้ีวัดท่ี 4 คิดจากจาํ นวนตวั อยา งทสี่ ุมทั้งหมด รวมคะแนนที่ได

สรุปผลการประเมินตามองคประกอบท่ี 5 โรงเรยี นมัธยมศึกษา (คะแนนเต็ม 40 คะแนน)
ผานเกณฑประเมนิ ขั้นดีมาก (30 คะแนนข้นึ ไป)
ผานเกณฑป ระเมินขั้นดี (26 - 29 คะแนน)
ผานเกณฑป ระเมินขัน้ พน้ื ฐาน (22 - 25 คะแนน)
ควรพัฒนาตอ ไป (0 - 21 คะแนน)

2288 ¤Á‹Ù ×Í¡ÒôíÒà¹¹Ô §Ò¹

âçàÃÂÕ ¹Ê§‹ àÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾ ¾.È. 2558

องคประกอบท่ี 6 ��ข��ก�า�น�รงเร�� น

�า� หรับ�รงเร��นประ�ม�ก� �า

��ั ��� ดั เกณฑ ระดบั การประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลงขอมลู /
ท่ีได ����� �ิ �ู น
1. นกั เรยี นเคยไดรบั การฝก ทักษะ รอ ยละ 80
ในเร่ืองตอไปนี้ ข้นึ ไป รอยละ 80 ขน้ึ ไป (3) .................... - สมุ สอบถามหรือ
1.1 การรกั ษาความสะอาดของ รอยละ 60 - 79 (2) สัมภาษณน กั เรียน
รางกาย นอ ยกวา รอ ยละ 60 (0) ช้ัน ป.4 ขนึ้ ไป

1.2 การลา งมือ รอ ยละ 80 รอยละ 80 ข้ึนไป ตามขนาดโรงเรียน
ขน้ึ ไป รอยละ 60 - 79
1.3 การเลือกอาหารที่มปี ระโยชน นอยกวา รอ ยละ 60 (3) .................... - เชนเดยี วกบั
ตอรา งกาย รอ ยละ 80 (2) ตวั ช้วี ดั ที่ 1.1
ขึ้นไป รอ ยละ 80 ขน้ึ ไป (0)
1.4 การไมร ับประทานอาหารท่มี ี รอยละ 60 - 79
สารอนั ตราย รอ ยละ 80 นอ ยกวา รอยละ 60 (3) .................... - เชนเดยี วกับ
ขน้ึ ไป (2) ตัวชว้ี ัดที่ 1.1
1.5 การหลกี เล่ียงเครื่องด่มื รอ ยละ 80 ขึน้ ไป (0)
แอลกอฮอล สารเสพติด รอ ยละ 80 รอ ยละ 60 - 79
รวมทั้งบุหรี่ ขน้ึ ไป นอ ยกวา รอ ยละ 60 (3) .................... - เชน เดียวกบั
(2) ตวั ชี้วดั ท่ี 1.1
1.6 การปอ งกันอุบัติเหตุ อุบตั ภิ ยั รอ ยละ 80 รอยละ 80 ขึ้นไป (0)
ข้ึนไป รอ ยละ 60 - 79
1.7 การหลีกเลย่ี งการพนัน นอ ยกวา รอ ยละ 60 (3) ................... - เชน เดยี วกับ
การเทีย่ วกลางคืน รอ ยละ 80 (2) ตวั ช้วี ดั ที่ 1.1
ขน้ึ ไป รอ ยละ 80 ขึน้ ไป (0)
1.8 กิจกรรมการเรียนรใู นเรอื่ ง รอ ยละ 60 - 79
เพศศึกษาและทกั ษะชีวิตใน รอยละ 80 นอยกวา รอ ยละ 60 (3) .................... - เชนเดยี วกบั
นกั เรยี น ขน้ึ ไป (2) ตัวชวี้ ดั ท่ี 1.1
รอยละ 80 ขน้ึ ไป (0)
รอยละ 60 - 79
นอยกวา รอยละ 60 (3) .................... - เชน เดยี วกับ
(2) ตัวชวี้ ดั ท่ี 1.1
รอยละ 80 ขน้ึ ไป (0)
รอยละ 60 - 79
นอ ยกวา รอ ยละ 60 (3) .................... - เชน เดยี วกับ
(2) ตัวช้ีวดั ท่ี 1.1
(0) - แผนการสอน/

ผลการดําเนนิ งาน

29

��ั ��� ดั เกณฑ ระดบั การประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลงขอ มูล/
3 กิจกรรม ที่ได ��� ��ิ�ู�น
2. มีกจิ กรรมเผยแพรค วามรูดา นสุขภาพ
ในโรงเรยี น (เชน เสยี งตามสาย ข้ึนไป 3 กจิ กรรม ข้นึ ไป (10) ................... - สอบถามครอู นามัย
การรณรงค ปา ยนิเทศ นิทรรศการ นอ ยกวา 3 กิจกรรม (5) - บันทึกการจดั
แจกเอกสาร ฯลฯ) ทกุ คน ไมม ี (0) กจิ กรรม

3. นักเรียนช้นั ป.1 - ป.6 แปรงฟน ทกุ คน (10) ................... - สมุ ตรวจสอบ
หลงั อาหารกลางวนั ทุกวนั ดว ยยาสฟี น รอยละ 80 ข้นึ ไป (5) นกั เรียนชั้น ป.1-ป.6
ผสมฟลอู อไรด นอ ยกวารอ ยละ 80 (0) พรอมดสู ถานทแ่ี ละ

4. นกั เรียนทกุ ช้นั ไมมเี หา ทกุ คน ทกุ คน อปุ กรณ
รอ ยละ 80 ขน้ึ ไป - สงั เกตกิจกรรม
นอยกวา รอ ยละ 80
การแปรงฟน

(10) ................... - สุมตรวจผม
(5) นักเรียนหญงิ
(0) ตามขนาดโรงเรยี น

รวมคะแนนทไี่ ด
หมายเหตุ : การคิดรอ ยละของตวั ชวี้ ดั ขอ 1, 3, 4 คิดจากจํานวนตวั อยา งทส่ี ุม ท้ังหมด

สรปุ ผลการประเมินตามองคป ระกอบที่ 6 โรงเรียนประถมศึกษา (คะแนนเต็ม 54 คะแนน)

ผา นเกณฑป ระเมินขน้ั ดีมาก (40 คะแนนข้นึ ไป)
ผานเกณฑประเมินขน้ั ดี (35 - 39 คะแนน)
ผานเกณฑป ระเมนิ ขนั้ พื้นฐาน (30 - 34 คะแนน)
ควรพัฒนาตอไป (0 - 29 คะแนน)

30

องคประกอบที่ 6 ��ข�ก� �า�น�รงเร�� น

��าหรับ�รงเร�� นม�ั �ม�ก� �า

�ั����ดั เกณฑ ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนน แหลง ขอมูล/
1. นกั เรยี นเคยไดร บั การฝก ทกั ษะในเร่อื ง รอยละ 80 ท่ีได ������ิ �ู น

ตอ ไปนี้ ขนึ้ ไป รอยละ 80 ขน้ึ ไป (3) .................... - สมุ สอบถามหรอื
1.1 การเลอื กซอื้ อาหารท่มี ีประโยชน รอยละ 60 - 79 (2) สัมภาษณน กั เรยี น
นอยกวา รอยละ 60 (0) ทกุ ระดับชน้ั
ตอรา งกาย
รอยละ 80 ขึ้นไป ตามขนาดโรงเรียน
1.2 การไมร บั ประทานอาหารทมี่ สี าร รอยละ 80 รอ ยละ 60 - 79 (3) .................... - เชน เดียวกับ
อันตราย ขึ้นไป นอ ยกวา รอ ยละ 60 (2) ตวั ช้ีวัดที่ 1.1
รอ ยละ 80 ขนึ้ ไป (0)
1.3 การหลีกเลย่ี งเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล รอยละ 80 รอ ยละ 60 - 79 (3) .................... - เชน เดยี วกับ
สารเสพตดิ รวมทง้ั บหุ รี่ ขน้ึ ไป นอยกวา รอ ยละ 60 (2) ตัวช้วี ดั ที่ 1.1
รอยละ 80 ข้นึ ไป (0)
1.4 การปองกันอบุ ัติเหตุ อุบตั ิภยั รอยละ 80 รอยละ 60 - 79 (3) .................... - เชนเดียวกับ
ขน้ึ ไป นอยกวา รอ ยละ 60 (2) ตัวชีว้ ดั ท่ี 1.1
รอยละ 80 ขึ้นไป (0)
1.5 การหลีกเลย่ี งการพนนั รอ ยละ 80 รอ ยละ 60 - 79 (3) ................... - เชนเดียวกับ
การเทย่ี วกลางคนื ขนึ้ ไป นอยกวา รอ ยละ 60 (2) ตัวช้วี ดั ที่ 1.1
รอยละ 80 ขน้ึ ไป (0)
1.6 กิจกรรมการเรียนรูในเรือ่ ง รอ ยละ 80 รอยละ 60 - 79 (3) .................... - เชนเดียวกบั
เพศศกึ ษาและทักษะชีวติ ข้นึ ไป นอยกวา รอยละ 60 (2) ตัวช้ีวดั ที่ 1.1
ในนกั เรียน (0) - แผนการสอน/
3 กจิ กรรม ขนึ้ ไป
2. มีกิจกรรมเผยแพรความรู ดา นสุขภาพ 3 กิจกรรม นอยกวา 3 กจิ กรรม ผลการดําเนินงาน
ในโรงเรียน (เชน เสยี งตามสาย ขึน้ ไป ไมมี (10) - สอบถามครอู นามัย
การรณรงค ปา ยนิเทศ นทิ รรศการ (5) - บนั ทกึ การจดั กจิ กรรม
แจกเอกสาร ฯลฯ) (0)

หมายเหตุ : การคิดรอยละของตัวชี้วดั ขอ 1 คิดจากจาํ นวนตวั อยา งทส่ี มุ ท้ังหมด รวมคะแนนทไี่ ด

สรปุ ผลการประเมนิ ตามองคป ระกอบท่ี 6 โรงเรียนมธั ยมศึกษา (คะแนนเตม็ 28 คะแนน)

ผา นเกณฑประเมนิ ขั้นดีมาก (21 คะแนนขึน้ ไป)
ผา นเกณฑประเมินขน้ั ดี (18 - 20 คะแนน)
ผา นเกณฑป ระเมนิ ขั้นพืน้ ฐาน (15 - 17 คะแนน)
ควรพฒั นาตอ ไป (0 - 14 คะแนน)

31

องคป ระกอบที่ 7 โภชนาการและอาหารทป่ี ลอดภยั

�า� หรับโรงเร�ยนประ�ม��ก�า

��ั ช��ัด เกณฑ ระดบั การประเมิน (คะแนน) คะแนน แหลงขอมูล/
1. นักเรยี นชั้นอนุบาล - ป.6 มีสวนสงู รอ ยละ 70 ทไี่ ด ������ิ ู�น

ระดับดีและรูปรางสมสวน ข้นึ ไป รอยละ 70 ขน้ึ ไป (10) .................... - อร.14
รอ ยละ 60 - 69 (7) - รายงานการเฝา ระวัง
รอยละ 50 - 59 (5) ภาวะการเจริญเตบิ โต
นอยกวา รอยละ 50 (0) ของนกั เรียน

2. นักเรียนท่มี ีปญหา ภาวะเร่มิ อว น ทกุ คน ทกุ คน (5) .................... - โครงการหรือ
อว น ผอม และเต้ยี ไดรบั การแกไข รอ ยละ 80 ขึน้ ไป (3) กิจกรรมแกไขปญหา
นอยกวา รอ ยละ 80 (0) นักเรยี นอวน ผอม
เตี้ย

3. นกั เรียนไดร ับประทานอาหาร ทุกคน ทุกคน (5) .................... - สมุ สอบถามหรือ
ครบ 5 กลุมอาหารตามสัดสวน รอยละ 80 ขึ้นไป (3) สมั ภาษณน ักเรียน
ธงโภชนาการ ทุกวนั นอยกวา รอยละ 80 (0) ชน้ั ป.4 ข้ึนไป
ตามขนาดโรงเรยี น
- รายการอาหาร
กลางวันของโรงเรยี น

4. นกั เรียนชั้น ป.1 ขึ้นไปไดร บั ยาเมด็ ทกุ คน ทุกคน (5) .................... - โครงการ/กิจกรรม
เสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด (60 มิลลิกรัม)/ รอ ยละ 80 ขึน้ ไป (3) ของโรงเรยี น
ยานา้ํ 1 ชอนชา (12.5 มลิ ลกิ รมั ) นอยกวา รอ ยละ 80 (0) - สมุ สอบถามนกั เรียน
ตอสปั ดาห
ตามขนาดโรงเรยี น

5. นักเรยี นมคี วามรูเร่ืองธงโภชนาการ ทกุ คน ทกุ คน (5) .................... - สุมสอบถามหรอื
และสามารถเลือกรับประทานอาหาร รอ ยละ 80 ขน้ึ ไป (3) สมั ภาษณน กั เรยี น
ที่มคี ุณคาถกู หลกั โภชนาการ นอ ยกวา รอยละ 80 (0) ช้นั ป.4 ขนึ้ ไป

ตามขนาดโรงเรยี น

6. นกั เรยี น ป.1 - ป.6 ไดด ม่ื นมรสจืด ทุกคน ทกุ คน (5) .................... - สมุ สอบถามหรอื
ทุกวนั รอยละ 80 ขนึ้ ไป (3) สัมภาษณน ักเรียน
นอยกวา รอยละ 80 (0) ช้นั ป.4 ขึน้ ไป
ตามขนาดโรงเรียน

7. การเกบ็ รกั ษานมไวท อ่ี ณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะสม ทุกวัน ทกุ วัน (5) .................... - สํารวจสภาพจริง
ตามชนดิ ของนม เชน นมพาสเจอรไรซ ไมครบทกุ วัน (0) - สุมทดสอบอุณหภูมิ
(นมถุง) เก็บทีอ่ ุณหภมู ิ ไมเกิน
8 องศาเซลเซียส ....................
....................

32 Ù‹ × Ø

องคประกอบท่ี 7 โภชนาการและอาหารที่ปลอดภยั

�า� หรบั โรงเร�ยนประ�ม�ก� �า

�ั�ช��ัด เกณฑ ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนน แหลง ขอ มลู /
ท่ีได ����� �ิ �ู น

8. การจัดวางเคร่อื งปรงุ ทกุ ชนดิ ทุกจุดบรกิ าร ไมมี (5) ................. - สาํ รวจสภาพจริง
ทจี่ ุดบรกิ าร และรานคา ท่ีจัดจาํ หนา ย มี
อาหารในโรงอาหารหรือภายใน (0)
บรเิ วณโรงเรียน

9. การจดั จําหนา ย หรือบริการอาหาร/ ไมม ี ไมมี (5) ................. - สํารวจสภาพจรงิ
อาหารวา ง/ขนม ทมี่ ีผลเสียตอ สุขภาพ มี
ไมม ีคุณคาทางโภชนาการ และมีรส (0)
หวานจัด เค็มจัด และมันจดั
(เชนขนมถุง ทอ็ ฟฟ ขนมกรุบกรอบ
อาหารทอดน้าํ มันซ้ํา นํ้าอัดลม เปน ตน)

10. มาตรฐานสขุ าภบิ าลอาหารในโรงเรียน ผา นมาตรฐาน ขอ ละ 1 คะแนน ................. - ผลการประเมิน
(30 ขอ ) สขุ าภิบาลอาหาร

ตามแบบประเมิน
ในภาคผนวก

- สังเกตสภาพจริง
โดยผูประเมนิ

รวมคะแนนทไ่ี ด

หมายเหตุ : การคิดรอยละของตวั ช้วี ัดที่ 3, 4, 5, 6 คิดจากจํานวนตัวอยา งทส่ี ุม ทั้งหมด

สรุปผลการประเมนิ ตามองคประกอบท่ี 7 โรงเรยี นประถมศึกษา (คะแนนเตม็ 80 คะแนน)
ผา นเกณฑประเมนิ ข้ันดมี าก (60 คะแนนข้นึ ไป) และผานมาตรฐานสขุ าภบิ าลอาหารครบอยางนอ ย 15 ขอที่มีเคร่ืองหมาย
ผานเกณฑป ระเมนิ ข้ันดี (52 - 59 คะแนน) และผานมาตรฐานสุขาภบิ าลอาหารครบอยางนอ ย 15 ขอ ที่มเี คร่อื งหมาย
ผา นเกณฑป ระเมินขนั้ พ้ืนฐาน (44 - 51 คะแนน) และผานมาตรฐานสขุ าภิบาลอาหารครบอยางนอ ย 15 ขอ ทมี่ ีเคร่อื งหมาย
ควรพฒั นาตอ ไป (0 - 43 คะแนน)

Ù‹ × 33

Ø

องคป ระกอบที่ 7 โภชนาการและอาหารทีป่ ลอดภยั

��าหรับโรงเรย� นม�ั ยม�ก� �า

�ั�ช��ัด เกณฑ ระดบั การประเมิน (คะแนน) คะแนน แหลงขอมูล/
ที่ได ����� ิ�ู�น
1. นกั เรียนมีสว นสูงระดับดี และรปู ราง รอยละ 70
สมสวน ขึ้นไป รอยละ 70 ข้นึ ไป (10) .................... - อร.14
รอ ยละ 60 - 69 (7) - รายงานการเฝาระวงั
รอยละ 50 - 59 (5) ภาวะการเจริญเติบโต
นอ ยกวา รอยละ 50 (0) ของนักเรียน

2. นักเรียนทมี่ ปี ญหาภาวะเร่มิ อว น ทุกคน ทุกคน (5) .................... - โครงการหรือ
อว น ผอมและเตี้ย ไดร ับการแกไ ข
รอ ยละ 80 ขึ้นไป (3) กิจกรรมแกไ ขปญหา

นอ ยกวา รอ ยละ 80 (0) นกั เรียนอว น ผอม

เต้ยี

3. นกั เรียนไดรบั ประทานอาหารครบ ทุกคน ทกุ คน (5) .................... - สมุ สอบถามหรือ

5 กลมุ อาหารตามสดั สวนของ รอ ยละ 80 ขน้ึ ไป (3) สมั ภาษณนักเรยี น

ธงโภชนาการ ทุกวนั นอ ยกวา รอ ยละ 80 (0) ชน้ั ป.4 ขน้ึ ไป

ตามขนาดโรงเรียน

4. นักเรียนมีความรเู ร่อื งธงโภชนาการ ทุกคน ทุกคน (5) .................... - เชนเดียวกบั
และสามารถเลือกรับประทาน รอ ยละ 80 ขนึ้ ไป (3) ตวั ช้ีวดั ท่ี 3
อาหารท่ีมคี ุณคา ถูกหลกั โภชนาการ นอยกวา รอ ยละ 80 (0)
และความปลอดภยั

5. การจดั วางเคร่ืองปรงุ ทกุ ชนดิ ทกุ จุดบรกิ าร ไมม ี (5) .................... - สํารวจสภาพจริง
มี (0)
ทีจ่ ดุ บรกิ าร และรา นคาที่จัดจาํ หนา ย

อาหารในโรงอาหารหรือภายในโรงเรยี น

6. การจดั จําหนาย หรือบริการอาหาร/ ไมม ี ไมม ี (5) .................... - สาํ รวจสภาพจรงิ
อาหารวา ง/ขนม ท่ีมผี ลเสียตอ สุขภาพ มี (0)
ไมม ีคณุ คาทางโภชนาการ และ
มรี สหวานจดั เคม็ จดั และมันจดั
(เชนขนมถงุ ทอ็ ฟฟ ขนมกรบุ กรอบ
อาหารน้ํามันทอดซาํ้ นาํ้ อดั ลม เปนตน)

3344

��ั ���ัด เกณฑ ระดบั การประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลงขอมลู /
ท่ไี ด �����ิ�ู�น
7. มาตรฐานสุขาภบิ าลอาหารในโรงเรียน ผานมาตรฐาน ขอ ละ 1 คะแนน
(30 ขอ ) ................ - ผลการประเมิน
สุขาภบิ าลอาหาร
ตามแบบประเมนิ
ในภาคผนวก

- สังเกตสภาพจริง
โดยผูประเมิน

รวมคะแนนทไ่ี ด

หมายเหตุ : การคิดรอยละของตัวชวี้ ดั ที่ 3, 4 คดิ จากจํานวนตัวอยางที่สุมทง้ั หมด

สรุปผลการประเมินตามองคประกอบที่ 7 โรงเรียนมธั ยมศกึ ษา (คะแนนเตม็ 65 คะแนน)

ผา นเกณฑป ระเมนิ ขัน้ ดีมาก (49 คะแนนข้นึ ไป) และผา นมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารครบอยา งนอ ย 15 ขอ ทม่ี ีเครอื่ งหมาย
ผา นเกณฑป ระเมนิ ขนั้ ดี (42 - 48 คะแนน) และผานมาตรฐานสขุ าภิบาลอาหารครบอยา งนอ ย 15 ขอ ทม่ี ีเครือ่ งหมาย
ผานเกณฑป ระเมนิ ขน้ั พนื้ ฐาน (36 - 41 คะแนน) และผา นมาตรฐานสขุ าภิบาลอาหารครบอยางนอ ย 15 ขอทีม่ ีเครอื่ งหมาย
ควรพฒั นาตอ ไป (0 - 35 คะแนน)

3355

องคประกอบท่ี 8 การออกกําลังกาย กีฬาและนันทนาการ

��ั ��� ดั เกณฑ ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนน แหลงขอมลู /
1. มสี ถานท่แี ละอุปกรณออกกําลงั กาย มที ้งั สถานที่ ทีไ่ ด ��� �� �ิ �ู น
และอปุ กรณ
กีฬาและนนั ทนาการท่อี ยูในสภาพ มสี ถานทแ่ี ละอปุ กรณ (5) .................... - สังเกตสภาพจรงิ
พรอมใชง านและปลอดภัย มีสถานทแี่ ตไ มมีอุปกรณ (3)
มอี ปุ กรณแ ตไมมีสถานท่ี (3)
ไมม ีท้ังสถานที่ (0)
และอปุ กรณ

2. จดั กจิ กรรม/มีเวลาวา งในการ สปั ดาหล ะ สัปดาหล ะ 3 วนั (10) ................... - สอบถาม
ออกกําลังกาย/กีฬา สําหรับนักเรยี น 3 วันๆ ละ วนั ละ 30 นาที ครพู ลานามัย
30 นาที สปั ดาหล ะ 3 วนั
ไมถึงวันละ 30 นาที (5) - บนั ทึกการจดั
ไมเ ปนไปตามเกณฑใดเลย กิจกรรม

(0)

3. มีชมรม/ชมุ นมุ /กลุมจัดกจิ กรรม 1 ชมรม/ 1 ชมรมข้นึ ไป (5) ................... - บันทึกของชมรม/
ออกกาํ ลังกาย กีฬา นนั ทนาการ ชมุ นุม/กลุม ไมม ี (0) ชมุ นมุ /กลุม
ในโรงเรยี น
ขึน้ ไป ทุกคน (10) ................... - รายงานผล
4. นักเรียนไดร ับการทดสอบสมรรถภาพ ทกุ คน รอยละ 80 ขน้ึ ไป (5) การทดสอบ
ทางกายตามเกณฑทดสอบทไ่ี ดร ับ นอยกวา รอ ยละ 80 (0) สมรรถภาพนักเรียน
การยอมรบั อยา งนอ ยปล ะ 1 ครั้ง ไมมีการทดสอบ (0)
รอ ยละ 60 ขึ้นไป (10) ................... - เชน เดียวกบั
5. นักเรยี นมสี มรรถภาพทางกาย รอ ยละ 60 รอ ยละ 50 - 59 (5) ตัวชีว้ ัดท่ี 4
ผา นเกณฑม าตรฐาน ข้นึ ไป นอ ยกวา รอ ยละ 50 (0)
ทกุ คน (5) ................... - สอบถามครู
6. ใหคาํ ปรกึ ษาแกน ักเรียนที่ไมผา นเกณฑ ทกุ คน รอยละ 80 ขนึ้ ไป (3) พลานามัย
ทดสอบสมรรถภาพทางกายและ นอยกวา รอ ยละ 80 (0) - บันทึกของ
ติดตามความกา วหนา
ครูพลานามยั
- สมุ สอบถามนักเรียน

ทไ่ี มผ า นเกณฑท ดสอบ
ตามขนาดโรงเรียน

หมายเหตุ : การคดิ รอยละของตัวชว้ี ัดท่ี 6 คิดจากจํานวนตวั อยา งทสี่ ุมทง้ั หมด รวมคะแนนที่ได

สรปุ ผลการประเมินตามองคประกอบที่ 8 (คะแนนเตม็ 45 คะแนน)
ผานเกณฑป ระเมนิ ข้นั ดมี าก (33 คะแนนข้นึ ไป)
ผา นเกณฑประเมินขนั้ ดี (29 - 32 คะแนน)
ผา นเกณฑประเมนิ ขัน้ พ้ืนฐาน (25 - 28 คะแนน)
ควรพัฒนาตอ ไป (0 - 24 คะแนน)

36 ‹Ù × Ø

องคประกอบที่ 9 การ�หคา� ปรก� �าและ�นบั �น�นทาง�ังคม

��ั ��� ัด เกณฑ ระดับการประเมนิ (คะแนน) คะแนน แหลงขอ มูล/
ทไี่ ด ����� ิ�ู�น
1. ครปู ระจาํ ชั้นคดั กรองและสามารถ ครปู ระจาํ ช้นั
ระบุนกั เรียนที่มีปญ หาได ทกุ คน ทุกคน (10) ................... - รายงานระเบียน
ไมค รบทุกคน (5) สะสมของนกั เรยี น
ไมไดท าํ (0) - บนั ทึกการคัดกรอง

และจัดกลมุ นกั เรยี น
รายบคุ คล
- รายงานการคดั กรอง
พฤติกรรมเสยี่ งของ
นักเรียน

2. นกั เรยี นท่มี ีพฤติกรรมเสี่ยงหรอื คดั กรอง ทุกคน ทกุ คน (10) ................... - รายงานการคัดกรอง
อยูในกลมุ เสยี่ ง และกลมุ ท่ีมปี ญ หา ไมครบทกุ คน (5) พฤตกิ รรมเส่ยี งของ
ไดรับการเฝา ระวงั และชวยเหลือ ไมไดทํา (0) นกั เรียน
เบ้ืองตน
- รายงานระบบดแู ล
ชว ยเหลอื

3. โรงเรยี นมกี จิ กรรมชวยเหลือนักเรียน นักเรยี นทกุ คน ครบทุกคน (10) ................... - รายงานการ
เฉพาะรายที่มปี ญหายุงยากซับซอ น ท่ีไดรบั การ ไมครบทุกคน (5) ชว ยเหลือ
โดยการประสานงานขอคําปรกึ ษา ประเมนิ วา ไมไ ดท าํ (0)
จากเครือขาย บุคลากรสาธารณสขุ มปี ญ หายงุ ยาก
หรอื ผูเ ก่ยี วของ ซบั ซอน ทกุ คน (5) ................... - สมุ สมั ภาษณน ักเรียน
ไมค รบทุกคน (3) กลมุ เสี่ยงหรือ
4. นกั เรยี นทมี่ ีปญ หาเกินขดี ความสามารถ ทุกคน ไมมีการสง ตอ (0) กลุมที่มปี ญหาใน
ของโรงเรยี นไดรบั การสง ตอเพื่อ
ชวยเหลอื /รักษา/บําบดั ทุกคน รายงานการคัดกรอง
ไมครบทกุ คน ตามขนาดโรงเรยี น
5. นักเรียนที่มีพฤตกิ รรมเสยี่ งและมีปญ หา ทกุ คน ไมมกี ารติดตาม - รายงานการ สงตอ
ทีไ่ ดรับการชวยเหลอื หรอื สง ตอ ไดร ับ
การติดตามและดแู ลตอเน่อื งจากครู (5) ................... - เชน เดยี วกับ
(3) ตัวชว้ี ดั ท่ี 4
(0) - รายงานการตดิ ตาม

Ù‹ × 37

Ø

�ั���� ัด เกณฑ ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนน แหลง ขอมลู /
ทไ่ี ด ��� �� ิ��ู น
6. โรงเรยี นมีบคุ ลากรหรือบริการใหคํา
ปรึกษาดา นสุขภาพจิตหรอื ปองกัน มี มี (5) ................... - เชนเดยี วกบั
พฤติกรรมเส่ียงสําหรับนักเรียน ไมม ี (0) ตวั ช้ีวัดท่ี 4

- รายงานการให
คาํ ปรึกษา

รวมคะแนนท่ีได

หมายเหตุ : การคิดรอยละของตวั ช้ีวัดที่ 4, 5, 6 คดิ จากจํานวนตัวอยา งทสี่ ุมทง้ั หมด

สรุปผลการประเมนิ ตามองคประกอบท่ี 9 (คะแนนเต็ม 45 คะแนน)

ผานเกณฑป ระเมินขัน้ ดีมาก (33 คะแนนขึ้นไป)
ผานเกณฑประเมินข้ันดี (29 - 32 คะแนน)
ผานเกณฑป ระเมินขัน้ พ้นื ฐาน (25 - 28 คะแนน)
ควรพัฒนาตอไป (0 - 24 คะแนน)

38 Ø

‹Ù ×