การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

เมนูหลัก

  • หน้าหลัก
  • แนะนำรายวิชา
  • แบบทดสอบก่อนเรียน
  • บทที่ 1 รู้จักโปรแกรม SketchUp
  • แบบทดสอบก่อนเรียน
  • 1.1 ความสามารถของโปรแกรม
  • 1.2 แนวทางการใช้ SketchUp กับสายอาชีพ
  • 1.3 การเปิดใช้งานโปรแกรม SketchUp
  • 1.4 หน้าต่างการทำงานของ SketchUp
  • แบบฝึกหัด
  • แบบทดสอบหลังเรียน
  • บทที่ 2 เริ่มต้นทำงานบน SketchUp
  • บทที่ 3 มุมมองภาพและการแสดงผล
  • บทที่ 4 เครื่องมือ Principal Tools
  • บทที่ 5 วาดรูปสร้างโมเดล
  • บทที่ 6 การใช้เครื่องมือปรับแต่ง
  • บทที่ 7 การตกแต่งโมเดล
  • บทที่ 8 สร้างสรรค์โมเดลสวย
  • บทที่ 9 การนำเสนอโมเดล
  • แบบทดสอบหลังเรียน

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

แนวทางการใช้ SketchUp กับสายอาชีพ

SketchUp  ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้กับงานด้านการออกแบบเป็นหลัก ดังนั้นจึงเหมาะกับสายงานที่เน้น
การสร้างโมเดล ซึ่งมีอยู่หลัก ๆ 4  สายงาน  โดยสายงานที่นิยมที่สุด คือ ด้านสถาปัตยกรรม

 

งานสถาปัตยกรรมทั่วไป

งานสถาปัตยกรรมทั่วไป เช่น การออกแบบโครงสร้างอาคาร ภูมิทัศน์ เป็นต้น เราใช้ SketchUp
ช่วยในการออกแบบ จัดวางโครงสร้าง การตรวจสอบแสงเงา การคำนวณพื้นที่ ทำให้ชิ้นงานที่ได้
เป็นไปตามแบบร่าง และโครงสร้างที่ถูกออกแบบไว้เป็นอย่างดี

 

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

ภาพที่ 1 โมเดลงานสถาปัตยกรรมทั่วไป
ที่มา https://3dwarehouse.sketchup.com

 

งานตกแต่งภายใน

งานตกแต่งภายใน คือการออกแบบ ตกแต่ง และจัดวางองค์ประกอบในตัวอาคาร บ้าน และสถานที่อื่น ๆ โดยโปรแกรม SketchUp  มีความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนตำแหน่งการจัดวาง  การแก้ไขโมเดลต่าง ๆ
รวมทั้งการกำหนดพื้นผิว และวัสดุได้ใกล้เคียงกับความเป็นจริง

 

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

ภาพที่ 2 โมเดลงานตกแต่งภายใน
ที่มา https://3dwarehouse.sketchup.com/model.html

 

งานออกแบบผลิตภัณฑ์

งานออกแบบผลิตภัณฑ์ในที่นี้ จะรวมถึงการออบแบบสิ่งของทั่วไป เฟอร์นิเจอร์สำหรับตกแต่งห้อง
ยานพาหนะ เครื่องจักร และโมเดลอื่น ๆ ซึ่งโปรแกรม SketchUp ก็สามารถทำงานได้ ไม่แพ้กับ
การสเก็ตซ์ภาพด้วยมือ เนื่องจากเครื่องมือและฟังก์ชันการทำงานต่าง ๆ ถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย และสะดวก

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

ภาพที่ 3 โมเดลงานออกแบบผลิตภัณฑ์
ที่มา https://3dwarehouse.sketchup.com

 

งานออกแบบ  Display

ออกแบบ  Display  เช่น เวที บูธ บริเวณแสดงสินค้าในรูปแบบต่าง ๆ โดยโปรแกรมSketchUp
สามารถขึ้นโครงสร้าง และจัดวางตำแหน่งของส่วนต่าง ๆ ในชิ้นงานได้ง่าย
แม้ว่าผู้ใช้งานจะเพิ่งเริ่มใช้โปรแกรมก็ตาม

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

ภาพที่ 4 โมเดลงานออกแบบ Display
https://3dwarehouse.sketchup.com

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

  • คอมพิวเตอร์สามมิติ
การใช้งาน Google SketchUp

โดย

จีระพงษ์ โพพันธุ์

-

2 ตุลาคม 2019

0

2698

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

รู้จักหน้าจอของโปรแกรม Google SketchUp

          เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงหน้าที่และวิธีใช้งานเครื่องมือต่างๆ ของโปรแกรม Google SketchUp เมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมาครั้งแรก จะปรากฏหน้าต่างและชุดเครื่องมือต่างๆ ดังนี้

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro



          แถบที่รวบรวมคำสั่งต่างๆ ในการทำงาน โดยจะแบ่งออกเป็น 8 หมวดด้วยกันดังนี้

1. File: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับจัดการกับไฟล์งาน เช่น การสร้างไฟล์งาน เปิดไฟล์งาน การบันทึก การนำเข้า/ส่งออก การสั่งพิมพ์ เป็นต้น

2. Edit: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับปรับแต่งแก้ไขเช่น การคัดลอก ลบ ซ่อน/แสดงวัตถุ สร้าง Group/Component

3. View: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับจัดการในส่วนของพื้นที่ทำงานเช่น ซ่อน/แสดงแถบเครื่องมือ เส้นไกด์ แกนอ้างอิง เงา หมอก การ แสดงผลของเส้น การแสดงผลในส่วนของการแก้ไข Group/Component เป็นต้น

4. Camera: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับจัดการในส่วนของมุมมองในการทำงานเช่น การหมุน เลื่อน ย่อ/ขยาย เป็นต้น

5. Draw: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับเรียกใช้เครื่องมือต่างๆในการวาดรูปทรงเช่น กาววาดเส้นตรง โค้ง สี่เหลี่ยม วงกลม

6. Tools: เป็นกลุ่มคำสั่งสำหรับเรียกใช้เครื่องมือต่างๆในการทำงานเช่น Push/Pull การหมุน/ย้ายวัตถุ การสร้างตัวอักษรสามมิติ การวัดขนาด เป็นต้น

7. Window: เป็นกลุ่มคำสั่งเกี่ยวกับการเรียกแสดงหน้าต่างหรือไดอะล็อกบอกซ์ขึ้นมาเพื่อใช้ร่วมในการทำงานและปรับแต่งค่าต่างๆของโปรแกรม

8. Help: เป็นกลุ่มคำสั่งเกี่ยวกับคู่มือการแนะนำการใช้งานโปรแกรม ไปจนถึงการลงทะเบียนและการตรวจสอบการอัพเดต



Toolbars (แถบเครื่องมือ)

          แถบสำหรับรวบรวมเครื่องมือต่างๆ ในการทำงาน โดยในขั้นต้นโปรแกรมจะกำหนดแถบเครื่องมือมาให้กลุ่มเดียว (จาก 20 กลุ่ม) คือ Getting Start ซึ่งในการทำงานจริงเครื่องมือเพียงเท่านี้ไม่เพียงพอต่อการทำงาน เราสามารถที่จะเรียกแสดงแถบเครื่องมือกลุ่มต่างๆ ได้จากเมนู View > Toolbars แล้วเลือกแถบเครื่องมือที่ต้องการ โดยแถบเครื่องมือที่แสดงอยู่จะมีเครื่องหมายถูกอยู่ที่หน้าคำสั่ง

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro


ทำความรู้จักกับเครื่องมือต่างๆ

ชื่อเครื่องมือส่วนประกอบของเครื่องมือAdvanced Camera Tools
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Camera
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Classifier
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Construction
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Drawing
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Dynamic Component
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Edit
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Getting Started
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Google
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Large Tool Set
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Layers
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Measurements
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Principal
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Sandbox
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Section
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Shadows
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Solid Tools
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Standard
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Styles
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Views
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro
Warehouse
การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro

(รายละเอียดของเครื่องมือแต่ละชิ้น จะได้เรียนและทดลองใช้ในบทต่อไป)



เมนู Context

          เมนู Context สามารถเรียกได้ด้วยการคลิกขวา โดยจะแสดงคำสั่งที่สัมพันธ์กับวัตถุ ซึ่งรายการคำสั่งของเมนูจะเปลี่ยนไปตามวัตถุที่เลือก



พื้นฐานการสร้างโมเดลโดยอาศัยการอ้างอิงส่วนประกอบในภาพ

          เมื่อต้องการสร้างโมเดล สิ่งสำคัญสิ่งหนึ่งคือความเข้าใจองค์ประกอบต่างๆ ของโปรแกรม เพื่อควบคุม และแก้ไขจนออกมาเป็นชิ้นงานที่ต้องการ หลักการทำงานของโปรแกรม Google SketchUp คือสร้างโครงร่างสองมิติ แล้วดึงพื้นที่ขึ้นหรือกดลงเพื่อให้มีความลึกหรือความหนา จนได้เป็นชิ้นงานสามมิติ

          ในการสร้างงานสามมิติ ควรศึกษาแกนหลักในการวาดภาพและเข้าใจภาพหรือเส้นแสดงแกนหลักของโปรแกรม โดยจะมีด้วยกัน 3 แกน ดังนี้

          1. แกนหลักสีเขียว แทนทิศเหนือ ใต้ โดยเส้นทึบเขียวแทนทิศเหนือ เส้นประเขียวแทนทิศใต้

          2. แกนหลักสีแดง แทนทิศตะวันออก ตะวันตก โดยเส้นทึบแดงแทนทิศตะวันออก เส้นประแดงแทนทิศตะวันตก

          3. แกนหลักสีน้ำเงิน แทนแนวระดับจากพื้น โดยเส้นทึบน้ำเงินแทนแนวระดับที่สูงกว่าพื้น เส้นประน้ำเงินแทนแนวระดับที่ต่ำกว่าพื้น



การย้ายแกนอ้างอิง

1. คลิกขวาที่แกนหลัดใดก็ได้

2. เลือกคำสั่ง “Move”

3. กำหนดค่าแกนใหม่ตามต้องการ

4. คลิกปุ่ม “OK”

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro



การซ่อนแกนอ้างอิง

1. คลิกขวาที่แกนหลัดใดก็ได้

2. เลือกคำสั่ง “Hide”

การใช้งานที่มีเฉพาะใน google sketchup pro






อ้างอิง

แมนสรวง แซ่ซิ้ม, “1.4 ส่วนประกอบของโปรแกรม Google Sketchup 8”, https://occupationandtechnologym3.wordpress.com สืบค้นวันที่ 4 พ.ย. 61

โปรแกรม Google SketchUp ใช้สำหรับงานใด

SketchUp เป็นโปรแกรมสำหรับสร้างแบบจำลอง 3D (Three - Dimensional) ที่มีความง่าย ต่อการใช้งาน และเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง โดยส่วนใหญ่จะถูกนำมาใช้ในงานออกแบบเชิง

SketchUp สามารถประยุกต์ใช้กับงานทางด้านใดได้บ้าง

SketchUp เป็นโปรแกรมสาหรับออกแบบแบะสร้างโมเดล 3 มิติ ซึ่งมีเครื่องมือที่ใช้งานง่าย สามารถใช้งานร่วมกับ Google Map เพื่อสร้างโมเดลอาคาร โชว์ภาพตัดขวางของโมเดล อีกทั้งยัง จาลอง การแสดงแสง เงา ตามวันที่และเวลาจริงได้อีกด้วย นอกจากนี้ยังสามารถโชว์มุมมองต่างๆ ของโมเดลเป็นแอนิเมชั่น หรือจะแปลงเป็นไฟล์ต่างๆ เพื่อนาไปใช้ร่วม ...

จุดเด่นของโปรแกรม SketchUp มีอะไรบ้าง

SketchUp เป็นโปรแกรมสร้างโมเดล 3 มิติ ซึ่งมีเครื่องมือที่ใช้งานง่าย สามารถใช้งานร่วมกับ Google Map เพื่อสร้างโมเดลอาคาร โชว์ภาพตัดขวางของโมเดล อีกทั้งยังจำลองการแสดง แสง เงา ตามวันที่ และเวลาจริงได้อีกด้วย นอกจากนี้ยังสามารถโชว์มุมมองต่าง ๆ ของโมเดลเป็น แอนิเมชั่น

โปรแกรม SketchUp เหมาะใช้กับงานด้านใดบ้าง ให้ยกตัวอย่างมาอย่างน้อย 3 ข้อ

SketchUp ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้กับงานด้านการออกแบบเป็นหลัก ดังนั้นจึงเหมาะกับสายงานที่เน้น การสร้างโมเดล ซึ่งมีอยู่หลัก ๆ 4 สายงาน โดยสายงานที่นิยมที่สุด คือ ด้านสถาปัตยกรรม งานสถาปัตยกรรมทั่วไป งานสถาปัตยกรรมทั่วไป เช่น การออกแบบโครงสร้างอาคาร ภูมิทัศน์ เป็นต้น เราใช้ SketchUp.