ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์

เมื่อพูดถึงอาหาร หรือ ปุ๋ยสำหรับผักไฮโดรโปนิกส์ เราจะนึกถึงแต่สารละลาย A และ B ซึ่งเป็นสารละลายที่จะใช้เป็นอาหารสำหรับการปลูกผักในระบบ ไฮโดรโปนิกส์ แต่สารสำเร็จรูปมักจะมาพร้อมกับต้นทุนที่สูงอยู่เสมอ วันนี้จะขอนำสูตรปุ๋ยที่สามารถใช้ในการปลูกผัก ไฮโดรโปนิกส์ โดยเป็นปุ๋ยที่ผสมกันระหว่างอินทรีย์และเคมีมาฝาก

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์

1.สูตรนำหมักมูลไส้เดือน

วัสดุอุปกรณ์

– มูลไส้เดือน 20 กก

– ถังน้ำ 100 ลิตร

– กลูโคส 400 กรัม

– น้ำตาลทรายแดง 1 กก

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์
มูลไส้เดือน

วิธีทำ

1.นำมูลใส่เดือนมาใส่กระสอบ แล้วนำไปแช่ในถังน้ำ 100 ลิตร ที่เราเตรียมไว้ (ถ้านำที่ใช่แช่เป็นน้ำประปา ควรพักน้ำไว้ 5 วัน ) แล้วเติมออกซิเจนเข้าไป เติมด้วยปั้มเติมออกซิเจนเป็นเวลา 3 วัน จากนั้นยกกระสอบมูลใส่เดือนออก

2.เติมกลูโคสที่เราเตรียมไว้ลงในลงในถังน้ำ 100 ลิตร (กลูโคสหาซื้อได้จากร้านขายยา)

3. เติมน้ำตาลทรายแดงลงไป 1 กิโลกรัม แล้วเติมออกซิเจนอีกประมาณ 4-5 วัน สามารถนำไปใช้ได้ (ไม่ควรใช้กากน้ำตาลทรายแดง เพราะน้ำที่ได้จะไม่ใส และกากน้ำตาลจะไป จับกับระบบรากพืช ทำให้รากรับออกซิเจนไม่เพียงพอ )

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์
น้ำตาลทรายแดง

วิธีใช้

ใช้ในการเป็นสารละลายตั้งต้น สำหรับท่านที่ใช้สารละลาย AB อยู่ก่อนแล้ว ลองค่อยปรับดู เช่นปรับในอัตรส่วน 60/40 (น้ำหมักมูลไส้เดือน 60 สารละลาย AB 40 )

ท่านใดที่จะใช้เต็ม 100 ควรเติมปุ๋ยสูตรเสมอในอัตรา 200 กรัม/นำหมักมูลไส้เดือน 100ลิตร โดยการแบ่งเติมเป็น 2 ครั้ง ห่างกัน 7 วัน ถ้าผักมีลักษณะใบเหลืองให้เติมปุ๋ยสูตรเสมอครั้งละ 100 กรัม ห่างกัน 5 วัน เมื่อใบเขียวปกติให้หยุดเติม

น้ำหมักมูลไส้เดือนทีได้ ควรฉีดพ่นทางใบทุกๆ 3-5 วันก่อนนำไปใช้ ก่อนใช้ต้องผสมให้เจือจาง ในอัตราส่วน น้ำหมักมูลไส้เดือน 1 ลิตร ต่อ น้ำเปล่า 20 ลิตร ถ้าใช้กับพืชใบบอบบางใช้อัตรา 1 ลิตร/น้ำ 30 ลิตร

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์

2.สูตรนำหมักมูลสุกร

วัสดุอุปกรณ์

-ถังพลาสติก 200 ลิตร

-ขี้หมูแห้ง  30 กก.


วิธีทำ

1.เติมน้ำประมาณ 150 ลิตร ลงในถังที่เราเตรียมไว้

2.ใส่ขี้หมูแห้งในถุงตาข่าย แล้วนำไปแช่ในถังน้ำที่เตรียมไว้ หาวัสดุมากดทับให้มิด ทิ้งไว้ 24 ชม. (อย่าเกิน 24 ชม. เพราะจะกลายเป็นน้ำขี้หมูเน่า) เมื่อครบ 24 ชม.นำขี้หมูออกจากถัง

HYDROHOBBY AB 1000 cc.

ปุ๋ยน้ำ AB 1000 cc  (ชนิดน้ำ สูตรเข้มข้น) สำหรับผักไฮโดรโปนิกส์ ประกอบด้วยธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ช่วยบำรุงใบ ลำต้น เร่งราก ออกผลดี สามารถใช้ปลูกผักพันธุ์สลัดและผักพันธุ์ไทย ทุกชนิด หรือ ผักกินใบทุกชนิด จะช่วยให้ผลผลิตและคุณภาพมากขึ้น ทำให้ผักใบเขียว ต้นอวบ รสชาติดีใช้ได้ทั้งในระบบน้ำหมุนเวียน น้ำนิ่ง หรือรดน้ำลงดินโคนต้นและลำต้น  ใช้งานง่ายเหมาะสำหรับมือใหม่ทดลองปลูก

***** ปลอดภัย ไร้สารพิษตกค้าง *****

คุณสมบัติ เป็นปุ๋ยเคมีชนิดน้ำ ซึ่งประกอบด้วยธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม ดังนี้

 ปริมาณธาตุอาหารรอง

                        แคลเซียม  3 %

                        แมกนีเซียม 1 %

ปริมาณธาตุอาหารเสริม

                        ธาตุเหล็ก 1%

                        แมงกานีส          1%

ผ่านการขึ้นทะเบียน ใบรับแจ้งเลขที่ รส 2111249/2564 และ รส 2111248/2564 (กรมวิชาการเกษตร)                

1 ชุด ประกอบด้วย A 1000 cc  1 ขวด และ B 1000 cc  1 ขวด (เขย่าขวดก่อนใช้งาน)

วิธีใช้ เติมสารละลาย A 5 cc ลงในน้ำ 1 ลิตร หลังจากนั้น 4-6 ชม. เติมสารละลาย B 5 cc ลงในน้ำเดิม

** การเก็บรักษา : เก็บให้พ้นจากแสงแดด สามารถเก็บไว้ได้ 1-2 ปี **

#ผักไฮโดรโปนิกส์ #สารละลายab #ปลูกผักไร้ดิน #โรงเรือน #ปลูกพืชไม่ใช้ดิน #ไฮโดรโปนิกส์ #อุปกรณ์ปลูกไฮโดร #ปุ๋ยน้ำ #ปุ๋ยAB #hydrohobby #hydroponic #ฟองน้ำ #วัสดุปลูก #เพอร์ไลท์ #ถ้วยปลูก #สารกันแมลง #เมล็ดพันธุ์ผักไฮโดรโปนิกส์ #ฟาร์มผัก

อาจารย์อารักษ์ ธีระอำพน อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร ได้วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีนี้ลงไปสู่โรงเรียน ถือเป็นศูนย์กลางการศึกษาของชุมชนให้ได้รู้เกี่ยวกับการปลูกผักด้วยวิธีการที่ไม่ต้องใช้ดินตามที่ว่ามาข้างต้น

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์

ผักไฮโดรโปนิกส์ หรือผักไร้ดิน คืออะไร

“ผักไฮโดรโปนิกส์” หรือ “ผักไร้ดิน” คือการปลูกผักในรูปแบบหนึ่งที่ไม่จำเป็นต้องมีดินปลูก จึงเป็นที่มาของคำเรียกสั้นๆ ว่า “การปลูกผักไร้ดิน” ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่เคยมีมาก่อนในอดีตนานแล้ว และในปัจจุบันกระแสการหันมาใสใจในอาหารเพื่อสุขภาพของคนไทยมีมากขึ้นเช่น ผักปลอดสารพิษ ผักกางมุ้ง ฯลฯ

และผักไฮโดรโปนิกส์ ก็ถือเป็นทางเลือกใหม่ของผู้บริโภคที่กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะนอกจากจะปลอดภัยจากสารพิษตกค้างแล้ว ยังเป็นการทำเกษตรที่มีการลงทุนต่ำ ใช้ทุนไม่มาก ใช้พื้นที่น้อย และยังได้ผลผลิตดี มีสีสันน่ารับประทาน รสชาติดี และสามารถประหยัดค่าใช้จ่าย และสร้างรายได้ ได้อีกด้วย

ที่สำคัญไปกว่านั้นคือ

เทคโนโลยีการปลูกผักไร้ดิน เป็นการจัดการด้านเกษตรที่ง่าย และช่วยบ่มเพาะให้เยาวชนเกิดการเรียนรู้ กระตุ้นความสนใจในหลายๆ ด้าน เพราะสามารถทำได้เอง ใช้เวลาไม่นาน และต้นทุนไม่แพง

วิธีการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ หรือผักไม่ใช้ดิน

ผักไร้ดิน ผักไฮโดรโปนิกส์ ผักไม่ใช้ดิน แล้วแต่จะเรียก หลักๆ ก็คือเป็นการปลูกพืชผักแบบไม่ต้องใช้ดิน มีหลักการอยู่ 2 แบบ คือ…

  • การปลูกในน้ำ โดยบริเวณรอบๆ รากของพืช จะเป็นการใช้ของเหลวผสมแร่ธาตุอาหารสำหรับพืชทดแทนดินปลูก รากพืชจะได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื่อเจริญเติบโต
  • การปลูกในวัสดุแข็ง เช่น แกลบ ทราย ขุยมะพร้าว หินภูเขาไฟ ซึ่งเป็นวัสดุปลูกที่ไม่ได้ให้ธาตุอาหารกับพืชแต่อย่างใด ในขณะเดียวกันก็ทำหน้าที่เป็นวัสดุที่ช่วยค้ำและพยุงราก แต่สารอาหารที่ได้รับจะอยู่ในรูปแบบของเหลวเหมือนข้อแรก

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์

ระบบปลูกไฮโดรโปนิกส์แบบปลูกในน้ำ

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์

ระบบปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบปลูกในวัสดุแข็ง

ในอดีตกระแสความนิยมของการปลูกพืชไร้ดิน หรือไฮโดรโปนิกส์ในรูปแบบต่างๆ นี้ เป็นไปเนื่องจากความพยายามของบริษัทนำเข้าอุปกรณ์การปลูกที่ต้องการจะขายสินค้าและทำกำไรจากสินค้า มากกว่าจะเป็นกระแสบริโภคนิยมอย่างแท้จริง จึงทำให้การปลูกผักไร้ดินในช่วงแรกไม่ได้เป็นที่นิยมมากนัก และซบเซาไปพักหนึ่ง

ก่อนที่จะกลับมาได้รับความนิยมขึ้นอีกครั้งตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา ในเมืองไทยเองก็มีคนที่หันมาสนใจสุขภาพมากขึ้น และปลุกกระแสการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ขึ้น และได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจากผู้บริโภค มีตลาดรองรับ แม้แต่สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ก็เล็งเห็นความสำคัญของการขยายตัว จึงให้การสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการลงทุนด้านนี้ ทำให้มีผู้สนใจเข้ามาทำมากขึ้น ก่อให้เกิดรูปแบบ เทคนิค และเทคโนโลยีในการผลิตที่หลากหลาย กลายเป็นทางเลือกสำหรับผู้บริโภคตามมา

Download : เอกสารส่งเสริมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์จาก BOI

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์

ผักอะไรบ้างที่สามารถปลูกแบบไฮโดรโปนิกส์

พืชผักที่นิยมปลูกแบบไฮโดรโปนิกส์ หรือปลูกแบบไม่ต้องใช้ดินได้ มีกว่า 90% ซึ่งทั้งหมดนั้นเป็นประเภทพืชผักที่ใช้รับประทานในชีวิตประจำวัน เ่ช่น

  • กลุ่มผักสลัด หรือผักกาดหอมต่างประเทศ
    ในอดีตที่ต้องนำเข้ากิโลกรัมละหลายร้อยบาท แต่ปัจจุบันสามารถลดการนำเข้าได้เกือบ 100 %
  • กลุ่มพืชผักตะวันออก
    เช่น คะน้า กว้างตุ้ง คะน้าฮ่องกง ผักกาดขาว ซึ่งมีคนสนใจทำตรงนี้มากขึ้น และผลตอบรับค่อนข้างดี เพราะตลาดกว้าง
  • กลุ่มผลไม้
    ระบบไฮโดรโปนิกส์ไม่ได้จำกัดอยู่ที่ผักต่างประเทศเท่านั้น การปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน กับพืชผักที่มีมูลค่าทางการตลาดสูง เช่น แตงเทศหรือแตงแคนตาลูป ก็สามารถให้ผลสำเร็จที่งดงาม

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์

กลุ่มผักสลัด

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์

กลุมพืชผักตะวันออก

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผัก ไฮ โดร โป นิ ก ส์

กลุ่มผลไม้เศรษฐกิจ

การปลูกผักไร้ดิน หรือ ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ในสภาพแวดล้อมปกติจะต้องใช้สารเคมีจำนวนมาก และอาจมีสารพิษตกค้าง ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค

แต่หากปรับเปลี่ยนวิธีการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ให้ปลอดภัยจากสารเคมี ก็จะสามารถแก้ปัญหานี้ได้ รวมทั้งสามารถควบคุมคุณภาพได้ด้วย และแม้แต่พืชผักและพืชสมุนไพร เช่น สะระแหน่ วอเตอร์เครส หญ้าปักกิ่งหรือหญ้าเทวดา ก็สามารถตอบสนองต่อการปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์ได้เป็นอย่างดี

สารและแร่ธาตุสำคัญสำหรับการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์นั้นคือ ปุ๋ยชนิด A และ B ที่เหมาะสำหรับการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โดยเฉพาะ

ปุ๋ยที่ใช้ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ คือปุ๋ยอะไร

ปุ๋ยAB หรือ ปุ๋ย Stock A และ ปุ๋ย Stock B นั้น เป็นปุ๋ยที่ไว้ใช้สำหรับปลูกพืช #ไฮโดรโปนิกส์ หรือ พืชไร้ดิน จัดเป็นปุ๋ยเคมีชนิดหนึ่ง ใช้เป็นธาตุอาหารสำหรับพืชทดแทนแหล่งอาหารหลักที่มาจากดิน

สูตรปุ๋ยการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์มีอะไรบ้าง

สูตรปุ๋ย AB ไฮโดรโพนิกส์ สูตรนี้ใช้ได้ดีกับการปลูกผักสลัด สูตร 10 ลิตร อัตราการใช้ 3-5 ซีซี/ลิตร Stock A 10 ลิตร.
โพแทสเซียมไนเตรต 600 กรัม.
โมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต 300 กรัม.
แมกนีเซียมซัลเฟต 500 กรัม.
จุลธาตุรวมคีเลต 50 กรัม.
แมงกานีสEDTA 10 กรัม.

ปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์ ใช้ยังไง

วิธีการผสมธาตุอาหาร AB. สำหรับ ผักสลัด/ผักกินใบ ให้ผสมธาตุอาหารA/B (ปุ๋ยน้ำ AB เข้มข้น) เข้าด้วยกันใน อัตราส่วน 1 : 1 ลงในน้ำเปล่าปริมาณ 120 ส่วน (จะได้ค่า EC ประมาณ 1.3 ms/cm) คนให้เข้ากัน แล้วนำไปใช้ปลูกผักได้ทันที

ผักไฮโดรโปนิกส์ มีอะไรบ้าง

ผักไฮโดรโปนิกส์ มีอะไรบ้าง.
1. ผักกาดหอม ... .
2. ผักคอส ... .
3. ผักกาดแก้ว ... .
4. กวางตุ้ง ... .
5. กรีนโอ๊ค ... .
6. บัตเตอร์เฮด ... .
7. เรดโอ๊ค ... .
8. ฟิลเลย์ไอซ์เบิร์ก.