เฉลย กระบวนการ จัด ทํา บัญชี ป ว. ช

1.2 การจดทะเบียนพาณิชย์ 3. ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะ 2. อธิบายความหมายของธุรกิจประเภทต่าง ๆ ได้

1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจ 3. บอกธุรกิจที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ได้
เฉพาะ 4. บอกขั้นตอนการจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน

จ ากัดและบริษัทจ ากัดได้

ิ่
5. บอกธุรกิจที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพมและภาษี
ธุรกิจเฉพาะได้

2. วงจรการปฏิบัติงานบัญชี 1. ล าดับขั้นตอนวงจรการปฏิบัติงานบัญชี สมรรถนะ 3-5 15

2.1 ล าดับขั้นตอนวงจรการปฏิบัติงาน 1. เขาใจล าดับขั้นตอนวงจรการปฏิบัติงานบัญชี
บัญชี

2. บอกล าดับขั้นตอนวงจรการปฏิบัติงานบัญชี

3. การจัดประเภทเอกสารที่ใช้ในการบันทึก 1. การจัดประเภทเอกสารที่ใช้ในการบันทึกบัญชี สมรรถนะ 6-9 20

บัญชี
3.1 การจัดประเภทเอกสารการค้า 2. การจัดประเภทเอกสารการค้า 1. จ าแนกประเภทเอกสารการค้าได้

Soy’l

ก าหนดการสอน

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ / จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม สมรรถนะประจ าหน่วย สัปดาห์ที่ จ า น ว น

รายการสอน ชั่วโมง

1. รูปแบบและการจดทะเบียนของธุรกิจ 1. ความหมายและรูปแบบของธุรกิจ สมรรถนะ 1-2 10
1.1 ความหมายและรูปแบบของธุรกิจ 2. การจดทะเบียนพาณิชย์ 1. บอกรูปแบบของธุรกิจประเภทต่าง ๆ ได้

1.2 การจดทะเบียนพาณิชย์ 3. ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะ 2. อธิบายความหมายของธุรกิจประเภทต่าง ๆ ได้

1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจ 3. บอกธุรกิจที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ได้
เฉพาะ 4. บอกขั้นตอนการจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน

จ ากัดและบริษัทจ ากัดได้

ิ่
5. บอกธุรกิจที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพมและภาษี
ธุรกิจเฉพาะได้

2. วงจรการปฏิบัติงานบัญชี 1. ล าดับขั้นตอนวงจรการปฏิบัติงานบัญชี สมรรถนะ 3-5 15

2.1 ล าดับขั้นตอนวงจรการปฏิบัติงาน 1. เขาใจล าดับขั้นตอนวงจรการปฏิบัติงานบัญชี
บัญชี

2. บอกล าดับขั้นตอนวงจรการปฏิบัติงานบัญชี

3. การจัดประเภทเอกสารที่ใช้ในการบันทึก 1. การจัดประเภทเอกสารที่ใช้ในการบันทึกบัญชี สมรรถนะ 6-9 20

บัญชี
3.1 การจัดประเภทเอกสารการค้า 2. การจัดประเภทเอกสารการค้า 1. จ าแนกประเภทเอกสารการค้าได้

Soy’l

3.2 การจัดเอกสารประกอบการบันทึก 3. การจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี 2. จัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีได้

บัญชี
4. การจัดท าบัญชีของกิจการ 1. การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป สมรรถนะ 10-13 20

4.1 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน 2. การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท 1. อธิบายความหมายของการจัดท าบัญชีได้

ทั่วไป
4.2 การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท 3. การจัดท างบทดลอง 2. อธิบายความหมายของงบการเงินได้

4.3 การจัดท างบทดลอง 3. บันทึกรายการค้าในสมุดรายวันได้

4. ผ่านรายการจากสมุดรายวันไปบัญชีแยก
ประเภทได ้

5. จัดท างบทดลองได้

5. การจัดท างบการเงิน 1. การยื่นงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า สมรรถนะ 14-16 15
ื่

5.1 การยื่นงบการเงินต่อกรมพฒนาธุรกิจ 2. การยื่นงบการเงินต่อกรมสรรพกร 1. เพอใหนักศึกษาอธิบายการจัดท างบการเงิน
การค้า ตามกรมพัฒนาธุรกิจการคา
5.2 การยื่นงบการเงินต่อกรมสรรพกร 3. การช าระภาษีเงินได้นิติบุคคล 2. เพื่อใหนักศึกษาจัดท างบการเงินตามกรมพฒนา

5.3 การช าระภาษีเงินได้นิติบุคคล ธุรกิจการคา

3. บอกอัตราภาษีนิติบุคคลได้

Soy’l

3.2 การจัดเอกสารประกอบการบันทึก 3. การจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี 2. จัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีได้

บัญชี
4. การจัดท าบัญชีของกิจการ 1. การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป สมรรถนะ 10-13 20

4.1 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน 2. การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท 1. อธิบายความหมายของการจัดท าบัญชีได้

ทั่วไป
4.2 การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท 3. การจัดท างบทดลอง 2. อธิบายความหมายของงบการเงินได้

4.3 การจัดท างบทดลอง 3. บันทึกรายการค้าในสมุดรายวันได้

4. ผ่านรายการจากสมุดรายวันไปบัญชีแยก
ประเภทได ้

5. จัดท างบทดลองได้

5. การจัดท างบการเงิน 1. การยื่นงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า สมรรถนะ 14-16 15
ื่

5.1 การยื่นงบการเงินต่อกรมพฒนาธุรกิจ 2. การยื่นงบการเงินต่อกรมสรรพกร 1. เพอใหนักศึกษาอธิบายการจัดท างบการเงิน
การค้า ตามกรมพัฒนาธุรกิจการคา
5.2 การยื่นงบการเงินต่อกรมสรรพกร 3. การช าระภาษีเงินได้นิติบุคคล 2. เพื่อใหนักศึกษาจัดท างบการเงินตามกรมพฒนา

5.3 การช าระภาษีเงินได้นิติบุคคล ธุรกิจการคา

3. บอกอัตราภาษีนิติบุคคลได้

Soy’l

ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การสอน

ระดับพฤติกรรมที่ต้องการ ความรู้

หน่วย ทักษะ กิจนิสัย
ชื่อหน่วย / หัวข้อการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์
ที่ ความเข้าใจ การน าไปใช้ การวิเคราะห์ การประมาณค่า

ความจ า
1 รูปแบบและการจดทะเบียนของธุรกิจ

1.1 ความหมายและรูปแบบของธุรกิจ,การเปรียบเทียบธุรกิจ  

1.2 การจดทะเบียนพาณิชย์, ห้างหุ้นส่วนจ ากัด, บริษัทจ ากัด    

1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะ      

     

2 วงจรการปฏิบัติงานบัญชี      
2.1 วงจรบัญชี สมการบัญชี ผังบัญชี การจัดท าบัญชีแต่ละประเภท      

    

3 การจัดประเภทเอกสารที่ใช้ในการบันทึกบัญชี

3.1 เอกสารภายนอกและภายในที่ใช้ประกอบการบันทึกบัญช ี     

3.2 เอกสารระบบจัดซื้อ,ขาย,ให้บริการ,จ่ายเงิน และเช็ค      

3.3 การจัดประเภทเอกสารการค้าและใบส าคัญจ่าย       
3.4 การจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญช ี     

    

Soy’l

ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การสอน

ระดับพฤติกรรมที่ต้องการ ความรู้

หน่วย ทักษะ กิจนิสัย
ชื่อหน่วย / หัวข้อการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์
ที่ ความเข้าใจ การน าไปใช้ การวิเคราะห์ การประมาณค่า

ความจ า
1 รูปแบบและการจดทะเบียนของธุรกิจ

1.1 ความหมายและรูปแบบของธุรกิจ,การเปรียบเทียบธุรกิจ  

1.2 การจดทะเบียนพาณิชย์, ห้างหุ้นส่วนจ ากัด, บริษัทจ ากัด    

1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะ      

     

2 วงจรการปฏิบัติงานบัญชี      
2.1 วงจรบัญชี สมการบัญชี ผังบัญชี การจัดท าบัญชีแต่ละประเภท      

    

3 การจัดประเภทเอกสารที่ใช้ในการบันทึกบัญชี

3.1 เอกสารภายนอกและภายในที่ใช้ประกอบการบันทึกบัญช ี     

3.2 เอกสารระบบจัดซื้อ,ขาย,ให้บริการ,จ่ายเงิน และเช็ค      

3.3 การจัดประเภทเอกสารการค้าและใบส าคัญจ่าย       
3.4 การจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญช ี     

    

Soy’l

4 การจัดท าบัญชีของกิจการ     

4.1 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป     

4.2 การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท     

4.3 การจัดท างบทดลอง     

    

5 การยื่นแบบงบการเงินต่อกระทรวงพาณิชย์และการปฏิบัติงานบัญช ี

5.1 การยื่นงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า   
5.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินและอัตราภาษีเงนได้นิติบุคคล      

5.3 การปฏิบัติงานบัญชีตามกรณีตัวอย่าง     

Soy’l

4 การจัดท าบัญชีของกิจการ     

4.1 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป     

4.2 การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท     

4.3 การจัดท างบทดลอง     

    

5 การยื่นแบบงบการเงินต่อกระทรวงพาณิชย์และการปฏิบัติงานบัญช ี

5.1 การยื่นงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า   
5.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินและอัตราภาษีเงนได้นิติบุคคล      

5.3 การปฏิบัติงานบัญชีตามกรณีตัวอย่าง     

Soy’l

1

บทที่ 1 รูปแบบและการจดทะเบียนของธุรกิจ

สาระส าคัญ

รูปแบบของธุรกิจมีหลายประเภท เชน กิจการเจาของคนเดียว หางหุนสวนและบริษัท เปนตน ซึ่งมี

การ ด าเนินงานในลักษณะที่แตกตางกันตามประเภทนั้นๆ ในการตัดสินใจเลือกรูปแบบของธุรกิจที่จะด าเนิน

กิจการ ขึ้นอยูกับเจาของธุรกิจเปนผูพจารณาและตัดสินใจเองเมื่อเจาของธุรกิจไดด าเนินการเลือกประเภท
ธุรกิจแลว ก็จะเริ่มวางแผนการท างานตามล าดับขั้นตอน ตอไป ซึ่งการปฏิบัติงานทางดานบัญชีนับไดวาเปนสิ่ง
ส าคัญอยางหนึ่งที่ตองด าเนินการจัดท าดวยความรอบคอบ ไปตามขั้นตอนการปฏิบัติทางบัญชี และยึดแนวทาง

ปฏิบัติตามหลักการบัญชีที่ยอมรับโดยทั่วไปของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไดก าหนดใหหางหุนสวนจดทะเบียนและบริษัทจ ากัด ไปจด ทะ
เบียนตอทะเบียนหุนสวนบริษัท กรมการคา กระทรวงพาณิชย เมื่อจดทะเบียนแลวก็มีสภาพเปนนิติบุคคลแยก

ตางหากจากผูเปนหุนสวน และผูถือหุน เพอประโยชนแกทางราชการในการควบคุมและใหค าแนะน าในการ
ื่
ด าเนินธุรกิจ และภาษีมูลคาเพิ่มของธุรกิจ

เนื้อหา

กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole proprietorship)

การประกอบธุรกิจการค้าอาจด าเนินการได้หลายรูปแบบ ทั้งโดยบุคคลคนเดียวเป็นเจ้าของกิจการโดยล าพง
หรืออาจด าเนินการโดยร่วมลงทุนกับบุคคลอนเป็นกลุ่มคณะก็ได้ การที่จะตัดสินใจเลือกด าเนินธุรกิจการค้าใน
ื่
รูปแบบใดนั้น ผู้ประกอบการจะต้องค านึงถึงองค์ประกอบที่ส าคัญหลายประการด้วยกัน เช่น ลักษณะของ
กิจการค้า เงินทุน ความรู้ความสามารถในการด าเนินธุรกิจ เป็นต้น ทั้งนี้เพอให้การประกอบธุรกิจนั้นประสบ
ื่
ผลส าเร็จ น ามาซึ่งผลประโยชน์และก าไรสูงสุด
กิจการที่มีบุคคลคนเดียวเป็นเจ้าของหรือลงทุนคนเดียว ควบคุมการด าเนินเองทั้งหมด เมื่อกิจการ


ประสบผลส าเร็จมีผลก าไร ก็จะได้รับผลประโยชน์เพยงคนเดียว ในขณะเดียวกันก็ยอมรับการเสี่ยงภัยจากการ
ขาดทุนเพียงคนเดียวเช่นกัน กิจการประเภทนี้มีอยู่ทั่วประเทศจ านวนมาก ได้รับความนิยมสูงสุดและเป็นธุรกิจ
ที่เก่าแก่ที่สุด การด าเนินงานไม่สลับซับซ้อน มีความคล่องตัวสูงในการตัดสินใจด าเนินงาน กิจการมีขนาดเล็ก

ื่
กว่า ธุรกิจ ประเภทอน ตัวอย่างกิจการประเภทนี้ เช่น หาบเร่แผงลอย ร้านค้าปลีก ร้านค้าส่ง ร้านเสริมสวย
ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า การท าไร่ การท านา เป็นต้น

ลักษณะของกิจการเจ้าของคนเดียว

1. มีเจ้าของกิจการเพียงคนเดียว ใช้เงินลงทุนน้อย
2. เจ้าของกิจการมีความรับผิดชอบในหนี้สินทั้งหมดไม่จ ากัดจ านวน เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกร้องเอาทรัพย์สิน

ของเจ้าของได้ ถ้าทรัพย์สินของกิจการ ไม่เพียงพอ ช าระหนี้

3. เจ้าของกิจการได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนทั้งผลก าไรและผลขาดทุนเพียงคนเดียว
4. การควบคุมการด าเนินงานโดยเจ้าของกิจการคนเดียว

Soy’l

2

ข้อดีและข้อเสียของกิจการเจ้าของคนเดียว

ข้อดี
1. จัดตั้งง่ายใช้เงินทุนน้อย

2. มีอิสระในการตัดสินใจด าเนินงานโดยเจ้าของกิจการเพียงคนเดียว ท าให้เกิดความรวดเร็วคล่องตัวใน

การด าเนินงาน
3. ผู้ประกอบการได้รับผลก าไรทั้งหมดเพียงคนเดียว


4. รักษาความลับของกจการได้ดี เพราะผู้รู้มีเพียงคนเดียว
5. มีข้อบังคับทางกฎหมายน้อย

6. การเลิกกิจการท าได้ง่าย

ข้อเสีย
1. การขยายกิจการให้ใหญ่ขึ้นท าได้ยาก เพราะเงินทุนมีจ ากัด และถ้าต้องการกู้ยืมเงินจากภายนอกจะ

ท าได้ยากเพราะขาดหลักประกัน
2. การตัดสินใจโดยเจ้าของกิจการเพียงคนเดียวอาจมีข้อผิดพลาดได้ง่าย

3. ถ้ามีผลขาดทุน ผู้ประกอบการรับผลขาดทุน และรับผิดชอบในหนี้สินของกิจการไม่จ ากัดจ านวนเพียง

คนเดียว
4. ระยะเวลาด าเนินงานมักไม่ยืนยาว ขึ้นอยู่กับเจ้าของกิจการ ถ้าเจ้าของกิจการป่วยหรือเสียชีวิตอาจ

หยุดชะงักหรือเลิกกิจการ

5. ความสามารถในการคิดและบริหารงานมีจ ากัด เพราะเกิดจากเจ้าของเพียงคนเดียว
ห้างหุ้นส่วน(partnership)

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1012 บัญญัติว่า "ห้างหุ้นส่วน คือ สัญญา ซึ่งบุคคล
ตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงเข้ากน เพื่อกระท ากิจการร่วมกัน ด้วยประสงค์จะแบ่งปันก าไรอนจะพงได้แก่กิจการที่



ท านั้น" จากบทบัญญัติดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า กิจการห้างหุ้นส่วน คือ กิจการที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป
ร่วมกันลงทุนและด าเนินกิจการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งผลก าไรที่ได้จากการด าเนินงาน ซึ่งธุรกิจประเภทนี้
สืบต่อมาจากธุรกิจเจ้าของคนเดียว เมื่อกิจการด าเนินงานก้าวหน้าขึ้น ต้องการเงินทุนและการจัดการเพมขึ้น
ิ่
จึงต้องหาบุคคลที่ไว้วางใจได้เข้ามาเป็นหุ้นส่วนร่วมด าเนินงาน ท าให้กิจการ มีขนาดใหญ่ขึ้น การบริหารงานมี
ประสิทธิภาพมีสูงกว่าเดิม

ลักษณะของกิจการห้างหุ้นส่วน

1. มีผู้ร่วมเป็นหุ้นส่วนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงท าสัญญาร่วมกันด าเนินงาน ซึ่งอาจกระท าด้วยวาจาหรือ
เป็นลายลักษณ์อักษร


2. มีการร่วมกันลงทุน โดยน าเงินสด ทรัพย์สินหรือแรงงานมาลงทุนตามขอตกลง
3. มีการกระท ากิจการอย่างเดียวกันร่วมกัน
4. มีความประสงค์แบ่งผลก าไรกันตามขอตกลง

Soy’l

3

ประเภทกิจการห้างหุ้นส่วนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แบ่งห้างหุ้นส่วนออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

1.ห้างหุ้นส่วนสามัญ
ห้างหุ้นส่วนสามัญ คือ ห้างหุ้นส่วนที่ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดในหนี้สินทั้งหมดของห้างหุ้นส่วนโดย

ไม่จ ากัดจ านวน ดังนั้น ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนจึงมีสิทธิ ด าเนินกิจการในนามห้างหุ้นส่วนได้ ซึ่งห้างหุ้นส่วนสามัญ

จะจดทะเบียนหรือไม่ก็ได้ จึงแบ่งห้างหุ้นส่วนสามัญได้เป็น 2 ประเภท คือ


1.1 ห้างหุ้นส่วนสามญจดทะเบียนหรือห้างหุ้นส่วนสามญนิติบุคคล มีสภาพเป็นนิติบุคคล จะต้องใช้
ค าว่า ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ประกอบหน้าชื่อห้างเสมอ ห้างหุ้นส่วนประเภทนี้จะต้องระบุชื่อผู้เป็น
หุ้นส่วนผู้จัดการไว้ชัดเจน ซึ่งจะมีคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ และหุ้นส่วนผู้จัดการเท่านั้น ที่มีสิทธิเข้าจัดการ

งาน ของห้างหุ้นส่วน และท านิติกรรมต่าง ๆ ในนามห้างหุ้นส่วนได้

1.2 ห้างหุ้นส่วนสามญไมจดทะเบียน มีฐานะเป็นบุคคลธรรมดา ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนไม่ได้ตกลงกันไว้ใน


สัญญาของห้างหุ้นส่วน กฎหมายให้ถือว่า ผู้เป็นหุ้นส่วน ทุกคน มีสิทธิเข้าจัดการงานของห้างหุ้นส่วนได้
2.ห้างหุ้นส่วนจ ากัด
ห้างหุ้นส่วนจ ากัด คือ ห้างหุ้นส่วนที่ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย ห้างหุ้นส่วนประเภทนี้

ต้องใช้ค าว่า "ห้างหุ้นส่วนจ ากัด" ประกอบหน้าชื่อของ ห้างหุ้นส่วนเสมอ ห้างหุ้นส่วนจ ากัดประกอบด้วยผู้เป็น

หุ้นส่วน 2 ประเภท คือ
2.1 หุ้นส่วนประเภทจ ากัดความรับผิดชอบ เป็นหุ้นส่วนประเภทที่จ ากัดความรับผิดชอบในหนี้สินของ

ห้างหุ้นส่วนเพียงไม่เกิน จ านวนเงินที่ตนรับ จะลงทุน ในห้างหุ้นส่วน หุ้นส่วนประเภทนี้ไม่มีสิทธิเข้าจัดการงาน

ของห้างหุ้นส่วน มีสิทธิเพยงออกความเห็น รับเป็นที่ปรึกษาและทุนที่น ามาลงทุนต้องเป็นเงิน หรือทรัพย์สิน

เท่านั้น จะเป็นแรงงานไม่ได้


2.2 หุ้นส่วนประเภทไมจ ากัดความรับผิดชอบ เป็นหุ้นส่วนประเภทที่ต้องรับผิดชอบร่วมกันในหนี้สินของ
ห้างหุ้นส่วนโดยไม่จ ากัดจ านวน กฎหมายระบุว่า ต้องมีหุ้นส่วนไม่จ ากัดความรับผิดชอบอย่างน้อย 1 คน ใน

ห้างหุ้นส่วนจ ากัด หุ้นส่วนประเภทนี้มีสิทธิเข้าจัดการงานของห้างหุ้นส่วน และทุนที่น ามา ลงทุน เป็นเงิน

ทรัพย์สินหรือแรงงานก็ได้
บริษัทจ ากัด (Limited Company)

ธุรกิจซึ่งตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนเป็นหุ้นแต่ละหุ้นมีมูลค่าเท่าๆกัน ผู้ถือหุ้นต่างรับผิดจ ากัดเพียงไม่เกิน
จ านวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าหุ้นที่ตนถือ ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษัท

จ ากัด มี 2 ประเภท คือ


1.บริษัท จ ากัด ตั้งขึ้นตามประมวลกฏหมายแพงและพาณิชย์ มีผู้เริ่มก่อการตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป จัดท า
หนังสือบริคณห์สนธิ น าไปจดทะเบียน จัดให้หุ้นมีผู้เข้าชื่อจองซื้อหุ้นจนครบ ประชุมจัดตั้งบริษัท แต่งตั้ง

กรรมการ เรียกช าระค่าหุ้นและจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท

2. บริษัท มหาชน จ ากัด หมายถึง บริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจ ากัด พ.ศ.
2535 มีผู้เริ่มก่อการตั้งแต่ 15 คนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์จะเสนอขายหุ้นต่อบุคคลทั่วไปแบ่งทุนเป็นหุ้น มี

มูลค่าหุ้นละเท่าๆกัน ช าระหุ้นครั้งเดียวเต็มมูลค่า ผู้ถือหุ้นรับผิดชอบไม่เกินจ านวนค่าหุ้นที่ตนถือ

Soy’l

4

3.การบัญชีเกี่ยวกับส่วนของเจ้าของ (Owner's Equity หรือ Capital)

ส่วนของเจ้าของหรือทุน หมายถึง ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์หลังจากหักหนี้สินออกแล้วสมการบัญชี
เป็นทางการแสดงความสัมพันธ์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ ใช้ค านวณหาส่วนของเจ้าชองได้ดังนี้

ส่วนของเจ้าของ = สินทรัพย์ - หนี้สิน


ในกรณที่ไม่มีหนี้สิน
ส่วนของเจ้าของ = สินทรัพย์

3.1 กิจการเจ้าของคนเดียว
กิจการเจ้าของคนเดียวเรียกส่วนทุนว่าส่วนของเจ้าของซึ่งหมายถึง ผลรวมของเงินสด หรือ

สินทรัพย์อื่นทั้งหมดที่เจ้าของน ามาลงทุนในกิจการกับก าไรที่เกิดขึ้น หักด้วยส่วนที่เจ้าของถอนทุนและผล

ขาดทุนที่เกิดขึ้น บัญชีทุนหรือส่วนของเจ้าของ กิจการเจ้าของคนเดียวประกอบด้วย
3.1.1 บัญชีทุน (Capital Account) เป็นบัญชีที่บันทึกรายการเกี่ยวกับเงินลงทุนครั้งแรก เช่น การ

ิ่
น าเงินสด หรือสินทรัพย์อื่นมาลงทุน การเพมทุนหรือทอนทุนระหว่างงวด การรับรู้ผลการด าเนินงาน ซึ่งอาจจะ
เป็นก าไรหรือขาดทุน และถอนใช้ส่วนตัวของเจ้าของกิจการ เป็นต้น


3.1.2 บัญชถอนใช้ส่วนตัว (Drawing Account) เป็นบัญชีที่บันทึกการถอนเงินหรือการเบิก
สินทรัพย์อื่น โดยเจ้าของกิจการน าไปใช้ส่วนตัว การบันทึกบัญชี จะเดบิตถอนใช้ส่วนตัว และเครดิตบัญชีที่
เกี่ยวข้อง เมื่อสิ้นงวดบัญชีจะโอนปิดบัญชีจะโอนปิดบัญชีถอนใช้ส่วนตัวไปบัญชีทุน มีผลท าให้บัญชีทุนหรือ

ส่วนของเจ้าของลดลง

3.2 กิจการห้างหุ้นส่วน
ส่วนของเจ้าของส าหรับกิจการห้างหุ้นส่วนเรียกว่า ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน ซึ่งหมายถึง เงินสดหรือ

สินทรัพย์อื่รหรือแรงงาน ที่ผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนน ามาลงทุนในกิจการและก าไรขาดทุนส่วนที่ยังไม่แบ่งสรร
3.3 บริษัทจ ากัด (Limited Company)

คือ องค์การธุรกิจ ซึ่งจัดตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนเป็นหุ้น มีมูลค่าเท่า ๆ กัน ผู้ถือหุ้นต่างรับผิดชอบจ ากัด


เพียงไม่เกินจ านวนเงินตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าหุ้นที่ตนถือตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์
มาตรา 1096 บัญญัติว่า "บริษัทจ ากัด คือ บริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยแบ่งทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าหุ้นเท่าๆ กัน โดย

ผู้ถือหุ้นต่างรับผิดจ ากัดเพียงไม่เกินจ านวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ตนถือ" จะเห็นได้ว่าปัจจุบันนี้
การประกอบกิจการในรูปแบบบริษัทจ ากัดนี้เป็นที่นิยมมาก เพราะการประกอบธุรกิจส่วนใหญ่มักต้องใช้เงินทุน

จ านวนมาก การระดมเงินทุนกิจการในรูปแบบนี้จัดท าได้ง่ายและได้จ านวนมาก นอกจากเงินทุนที่ได้จะได้จาก

เจ้าของกิจการผู้เริ่มก่อตั้งแล้วยังมีการระดมเงินทุนจากบุคคลทั่วไปด้วยรวมทั้งการบริหารงานที่มี
ประสิทธิภาพ โดยผู้บริหารที่มีความสามารถร่วมกันด าเนินกิจการ ส่งผลให้เป็นกิจการที่มีความมั่นคงและ

น่าเชื่อถือมากประเภทหนึ่ง

ข้อดีข้อจ ากัดของบริษัทจ ากัด
1. สามารถจัดหาเงินทุนได้จ านวนมากตามที่ต้องการโดยการออกหุ้นจ าหน่ายเพิ่ม หรือจัดหาโดย

กู้ยืมจากสถาบันการเงิน ซึ่งจะได้รับ ความเชื่อถอมากกว่ากิจการประเภทอื่น

Soy’l

5

2. การด าเนินกิจการบริษัทไม่จ ากัดระยะเวลาตามอายุของผู้ถือหุ้นดังนั้นระยะเวลาในการด าเนิน

กิจการจึงยาวกว่าการด าเนินกิจการประเภทอื่น
3. ผู้ถือหุ้นรับผิดชอบเฉพาะมูลค่าหุ้นส่วนที่ยังช าระค่าหุ้นไม่ครบเท่านั้นโดยไม่ต้องรับผิดชอบต่อ

หนี้สินใด ๆ ของบริษัท

4. การบริหารงานสามารถหาผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและมีประสบการณ์จัดการแทนได้ เพื่อให้มี
ประสิทธิภาพในการบริหารงาน


5. ผู้ถือหุ้นของบริษัทสามารถโอนหรือขายหุ้นให้ผู้ใดก็ได้โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบจากบริษัทกอน
ข้อจ ากัดของบริษัทจ ากัด

1. การจัดตั้งบริษัทมีขั้นตอนตามกฎหมายที่ยุ่งยาก


2. กิจการบริษัทเนื่องจากต้องเปิดเผยข้อมูลให้ผู้ถือหุ้นและบุคคลภายนอกทราบจึงไมอาจรักษา
ความลับได้

3. เนื่องจากในการด าเนินการของบริษัทจ ากัด มีผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทและพนักงาน ดังนั้น
ในการปฏิบัติงานอาจจะมีบางส่วนที่ขาดความตั้งใจในการท างานเพราะไม่ได้เป็นเจ้าของกจการเอง

4. การเสียภาษีของกิจการประเภทบริษัทจะเสียภาษีค่อนข้างสูงและซ้ าซ้อนคือบริษัทจดทะเบียน

เป็นนิติบุคคลแยกต่างหากจากเจ้าของกิจการดังนั้น จะต้องเสียภาษีนิติบุคคลเมื่อบริษัทจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือ
หุ้น จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น ในฐานะผู้ถือหุ้นเป็นบุคคลธรรมดาต้องเสียภาษีบุคคลธรรมดาอีกด้วย

การจดทะเบียนธุรกิจ
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมทางธุรกิจ ตลอดจนเงื่อนไขระเบียบข้อกฎหมาย ได้พัฒนา

และเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ผู้ประกอบการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนได้

ื่
ตระหนักถงปัญหา จึงได้ด าเนินการจัดตั้งศูนย์ให้ค าปรึกษาทางธุรกิจ เพอให้ผู้สนใจสามารถรับการปรึกษาด้วย
วิธีการต่างๆ เช่น การสอบถามทางโทรสัพท์ การปรึกษาด้วยตนเอง หรือการสืบค้นข้อมูลด้วยตนเองทาง

อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เป็นหน่วยงานภาครัฐที่ให้ค าปรึกษาธุรกิจแบบ One stop service เพื่อให้

ผู้ประกอบการและประชาชนผู้สนใจสามารถรับค าปรึกษาในด้านต่างๆ เช่น การจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจของ
กิจการห้างหุ้นส่วนจ ากัด บริษัท จ ากัด การให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับการจัดท าบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี

มาตรฐานการบัญชี การส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ การประกอบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การก ากับดูแลธุรกิจ

รวมทั้งการเป็นแหล่งข้อมูล สถิติ เอื้ออ านวยความสะดวกในการด าเนินงานทางธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ
เพื่อให้การประกอบธุรกิจ เป็นสิ่งที่ถูกต้องตามกฎหมาย

ผู้ประกอบธุรกิจต้องจัดเตรียมข้อมูลและเอกสารในการยื่นค าขอจดทะเบียนกับกรมพฒนาธุรกิจการค้า

กระทนวงพาณิชย์ ภายในระยะเวลาที่ก าหนด นอกจากนี้ยังมรกรมสรรพากร ซึ่งเป็นหน่วยงานรัฐที่ให้บริการ
แก่การประกอบธุรกิจ ในการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม การจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะและจัดเก็บภาษีเงิน

ได้จากการประกอบธุรกิจ เป็นต้น

Soy’l

6

1. การจดทะเบียนพาณิชย์

ตามพระราชบัญญัติทะเบียนภาณิชย์ พ.ศ. 2499 ผู้ที่มีหน้าที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ คือ บุคคลธรรมดา
ี่
คนเดียวหรือหลายคน (ห้างหุ้นส่วน) หรือนิติบุคคล รวมทั้งนิติบุคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศทมาตั้ง
ส านักงานสาขาในประเทศไทย ตามที่กระทรวงพาณิชย์ก าหนด

1.1 กิจการที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย ์
ผู้ประกอบการที่ต้องทะเบียนพาณิชย์ ได้แก ่

1.1.1 โรงสีข้าว และโรงเลื่อยที่ใช้เครื่องจักร
ื่
1.1.2 การขายสินค้าอย่างเดียวหรือหลายอย่าง วันหนึ่งตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป หรือมีสินค้าไว้เพอขาย
มีค่ารวมทั้งสิ้นตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป

1.1.3 นายหน้า หรือ ตัวแทนค้าต่าง
1.1.4 กิจการหัตถกรรม หรือ อุตสาหกรรม

1.1.5 การขนส่ง การขายทอดตลาด การรับซื้อขายที่ดิน ให้กู้ยืมเงินรับแลกเปลี่ยน หรือ ซื้อขาย
เงินตราต่างประเทศ ตั๋วเงิน การธนาคาร โพยก๊วน โรงรับจ าน า และการท าโรงแรม

1.1.6 ขาย ให้เช่า ผลิต หรือ รับจ้างผลิต แผ่นซีดี แถบบันทึก วีดิทัศน์ ดีวีดี เฉพาะที่เกี่ยวกับการ

บันเทิง

1.1.7 ขายอญมณี หรือ เครื่องประดับ ซึ่งประกอบด้วยอัญมณี
1.1.8 ซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บริการอินเตอร์เน็ต ให้เช่าพื้นที่ของ

เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ขาย บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อ ขายสินค้า หรือบริการโดยวิธีการใช้สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

1.1.9 การให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้อินเตอร์เน็ต
1.1.10 การให้บริการฟังเพลง และร้องเพลงโดยคาราโอเกะ

1.1.11 การให้บริการเครื่องเล่นเกม

1.1.12 การให้บริการตู้เพลง
1.1.13 โรงงานแปรสภาพ แกะสลักและการหัตถกรรมจากงาช้าง

1.2 เอกสารประกอบค าขอจดทะเบียนพาณิชย์
การจดทะเบียนพาณิชย์ตั้งใหม่ภายใน 30 วัน เริ่มต้งแต่ประกอบกิจการ

1.2.1 ค าขอจดทะเบียน แบบ ทพ.

1.2.2 หลักฐานประกอบค าขอ
1) ส าเนาบัตรประจ าตัวของผู้ประกอบพาณิชย์กิจ

2) หนังสือมอบอ านาจ

3) กรณีเป็นนิติบุคคลต่างประเทศให้ส่งเอกสารเพิ่มเติมดังนี้
(1) ส าเนาเอกสารแสดงการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล

(2) หนังสือแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด าเนินกิจการในประเทศ

Soy’l

7


(3) กรณีเป็นบุคคลต่างด้าว ต้องมใบอนุญาตท างานของผู้รับผิดชอบรับรองเจ้าหน้าที่

กงสุล หรือสถานทูตด าเนินกิจการในประเทศ และมีคารับรองของผู้มีอ านาจรับรองเอกสารของประเทศนั้นๆ
(4) กรณีประกอบการพาณิชย์กิจ ขายหรือให้เช่าแผ่นซีดี แถบบันทึก วีดิทัศน์ ดีวีดี หรือ

ิ่
แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิตอล เฉพาะที่เกี่ยวกับบันเทิงแจ้งเพมเติมดังนี้
ก. แผนที่แสดงสถานที่ซึ่งใช้ประกอบพาณิชย์เป็นปกติ
ข. ส าเนาหนังสืออนุญาติหรือรับรองให้เป็นผู้จ าหน่ายหรือให้เช่าจากเจ้าของลิขสิทธิ์

หรือส าเนาใบเสร็จรับเงินตามประมวลรัษฎากรหรือหลักฐานการซื้อขายจากต่างประเทศ
ิ่
(5) กรณีประกอบพาณิชย์กิจการค้า อัญมณี ให้ส่งเอกสารเพมเติมดังนี้
ก. ตรวจสอบ และเรียกหลักฐานแสดงจ านวนเงินทุนของผู้ประกอบพาณิชย์กิจ

ยกเว้นนิติบุคคล
ข. หลักฐานการประกอบอาชีพหุ้นส่วนประเภทไม่จ ากัดความรับผิดชอบหรือ

กรรมการผู้มีอ านาจของห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทแล้วแต่กรณี
(6) กรณีประกอบพาณิชย์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ส่งเอกสารเพิ่มเติม

ก. ผู้ประกอบพาณิชย์กิจเป็นนิติบุคคลให้แนบส าเนาบัตรประจ าตัวของหุ้นส่วน

ผู้จัดการหรือกรรมการหรือผู้มีอ านาจของห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท แล้วแต่กรณี
ข. รายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ (1 เว็บไซต์ ต่อ 1 แผ่น)

1.3 ค่าธรรมเนียมการจดเบียน

การขอจดทะเบียนพาณิชย์ต้องช าระค่าธรรมเนียมตามประเภทการด าเนินตามประเภทการ
ด าเนินการดังนี้

1.3.1 จดทะเบียนพาณิชย์ตั้งใหม่ 50 บาท
1.3.2 จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายการจดทะเบียนครั้งละ

20 บาท

1.3.3 ขอตรวจเอกสารของผู้ประกอบพาณิชย์ครั้งละ 20 บาท
1.3.4 รับรองส าเนาเอกสารฉบับละ 30 บาท

1.4 สถานที่จดทะเบียน
สถานที่จดทะเบียนพาณิชย์ มีดังนี้

1.4.1 ผู้ประกอบการที่มีส านักงานตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ยื่นค าขอจดทะเบียนที่ส านักงาน

เขต
1.4.2 ผู้ประกอบพาณิชย์กิจ ที่มีส านักงานตั้งอยู่ในต่างจังหวัด ยื่นค าขอจดทะเบียนได้ที่องค์การ

บริหารส่วนจังหวัดหรือเมืองพทยาแล้วแต่กรณี เว้นแต่พาณิชย์กิจที่รัฐมนตรีก าหนดเป็นการเฉพาะให้ยื่นค าขอ

จดทะเบียนได้ที่ ส านักงานทะเบียนการค้าจังหวัด ที่ส านักงานตั้งอยู่

Soy’l

8

2. การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล / ห้างหุ้นส่วนจ ากัด

2.1 ขั้นตอนการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน
2.1.1 ตรวจสอบและยื่นแบบจองชื่อห้างหุ้นส่วนเพื่อมิให้ซ้ ากับนิติบุคคลอื่น

2.1.2 กรอกค าขอจดทะเบียน ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับ

1) ชื่อห้างหุ้นส่วน
2) วัตถุประสงค์ของห้างหุ้นส่วน

3) ที่ตั้งส านักงานใหญ่และสาขา
4) ชื่อ ที่อยู่ สัญชาติ อาชีพ สิ่งที่น ามาลงทุนของผู้ที่เป็นหุ้นส่วนทุกคน

5) ชื่อ หุ้นส่วนผู้จัดการ และข้อจ ากัดอ านาจหุ้นส่วนผู้จัดการ

6) ดวงตรา การประทับตราของห้างฯ ในแบบพิมพ์ค าขอจดทะเบียน
7) หุ้นส่วนผู้จัดการลงลายมือค าขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทหรือสมาชิก

เนติบัณฑิตยสภา
2.1.3 อัตราค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน

1) ผู้เป็นหุ้นส่วนไม่เกิน 3 คน ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท


2) กรณีเกน 3 คน ส่วนที่เกินเพิ่มอกคนละ 200 บาท

2.1.4 รับหนังสือรับรองการจดทะเบียน ใบส าคัญจดทะเบียนเป็นหลักฐาน
2.2 เอกสารหลักฐานประกอบการขอจดทะเบียน

แบบพิมพ์ค าขอจดทะเบียนประกอบด้วย
2.2.1 ค าขอจดทะเบียน

1) แบบ ห.ส. 1 (ค าขอจดทะเบียนและหนังสือรับรอง)
2) แบบ ห.ส. 2 (รายการจดทะเบียนการจัดตั้ง)

(1) ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ใช้เฉพาะ 1 และ 3

(2) ห้างหุ้นส่วนจ ากัดใช้ทั้ง 3 หน้า
(3) แบบ ว. (รายละเอียดวัตถุประสงค์)

2.2.2 เอกสารประกอบค าขอจดทะเบียน
1) แบบจองชื่อนิติบุคคล

2) ส าเนาบัตรประจ าตัวของผู้จัดการที่ลงชื่อในค าขอจดทะเบียน

3) ส าเนาบัตรทนายความหรือหลักฐานการเป็นสมาชิกเนติบัณฑิยสภาของผู้รับรองลายมือ

ชื่อ (ถ้าม)
4) แบบ สสช.1 จ านวน 2 ฉบับ (ภูมิภาคใช้ 3 ฉบับ)

5) หนังสือมอบอ านาจ (ถ้ามี)

Soy’l

9

2.3 การลงลายมอชื่อของผู้เป็นหุ้นส่วนและหุ้นส่วนผู้จัดการ

ผู้เป็นหุ้นส่วนและหุ้นส่วนผู้จัดการปฏิบัติดังนี้
2.3.1 ลงลายมือชื่อในค าขอและเอกสารประกอบค าขอด้วยตนเอง

2.3.2 ลงลายมือชื่อต่อนายทะเบียนพร้อมแสดงต้นฉบับบัตรประจ าตัว

2.3.3 กรณีไม่สามารถลงลายมือชื่อต่อนายทะเบียนให้ลงลายมือชื่อต่อหน้าสมาชิกบัณฑิตยสภา
หรือทนายความก็ได้

2.4 สถานที่จดทะเบียน
เมื่อจองชื่อห้างหุ้นส่วนต้องจดทะเบียนภายใน 30 วัน ณ สถานที่ดังนี้

2.4.1 ส านักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ปละปริมณฑลจดทะเบียน ณ ส านักบริการจด

ทะเบียนธุรกิจ 1-7 และส่วนจดทะเบียนกลางกรมพัฒนาธุรกิจ ถนนนนทบุรี 1 จังหวัดนนทบุรี หรือทาง
อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ www.dbd.go.th

2.4.2 ส านักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตภูมิภาค จดทะเบียน ณ ส านักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัด
นั้นๆ หรือทางอินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ www.dbd.go.th

3.การจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท

ล าดับขั้นตอนการด าเนินการจัดตั้งบริษัท จ ากัดมีดังนี้
3.1 ขั้นตอนการจดทะเบียน บริษัท จ ากัด

3.1.1 ขอตรวจและจองชื่อบริษัท เพื่อมิให้ซ้ าคล้ายนิติบุคคลอื่น

3.1.2 ขอจดเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ ภายใน 30 วัน
3.1.3 ผู้เริ่มก่อการต้องจัดให้หุ้นของบริษัทมีผู้เข้าชื่อจองซอหุ้นจนครบ
ื้
3.1.4 ส่งหนังสือนัดประชุมให้ผู้จองหุ้นทราบล่วงหน้าก่อนประชุม 7 วัน
3.1.5 ประชุมจัดตั้งบริษัท แต่งตั้งกรรมการบริษัท ผู้เริ่มก่อการมอบหมายกิจการให้กรรมการบริษัท

รับไปด าเนินการต่อไป

3.1.6 กรรมการบริษัทให้ผู้จองหุ้นช าระค่าหุ้นอย่างน้อยร้อย
ละ 25 ของมูลค่าหุ้น

3.1.7 เมื่อได้รับค่าหุ้นแล้ว กรรมการจัดท าค าขอจดทะเบียนตั้งบริษัทและน าเอกสารประกอบค าขอ
ไปจดทะเบียนเป็นบริษัทภายใน 3 เดือนหลังประชุมจัดตั้งบริษัท

3.2 เอกสารหลักฐานประกอบการจดทะเบียน บริษัท จ ากัด

การจดทะเบียนบริษัท จ ากัดมี 2 ขั้นตอนดังนี้
3.2.1 การจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ เอกสารประกอบด้วย

1) แบบค าขอ

(1) แบบ บอจ. 1 (ค าขอจดทะเบียนบริษัท จ ากัด)
(2) แบบ บอจ. 2 (หนังสือบริคณห์สนธิ)

(3) แบบ ว. (รายละเอียดวัตถุประสงค์)

Soy’l

10

2) เอกสารประกอบค าขอ

(1) แบบจองชื่อนิติบุคคล
(2) ส าเนาบัตรประจ าตัวผู้เริ่มก่อการที่ลงชื่อในค าขอจดทะเบียน

(3) ส าเนาบัตรทนายความ หรือหลักฐานการเป็นสมาชิกเนติบัณฑิตยสภาของผู้รับรองลายมือชื่อ


(4) หนังสือมอบอ านาจ (ถ้าม)
3.2.2 การจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท จ ากัด เอกสารประกอบด้วย

1) แบบค าขอ
(1) แบบ บอจ. 1 (ค าขอจดทะเบียนบริษัท จ ากัด)

(2) แบบ บอจ. 3 (รายการจดทะเบียนจัดตั้ง)

(3) แบบ ก. (กรรมการเข้าใหม่)
2) เอกสารประกอบค าขอ

(1) แบบ บอจ.5 (ส าเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น)
(2) ส าเนาหนังสือนัดประชุม

(3) ส าเนารายงานการประชุมจัดตั้งบริษัท

(4) ส าเนาข้อบังคับ (ถ้าม)


(5) หลักฐานการช าระค่าหุ้นของบริษัทอย่างใดอย่างอย่างหนึ่ง
ก. เอกสารที่ธนาคารออกเพื่อรับรองหรือแสดงฐานะการเงิน

ข. ใบส าคัญแสดงการช าระหุ้น
ค. หนังสือยืนยันการช าระค่าหุ้นและเก็บรักษาค่าหุ้น

(6) หนังสือบริคณห์สนธิฉบับตีพิมพ์จ านวน 2 ฉบับ (ภูมิภาค 3 ฉบับ)

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ภาษีมูลค่าเพม หมายถึง ภาษีที่จัดเก็บจากมูลค่าสินค้าหรือบริการ ในส่วนที่เพมขึ้นในแต่ละขั้นตอน
ิ่
ิ่
ของการผลิต การจ าหน่ายสินค้าหรือบริการ การค านวณภาษีที่ต้องช าระต้องค านวณจากภาษีขายหักภาษีซื้อ
โดยผู้ประกอบกิจการเป็นผู้มีหน้าที่เก็บจากลูกค้า และน าส่งภาษีมูลค่าเพิ่มไปช าระแก่กรมสรรพากร
ให้ผู้ประกอบการยื่นค าขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพมได้ภายในก าหนด 6 เดือน ก่อนวันเริ่มประกอบ
ิ่
กิจการขายสินค้า หรือผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการในธุรกิจ ห้ากมีรายรับจากการขายสินค้าหรือ

บริการเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องจ าทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังนี้
ิ่
1. จัดท าแบบค าขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพม ได้แก่ แบบ ภ.พ.01 ส าหรับกิจการในเขต
กรุงเทพมหานครขอรับได้ที่ส านักงานสรรพกรพนที่สาขา (เขต/อาเภอ) หรือส านักงานสรรพากร
ื้

พื้นที่ ส าหรับในจังหวัดอื่นขอรับได้ที่ส านักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อ าเภอ)
2. เอกสารที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

2.1 ค าขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามแบบ ภ.พ.01 จ านวน 3 ฉบับ

Soy’l

11

2.2 ส าเนาทะเบียนบ้านหรือหลักฐานแสดงการอยู่อาศัยจริง

2.3 บัตรประจ าตัวประชาชนและบัตรประจ าตัวผู้เสียภาษีอากร
2.4 สัญญาเช่าอาคารอนเป็นที่ตั้งของสถานประกอบการหรือหนังสือยินยอมให้ใช้สถาน

ประกอบการและหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ เช่น สัญญาซื้อขาย ค าขอหมายเลขบ้าน ใบโอน

กรรมสิทธิ์และสัญญาเช่าช่วง พร้อมส าเนาทะเบียนบ้านอันเป็นที่ตั้งสถานประกอบการ
2.5 หนังสือจัดตั้งห้างหุ้นส่วน กรณีเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญหรือนิติบุคคล

2.6 รับรองของนายทะเบียนห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท พร้อมวัตถุประสงค์หนังสือบริคณห์สนธิ
ข้อบังคับและใบทะเบียนพาณิชย์ (กรณีเป็นนิติบุคคล)

2.7 บัตรประจ าตัวประชาชนองกรรฒการผู้จัดการ หรือหุ้นส่วนผู้จัดการและส าเนาทะเบียนบ้าน

2.8 แผนที่ซึ่งแสดงที่ตั้งของสถานประกอบการโดยสังเขป จ านวน 2 ชุด
2.9 กรณีที่มอบอ านาจให้ผู้อื่นกระท าการแทน ต้องจัดท าหนังสือมอบอ านาจติดอากรแสตมป์ 10

บาท บัตรประจ าตัวประชาชนของผู้มอบอานาจและผู้รับมอบอานาจโดยผู้มอบอานาจต้องมี
อายุ 20 ปีขึ้นไป
3. สถานที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพมของผู้ประกอบการ ให้ยื่นค าขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพมตาม
ิ่
ิ่
แบบ ภ.พ.01 ณ สถานที่ดังต่อไปนี้
ื้
3.1 กรณีสถานประกอบการที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครให้ยื่น ณ ส านักงานสรรพากรพนที่
หรือส านักงานสรรพากรพื้นที่สาขา ในเขตท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่

3.2 กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่นอกเขตพนที่ของกรุงเทพมหานครให้ยื่น ณ ส านักงาน
ื้

ื้
สรรพากรพนที่สาขา (อาเภอ) ในเจตท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ และกรณีสถาน
ประกอบการตั้งในท้องที่อ าเภอ หรือกิ่งอ าเภอตั้งใหม่ที่กรมสรรพากรมิได้จัดอัตราก าลังไว้ ให้
ยื่น ณ ส านักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อ าเภอ)

ื้
3.3 สถานประกอบการที่อยู่ในพนที่ดูปลของส านักบริหารธุรกิจขนาดใหญ่ ให้ยื่น ณ ส านัก
บริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่หรือจะยื่นผ่านส านักงานสรรพากรพนที่ หรือส านักงาน
ื้
สรรพากรพื้นที่สาขาที่สถานประกอบการตั้งอยู่

ภาษีธุรกิจเฉพาะ

ภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นภาษีประเภทหนึ่งที่จัดเก็ยจากการประกอบกิจการเฉพาะอย่างแทนภาษีการค้า

ิ่
ที่ถูกยกเลิก ภาษีธึรกิจเฉพาะเริ่มใช้บังคับในปี พ.ศ. 2535 พร้อมกันกับภาษีมูลค่าเพม กิจการที่จะต้องเสียภาษี
ื่
ธุรกิจเฉพาะเป็นกิจการที่ด าเนินธุรกิจเฉพาะด้านซึ่งแตกต่างไปจากธุรกิจประเภทอน เช่น ธุรกิจธนาคาร ธุรกิจ
อสังหาริมทรัพย์ การรับประกันชีวิต การรับจ าน า ในการเสียภาษีธุรกิจเฉพาะจะค านวณภาษีโดยคิดจากรายรับ

ก่อนหักรายจ่าย
1. รายรับ (Revenue) หมายถึงเงิน ทรัพย์สิน ค่าตอแทน หรือประโยชน์ใดๆ อนมีมูลค่าที่ได้รับ

หรือพึงได้รับไม่ว่าในหรือนอกราชอาณาจักร อันเนื่องมาจากการประกอบกิจการ

Soy’l

12

2. มูลค่า (Value) หมายถึง ราคาตลาดของทรัพย์สินของกิจการราคาตลาดของค่าตอบแทนหรือ

ประโยชน์ใดๆ
3. ฐานภาษีและอตราภาษี กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะต้องเสียภาษีโดยค านวณจากฐานภาษี

ได้แก่ รายรับคูณด้วยอตราภาษี และจ าต้องเสียภาษีท้องถิ่นอกร้อยละ 10 ของจ านวนธุรกิจ


เฉพาะดังนี้
ประเภทกิจการ รายรับ อัตราภาษี

1.กิจการธนาคาร ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม ส่วนลด 3.0

หลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ และการ ค่าบริการหรือก าไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ
ประกอบกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ จากการซื้อหรือขายตั๋วเงินหรือตราสาร

แสดงสิทธิ์ในหนี้ใดๆ
2.กิจการประกันภัย กรณีรับประกันชีวิต ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการ 2.5

3.กิจการโรงรับจ าน า ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม เงิน ทรัพย์สิน 2.5


ค่าตอบแทน หรือประโยชน์ใดๆ อนมีมูล

ค่าที่ได้รับหรือพงได้รับจากการขายของ
ที่หลุดจ าน า

4.การค้าอสังหาริมทรัพย์ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ 3.0
5.กิจการขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ 0.1 ปัจจุบัน

ได้รับยกเว้น

จาดตารางดังกล่าว นอกจากกิจการจะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะที่ค านวณจากการน ารายรับก่อนหัก

รายจ่ายคูณด้วยอัตราภาษีแล้ว เมื่อได้จ านวนภาษีธุรกิจเฉพาะที่ต้องเสียแล้วจะต้องน ามาคูณอัตราภาษีท้องถิ่น
อีกร้อยละ 10 ดังนี้

มูลค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ = รายได้ x อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ

ภาษีบ ารุงท้องที่ = มูลค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ x อัตราภาษีท้องถิ่น (ร้อยละ 10)
จ านวนภาษีที่ต้องเสียทั้งสิ้น = มูลค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ + ภาษีบ ารุงท้องที่

ผู้ประกอบกิจการที่มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ จะต้องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะโดยให้ยื่นค าขอ

จดทะเบียนตามแบบ ภ.ธ.01 ภายในก าหนดเวลา 30 วัน นับแต่วันเริ่มประกอบกิจการ

Soy’l

13

แบบฝึกหัด หรือ ใบงาน

ใบงานที่ 1 จงตอบค าถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. รูปแบบของธุรกิจมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

2. ข้อเสียของกิจการเจ้าของคนเดียวคือ

3. ลักษณะส าคัญของห้างหุ้นส่วนประเภทจ ากัดความรับผิดชอบคือ

4. ข้อแตกต่างความรับผิดชอบในหนี้สินของกิจการแต่ละประเภทคอ
5. ผลตอบแทนที่หุ้นส่วนจะได้รับจากการลงทุนคือ
6. ห้างหึ้นส่วนสามัญมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

7. โครงสร้างของบริษัทเอกชนจ ากัดคือ

8. ผลตอบแทนของบริษัทเอกชนจ ากัด คือ
9. การบริหารงานของบริษัทเอกชนจ ากัดและกิจการเจ้าของคนเดียว มีข้อแตกต่างกันอย่างไร

10. รูปแบบของธุรกิจประเภทที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน คือ

ใบงานที่ 2 จงตอบค าถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

1. ผู้ที่มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์คือใคร
2. การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนเกิดจากการตกลงของบุคคลกี่คนและมีวัตถุประสงค์เพออะไร
ื่
3. ฐานภาษีธุรกิจเฉพาะ คือ

4. กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก ่
5. ความหมายของภาษีมูลค่าเพิ่ม คือ

6. รายรับ ตามความหมายของภาษีธุรกิจเฉพาะ คือ
7. ขั้นตอนการจัดตั้งบริษัทมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง

8. เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทจ ากัด ได้แก ่

9. ขั้นตอนการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
10. ภาษีมูลค่าเพิ่มที่น าส่งสรรพกรเกิดจากอะไร

Soy’l

14

บทสรุป

รูปแบบของธุรกิจแบ่งได้ 2 ลักษณะคือ การแบ่งตามลักษณะการประกอบการ ซึ่งได้แก่ กิจการบริการ

กิจการซื้อ – ขายสินค้าและกิจการอตสาหกรรม และการแบ่งตามลักษณะการจัดตั้งตามกฎหมาย ซึ่งได้แก่
กิจการเจ้าของคนเดียว กิจการห้างหุ้นส่วน และกิจการบริษัทจ ากัด การบันทึกบัญชีของแต่ละกิจการในส่วน

ของสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย เป็นไปตามหลักเกณฑ์เดียวยกเว้นส่วนของเจ้าของที่แสดงในงบดุล
จะแสดงแตกต่างกันไปตามรูปแบบของการจัดตั้งธุรกิจ กิจการแต่ละประเภทมีทั้งข้อดี และข้อเสีย การจะเลือก

ประกอบกิจการประเภทใด ผู้ประกอบการจะต้องเลือกรูปแบบของกิจการให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ
เงินทุน และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกิจการ

ื่
เพอให้การประกอบธุรกิจเป็นสิ่งถูกต้องตามกฎหมาย ผู้ประกอบการจะต้องด าเนินการขอจัดตั้งโดย

การจดทะเบียนธุรกิจกับจดทะเบียนภาษีกับหน่วยงานของรัฐบาล คือ กรมพฒนาธุรกิจการค้าและ

กรมสรรพากรเมื่อได้ด าเนินการจดทะเบียนธุรกิจกับกรมพฒนาธุรกิจการค้าและจดทะเบียนภาษีกับ
กรมสรรพากรแล้ว ผู้ประกอบการต้องบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินทุนที่ผู้ลงทุนน ามาลงในกิจการ โดยแยกตาม
ลักษณะของการจัดตั้งกิจการ ซึ่งได้แก่ กิจการเจ้าของคนเดียว กิจการห้างหุ้นส่วน และกิจการบริษัท จ ากัด

เมื่อได้บันทึกเงินลงทุนแล้ว ผู้ประกอบการจะต้องด าเนินการโดยจัดให้มีผู้ท าบัญชีที่มีคุณสมบัติตามที่อธิบดีกรม

พัฒนาธุรกิจการค้าก าหนด รวมทั้งควบคุมดูแลผู้ท าบัญชีให้จัดท าบัญชีให้ถูกต้องและตรงตามความเป็นจริงตาม
หลักเกณฑ์ที่ก าหนดโดยถือวันเริ่มประกอบการเป็นวันเริ่มท าบัญชี

ภาษีมูลค่าเพม หมายถึง ภาษีที่จัดเก็บจากมูลค่าสินค้าหรือบริการ ในส่วนที่เพมขึ้นในแต่ละขั้นตอน
ิ่
ิ่
ของการผลิต การจ าหน่ายสินค้าหรือบริการ การค านวณภาษีที่ต้องช าระต้องค านวณจากภาษีขายหักภาษีซื้อ

โดยผู้ประกอบกิจการเป็นผู้มีหน้าที่เก็บจากลูกค้า และน าส่งภาษีมูลค่าเพิ่มไปช าระแก่กรมสรรพากร
ิ่
ให้ผู้ประกอบการยื่นค าขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพมได้ภายในก าหนด 6 เดือน ก่อนวันเริ่มประกอบ
กิจการขายสินค้า หรือผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการในธุรกิจ ห้ากมีรายรับจากการขายสินค้าหรือ

บริการเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี

ภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นภาษีประเภทหนึ่งที่จัดเก็ยจากการประกอบกิจการเฉพาะอย่างแทนภาษีการค้า
ที่ถูกยกเลิก ภาษีธึรกิจเฉพาะเริ่มใช้บังคับในปี พ.ศ. 2535 พร้อมกันกับภาษีมูลค่าเพม กิจการที่จะต้องเสียภาษี
ิ่
ื่
ธุรกิจเฉพาะเป็นกิจการที่ด าเนินธุรกิจเฉพาะด้านซึ่งแตกต่างไปจากธุรกิจประเภทอน เช่น ธุรกิจธนาคาร ธุรกิจ
อสังหาริมทรัพย์ การรับประกันชีวิต การรับจ าน า ในการเสียภาษีธุรกิจเฉพาะจะค านวณภาษีโดยคิดจากรายรับ
ก่อนหักรายจ่าย

1. รายรับ (Revenue) หมายถึงเงิน ทรัพย์สิน ค่าตอแทน หรือประโยชน์ใดๆ อนมีมูลค่าที่ได้รับ

หรือพึงได้รับไม่ว่าในหรือนอกราชอาณาจักร อันเนื่องมาจากการประกอบกิจการ

2. มูลค่า (Value) หมายถึง ราคาตลาดของทรัพย์สินของกิจการราคาตลาดของค่าตอบแทนหรือ

ประโยชน์ใดๆ

Soy’l

15


3. ฐานภาษีและอตราภาษี กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะต้องเสียภาษีโดยค านวณจากฐานภาษี


ได้แก่ รายรับคูณด้วยอตราภาษี และจ าต้องเสียภาษีท้องถิ่นอกร้อยละ 10 ของจ านวนธุรกิจ
เฉพาะ

Soy’l

16

บทที่ 2 วรจรการปฏิบัติงานบัญช (Accounting Cycle)

สาระส าคัญ

วงจรการปฏิบัติงานบัญชี หมายถึงล าดับขั้นตอนการท าบัญชีที่ธุรกิจตองจัดท าเหมือนๆ กันในทุกๆ

รอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งอาจก าหนดเปนงวดๆ เชน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ป ตามความตองการของผูใชขอมูล
ล าดับขั้นตอนวงจรการปฏิบัติงานบัญชี

1. การวิเคราะหรายการคา (Business Transaction Analysis)
2. การบันทึกรายการในสมุดรายวันขั้นตน (Book of Original Entry)

3. การผานรายการไปสมุดแยกประเภททั่วไป (Book of Final Entry)

4. การจัดท างบทดลอง (Trial Balance)
5. การจัดท ากระดาษท าการ (Working Paper)

6. การปรับปรุงรายการ (Adjusting Entry)
7. การจัดท างบการเงิน (Financial Statement)

8. การปดบัญชี (Closing Entry)

9. การจัดท างบทดลองหลังปดบัญชี (Trial Balance After Closing)

เนื้อหา

วรจรการปฏิบัติงานบัญชี หมายถึง ล าดับขั้นตอนการจัดท าบัญชีเริ่มจากการบันทึกเอกสารรายการค้า
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของกิจการลงสมุดบัญชีและสรุปผลรายงานทางการเงินของแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งในแต่

ละงวดบัญชี นักบัญชีต้องท างานแต่ละขั้นตอนซ้ ากันทุกรอบระยะเวลาบัญชี เพอวัตถุประสงค์ให้ได้ผลการ
ื่
ด าเนินงานและสถานะทางการเงินเพอใช้ในการวางแผนและการตัดสินใจของธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและ
ื่
ประสิทธิผล

ล าดับขั้นตอนการปฏิบัติงานบัญชีตามวงจรบัญชีมีดังนี้
1. การวิเคราะห์รายการค้า (Business Transaction Analysis)

2. การบันทึกรายการในสมุดบัญชีขั้นต้น(Book of Original Entry)
3. การผ่านรายการจากสมุดบัญชีขั้นต้น ไปยังสมุดบัญชีขั้นปลาย (Ledger)

4. การปรับปรุงรายการ (Adjusting Entry)

5. การจัดท างบการเงิน (Preparing Financial Statement)
6. การปิดบัญชี (Closing Entry)

1.การวิเคราะห์รายการค้า (Business Transaction Analysis)

เป็นจุดเริ่มต้นของวงจรบัญชี ซึ่งเป็นขั้นตอนแรกและเป็นขั้นตอนที่ส าคัญมากของวงจรบัญชี เพราะหาก
วิเคราะห์รายการค้า ผิดก็จะท าให้ขั้นตอนต่อ ๆ ไปผิดไปด้วย เช่น การบันทึกบัญชีในสมุดรายวัน การผ่านบัญชี

ไปสมุดบัญชีแยกประเภท ตลอดจนถึงการ จัดท างบการเงินก็ผิดไปด้วย

Soy’l

17

1.1 วิเคราะห์รายการค้าที่เกิดขึ้นว่าท าให้สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของกิจการเปลี่ยนแปลงโดย

การเพิ่มขึ้นหรือลดลง อย่างไรบ้าง
1.2 รายการค้าที่เกิดขึ้นเมื่อวิเคราะห์แล้ว การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของนั้น

จะต้องท าให้สมการบัญชีเป็นจริงเสมอ กล่าวคือ เมื่อวิเคราะห์รายการค้าแล้ว สินทรัพย์ที่เปลี่ยนแปลง จะต้อง

เท่ากับ หนี้สินที่เปลี่ยนแปลงบวกด้วยส่วนของเจ้าของที่เปลี่ยนแปลงเสมอ
หลักในการวิเคราะห์รายการค้า 5 ประการ คือ

1. สินทรัพย์เพิ่ม (+) ส่วนของเจ้าของเพิ่ม (+)

2.สินทรัพย์ลด (-) ส่วนของเจ้าของลด (-)
3. สินทรัพย์อย่างหนึ่งเพิ่ม (+) สินทรัพย์อีกอย่างหนึ่งลด (-)

4. สินทรัพย์เพิ่ม (+) หนี้สินเพิ่ม (+)

5. สินทรัพย์ลด (-) หนี้สินลด (-)

2. การบันทึกรายการในสมุดบัญชีขั้นต้น (Book of Original Entry)

สมุดบันทึกขั้นต้นที่ใช้ในการบันทึกรายการดังที่เกิดขึ้นเรียงตามล าดับก่อน – หลัง ตามหลักการบัญชี
คู่ เมื่อเราวิเคราะห์รายการค้าได้แล้วว่ารายการค้าที่เกิดขึ้นนั้นท าให้สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ

เปลี่ยนแปลงอย่างไรแล้ว หลังจากนั้นจึงน าผลการวิเคราะห์รายการค้ามาบันทึกลงในสมุดบัญชีขั้นต้น (สมุด

รายวัน)
สมุดรายวันขั้นต้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

2.1 สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)

เป็นสมุดบันทึกรายการค้าชนิดเดียวกันที่เกิดขึ้นซ้ าๆ กัน จ านวนมากไว้ในเล่มเดียวกัน เช่น รายการซื้อ
สินค้า หรือ ขายสินค้าซึ่งจะท าให้สะดวกและประหยัดเวลาในการผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท ประเภท

ของสมุดรายวันเฉพาะที่ธุรกิจนิยมจัดท า ได้แก ่
- สมุดรายวันซื้อ (Purchases Journal) ใช้บันทึกรายการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ

- สมุดรายวันขาย (Sales Journal) ใช้บันทึกรายการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ

- สมุดเงินสดรับ (Cash Receipts Journal) ใช้บันทึกรายการรับเงินสด และการน าเงินฝากธนาคาร
- สมุดเงินสดจ่าย (Cash Disbursements Journal) ใช้บันทึกรายการจ่ายเงินสด และถอนเงินสดจาก

ธนาคาร
2.2 สมุดรายวันทั่วไป (General Journal)

เป็นสมุดบันทึกรายการค้าที่ไม่สามารถบันทึกในสมุดรายวันเฉพาะเล่มใดๆ ได้ รายการดังกล่าวได้แก ่

- รายการเปิดบัญชีและรายการปิดบัญชี
- รายการปรับปรุงและรายการแก้ไขข้อบกพร่อง

- รายการโอนและรายการจัดสรรต่างๆ

- รายการค้าที่ไม่เกิดบ่อย

Soy’l

18

ื่
รายการค้าที่บันทึกในสมุดรายวันทั่วไปจะต้องมีคาอธิบายรายการบัญชีเพอให้เกิดความชัดเจนด้วย

3. การผ่านรายการจากสมุดบัญชีขั้นต้น ไปยังสมุดบัญชีขั้นปลาย (Ledger)

เป็นการน ารายการค้าที่บันทึกไว้ในสมุดรายวันไปจ าแนกแยกแยะบัญชีให้เป็นหมวดหมู่ในสมุดบัญชีแยก

ประเภทบัญชีต่าง ๆ
ื่
เพอแยกรายการต่างๆ ที่จะน าไปจัดท างบการเงิน ประกอบไปด้วย บัญชีประเภทสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของ
เจ้าของ รายได้ ค่าใช้จ่าย ลูกหนี้ เจ้าหนี้ บัญชีแยกประเภทจัดเป็นสมุดบัญชีขั้นปลาย ท าให้ได้ข้อมูลบัญชีไป
จัดท างบการเงิน

บัญชีแยกประเภทมีหลายรูปแบบ รูปแบบที่เป็นมาตรฐาน ได้แก่ บัญชีรูปตัวที (T-Account) ซึ่งแบ่งบัญชี

ออกเป็น 2 ด้านที่ตรงข้ามกัน คือด้านเดบิต และด้านเครดิต รูปแบบอื่น ได้แก บัญชีแยกประเภท 3 ช่อง มีช่อง

เดบิต ช่องเครดิต และช่องคงเหลือ

3.1 การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป
อธิบายการผ่านรายการ (Posting) ไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป

1. เขียนชื่อบัญชี และเลขที่บัญชี ตามที่ก าหนดไว้ในผังบัญชีของกิจการ เช่น เงินสด เลขที่ 101 ลูกหนี้

การค้า เลขที่ 102
2. ผ่านช่อง วัน เดือน ปี ตามวันที่เกิดรายการในสมุดรายวันไปยังบัญชีแยกประเภทนั้น

3. ผ่านจ านวนเงินของบัญชีที่เดบิต ไปยังด้านเดบิตของบัญชีแยกประเภทและผ่านจ านวนเงินของบัญชีที่

เครดิต ไปยังด้านเครดิตของบัญชีแยกประเภท

4. จากข้อ 3 เขียน ชื่อ บัญชีตรงกันขามในช่องรายการ ถ้าบัญชีตรงข้ามมีหลายบัญชีให้อ้างทุกบัญชีหรือ
อ้าง “บัญชีต่างๆ (Sundry Entries) ด้วยยอดรวมของทุกบัญชีก็ได้
5. จากข้อ 3 อ้างอิง (Reference) การผ่านรายการระหว่างสมุดรายวันกับบัญชีแยกประเภท ดังนี้


ช่องเลขที่บัญชีในสมุดรายวัน อางอง เลขที่บัญชีของบัญชีแยกประเภทนั้น ช่องหน้าบัญชีบัญชีแยก



ประเภท อางองสมุดรายวันโดยใช้ค าย่อว่า รว. ............ ตามด้วยหน้าบัญชีนั้นๆ เช่น รว. 1 หมายถึง ผ่าน
รายการมาจากสมุดรายวันหน้า 1
3.2 ผังบัญชี (Chart of Accounts) คือ ชื่อบัญชีและเลขที่บัญชีทั้งหมดของกิจการ ซึ่งถูกออกแบบไว้ใน
การวางระบบบัญชีของกิจการตั้งแต่เริ่ม จัดตั้งกิจการ ผังบัญชีจะแตกต่างไปตามประเภทของธุรกิจ เช่น กิจการ

บริการ กิจการซื้อขายสินค้า กิจการผลิตหรือตามลักษณะของธุรกิจ เช่น เจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน บริษัท

จ ากัด บริษัทมหาชนจ ากัด นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้บริหารที่จะแสดงข้อมูลทางการบัญชีที่มี

ความละเอยดมากน้อยเพยงใดด้วย เช่น บัญชีค่าสาธารณูปโภค บางธุรกิจอาจแยกรายละเอยดเป็น บัญชีค่า


น้ า บัญชีค่าไฟฟา และบัญชีค่าโทรศัพท์ เป็นต้น ผังบัญชีน ามาใช้ในการบันทึกรายการค้า ท าให้เกิดความ

สะดวกในการบันทึกรายการและเป็นประโยชน์ในการตรวจสอบอ้างอิง รายการ

Soy’l

19

ในการก าหนดเลขที่บัญชีโดยทั่วไปมีหลักเกณฑ์ดังนี้

บัญชีแยกประเภทสินทรัพย์ ให้เลขหลักแรกเป็นเลข 1
บัญชีแยกประเภทหนี้สิน ให้เลขหลักแรกเป็นเลข 2

บัญชีแยกประเภทส่วนของเจ้าของ ให้เลขหลักแรกเป็นเลข 3

บัญชีแยกประเภทรายได้ ให้เลขหลักแรกเป็นเลข 4
บัญชีแยกประเภทค่าใช้จ่าย ให้เลขหลักแรกเป็นเลข 5

เลขที่บัญชีที่ก าหนดขึ้นจะใช้เลขกี่หลักก็ได้แต่อย่างน้อยควรเป็น 2 หลัก หลักแรกแสดงประเภทของบัญชี

หลักต่อมาแสดงล าดับของบัญชีในบัญชีประเภทเดียวกัน การก าหนดเลขที่บัญชีไม่มีขอก าหนดตายตัว สามารถ
ิ่
เปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม และการก าหนดเลขที่บัญชีนั้นควรจะได้พจารณาถึงบัญชีที่อาจจะเพมขึ้น

ในภายหลังด้วยและส ารองเลขที่บัญชีเหล่านั้นตามล าดับที่จะแสดงไว้ในงบการเงิน

4.การปรับปรุงรายการ (Adjusting Entry)
การปรับปรุงรายการ หมายถึง การแก้ไขรายการบัญชี ให้ถูกต้องตรงกันกับความเป็นจริงในงวดบัญชีที่ได้

กระท าอยู่ การเพิ่มหรือการลดตัวเลขในบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้องให้สมดุลกัน โดยกิจการจะต้องปรับปรุง

รายการบางรายการเสียก่อนในวันสิ้นงวดบัญชี ในการปรับปรุงรายการบัญชี จะบันทึกรายการในสมุดรายวัน
ทั่วไป แล้วผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป จึงท าให้ยอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภททั่วไปทาง

บัญชีเปลี่ยนแปลงและมีผลท าให้งบก าไรขาดทุนและงบดุลของกิจการแสดงผลด าเนินงาน และฐานะการเงิน

ของกิจการถูกต้องตรงกับความเป็นจริง การบันทึกการปรับปรุงรายการ นับเป็นขั้นตอนหนึ่งที่ส าคัญของวงจร
การบัญชีเพื่อให้ได้งบการเงินที่ถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป จึงต้องท าทุกครั้งก่อนการปิดบัญชี และ

ออกงบการเงิน
รายการบัญชีที่ต้องปรับปรุง โดยทั่วไปสรุปได้ดังนี้

4.1 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีปัจจุบันแล้ว แต่กิจการยังไม่ได้จ่ายเงินจึง

ยังไม่ได้บัญทึกบัญชี เช่น ค่าแรงงานค้างจ่าย เงินเดือนค้างจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่าย เป็นต้น กิจการจึงจ าเป็นต้อง
ปรับปรุงบัญชีโดยเพิ่มค่าใช้จ่ายของงวดบัญชีปัจจุบันแล้วตั้งเป็นหนี้สินไว้

4.2 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่กิจการจ่ายเงินไปแล้ว แต่ ณ วันสิ้นงวดบัญชี กิจการยัง
ไม่ได้รับบริการหรือรับบริการยังไม่ครบตามจ านวนเงินที่ได้จ่าย เช่น ค่าแรงงานจ่ายล่วงหน้า ค่าโฆษณาจ่าย

ล่วงหน้า บัญชีค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าถือว่าเป็น “สินทรัพย์หมุนเวียน”

4.3 รายได้ค้างรับ หมายถึง รายได้ของกิจการที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีนี้แต่ยังไม่ได้รบเงินเมื่อวันสิ้นงวดและ
จะได้รับเงินงวดบัญชีหน้า เช่น ค่าเช่าค้างรับ เป็นต้น ซึ่งรายได้ค้างรับ ถือว่าเป็น “สินทรัพย์หมุนเวียน”

4.4 รายได้รับล่วงหน้า หมายถึง รายได้ที่กิจการได้รับจากลูกค้าล่วงหน้า โดยที่ยังไม่ได้ส่งมอบสินค้า

หรือให้บริการแก่ลูกค้า ซึ่งกิจการมีภาระต้องให้บริการนออนาคต ดังนั้นจ านวนเงินที่ได้รับจึงถือว่าเป็นรายได้
ของกิจการแต่จะถือเป็นหนี้สินหมุนเวียน เมื่อกิจการได้ให้บริการเสร็จเรียบร้อยเป็นบางส่วนหรือทั้ง

หมดแล้ว จึงจะเปลี่ยนจากหนี้สินเป็นรายได้ตามส่วนที่ให้บริการแก่ลูกค้าแล้ว บริการที่ได้ให้แก่ลูกค้าในงวด

Soy’l

20

นั้นจะถือว่ารายได้เกิดขึ้นในงวดนั้น ส่วนจ านวนเงินที่กิจการได้รับไว้แต่ยังไม่ให้บริการในงวดนั้นจึงมีสภาพเป็น

หนี้สินยกไปงวดหน้า เช่น ค่าเช่ารับล่วงหน้า เป็นต้น
4.5 ค่าเสื่อมราคา หมายถึง ส่วนหนึ่งของมูลค่าสินทรัพย์ถาวรที่กิจการตัดจ าหน่ายเป็นค่าใช้จ่ายประจ า

ื่
งวดบัญชีที่ได้ใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ จากการที่กิจการเป็นเจ้าของสินทรัพย์ถาวรหลานชนิดเพอใช้ในการ

ด าเนินงาน เช่น ที่ดิน อาคารและอปกรณ์ เป็นต้น การลงทุนในสินทรัพย์ถาวรเป็นการจ่ายค่าใช้จ่าย
ล่วงหน้าระยะยาว เพราะสินทรัพย์ถาวรจะให้ประโยชน์แก่กิจการหลายงวดบัญชี การใช้ประโยชน์จาก

สินทรัพย์ถาวรในแต่ละงวดบัญชีจึงควรปันส่วนต้นทุนจองสินทรัพย์ที่ถูกใช้งานไปเป็นค่าใช้จ่ายส าหรับงวด
นั้น ทั้งนี้ยกเว้นที่ดิน เพราะที่ดินให้ประโยชน์แก่กิจการไม่มีที่สิ้นสุดและไม่อาจก าหนดอายุการใช้งานของ

ที่ดินได้จึงไม่ต้องคิดค่าเสื่อมราคาและน าค่าเสื่อมราคานี้ไปเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการ ราคาของสินทรัพย์เหล่านี้

จะค่อยๆ ลดลงไปเรื่อยจนเป็นศูนย์ แต่ในทางบัญชีให้คงไว้อย่างน้อย 1 บาท จนกว่าจะจ าหน่ายเลิกใช้งานหรือ
จ าหน่ายสินทรัพย์นั้นออกไป

4.6 วัสดุสิ้นเปลือง หมายถึง วัสดุหรือสิ่งของที่ใช้แล้วหมดไป เช่น กระดาษ ดินสอ ปากกา กาว กระดาษ
คาร์บอน ลวดเย็บกระดาษ เทป กาว ตะปู น้ ามันหล่อลื่น ฯลฯ อาจเรียกชื่อต่างกันไป เช่น วัสดุส านักงาน วัสดุ

โรงงาน เมื่อถึงวันสิ้นงวดบัญชีให้ตรวจนับและตีราคา แล้วท าการปรับปรุงรายการ โดยในระหว่างปีบัญชี

โดยทั่วไปจะบันทึกวัสดุเหล่านี้เป็นสินทรัพย์ ณ วันสิ้นงวดบัญชีให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย
4.7 หนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง ลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ได้ ถือเป็นค่าใช้จ่ายของรอบระยะเวลาบัญชี

นั้น แต่ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายตามประมวลรัษฎากร

5. การจัดท างบการเงิน (Preparing Financial Statement)
งบการเงินเป็นรายงานทางบัญชีที่แสดงฐานะการเงิน ผลการด าเนินงานของกิจการ การเปลี่ยนแปลงของ

เงินสดและส่วนของผู้ถือหุ้น ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา เพอใช้ในการตัดสินใจด้านการเงิน โดยทั่วไปงบการเงินจะ
ื่
ประกอบด้วย

5.1 งบดุล หมายถึง งบแสดงฐานะทางการเงินของธุรกิจ ณ วันใดวันหนึ่งตามหลักการบัญชีที่ยอมรับกัน

โดยทั่วไป ซึ่งจะแสดงให้ทราบว่ามีสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ จ านวนเท่าใด รายละเอยดการแสดง

สินทรัพย์ในงบดุลจะเรียงตามสภาพคล่อง โดยเงินสดจะมีสภาพคล่องสูงที่สุดเพราะสามารถจ่ายช าระหนี้ได้เร็ว

กว่าสินทรัพย์อื่น
ประเภทของงบดุล งบดุลแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

5.1.1 งบดุลแบบบัญชี งบดุลแบบบัญชีจะใช้ฟอร์มที่มีลักษณะคล้ายตัว T แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ทางด้าน

ซ้ายมือจะแสดงรายการของสินทรัพย์ ส่วนด้านขวามือจะแสดงรายการของหนี้สินและส่วนของเจ้าของ ขั้นตอน
ในการจัดท างบดุลแบบบัญชี มีดังนี้

ขั้นที่ 1 เขียนหัวงบดุล 3 บรรทัด ประกอบด้วย

-บรรทัดที่ 1 เขียนชื่อกิจการ
-บรรทัดที่ 2 เขียนค าว่า “งบดุล”

-บรรทัดที่ 3 เขียนวัน เดือน ปี ที่จัดท างบดุล

Soy’l

21

ขั้นที่ 2 ทางด้านซ้ายมือให้เขียนรายละเอียดของสินทรัพย์แสดงรายการต่าง ๆ ของสินทรัพย์ที่กิจการมี

อยู่
ขั้นที่ 3 ทางด้านขวามือให้เขียนรายละเอียดของหนี้สินและส่วนของเจ้าของที่กิจการมีอยู่

ขั้นที่ 4 รวมยอดทั้ง 2 ด้านให้เท่ากันและอยู่ในระดับเดียวกัน

5.1.2 งบดุลแบบรายงาน ขั้นตอนในการจัดท างบดุลแบบรายงาน มีดังนี้
ขั้นที่ 1 เขียนหัวงบดุล 3 บรรทัด คือ บรรทัดที่ 1 เขียนชื่อกิจการ บรรทัดที่ 2 เขียนค าว่า “งบ

ดุล” บรรทัดที่ 3 เขียนวัน เดือน ปี ที่จัดท างบดุล
ขั้นที่ 2 คือตอนบน ให้เขียนค าว่า “สินทรัพย์” และเขียนรายละเอียดต่าง ๆ ของสินทรัพย์ที่กิจการมีอยู่

แล้วรวมยอดทั้งหมดของสินทรัพย์

ขั้นที่ 3 เขียนค าว่า “หนี้สินและส่วนของเจ้าของ” ต่อจากสินทรัพย์ให้แสดงรายการที่เป็นหนี้สินก่อน
และตามด้วยรายการที่เป็นส่วนของเจ้าของ แล้วรวมยอดทั้งหมดของหนี้สินและส่วนของเจ้าของซึ่งจะมียอด

เท่ากับสินทรัพย์
5.2 งบก าไรขาดทุน หมายถึง งบที่แสดงผลการด าเนินงานของกิจการส าหรับช่วงเวลาใดเวลา

ื่
หนึ่ง เช่น 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี เป็นต้น เพอวัดผลการด าเนินงานของธุรกิจว่ามีรายได้และค่าใช้จ่ายใน
รอบระยะเวลานั้นเท่าใด และเมื่อน ารายได้หักด้วยค่าใช้จ่ายแล้ว จะเป็นก าไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิ
งบก าไรขาดทุน มีด้วยกัน 2 รูปแบบ คือ แบบรายงาน และแบบบัญชี

5.2.1 งบก าไรขาดทุนแบบรายงาน

เขียนหัวของงบก าไรขาดทุน 3 บรรทัดให้อยู่กลางกระดาษ ซึ่งประกอบไปด้วย
- บรรทัดที่ 1 ชื่อกิจการ

- บรรทัดที่ 2 ค าว่า “งบก าไรขาดทุน”
- บรรทัดที่ 3 รอบระยะเวลาในการท างบก าไรขาดทุน และวันที่สิ้นสุด

เขียนค าว่า “รายได้” แล้วน าบัญชีหมวดรายได้มาใส่ในงบก าไรขาดทุน หากรายได้มีมากกว่า 1 รายการ

ให้แสดงการรวมยอดรายได้ทั้งหมดด้วยเขียนค าว่า “ค่าใช้จ่าย” แล้วน าบัญชีหมวดค่าใช้จ่ายได้มาใส่ในงบก าไร
ขาดทุน หากค่าใช้จ่ายมีมากกว่า 1 รายการให้แสดงการรวมยอดค่าใช้จ่ายทั้งหมดด้วย หาผลต่างระหว่างยอด

รวมของรายได้ กับยอดรวมของค่าใช้จ่าย หากรายได้มากกว่าค่าใช้จ่าย ผลต่างนี้เรียกว่า “ก าไรสุทธิ” แต่หาก
รายได้น้อยกว่าค่าใช้จ่าย ผลต่างนี้เรียกว่า “ขาดทุนสุทธิ”

5.2.2 งบก าไรขาดทุนแบบบัญชี

เขียนหัวของงบก าไรขาดทุน 3 บรรทัดให้อยู่กลางกระดาษ ซึ่งประกอบไปด้วย
- บรรทัดที่ 1 ชื่อกิจการ

- บรรทัดที่ 2 ค าว่า “งบก าไรขาดทุน”

- บรรทัดที่ 3 รอบระยะเวลาในการท างบก าไรขาดทุน และวันที่สิ้นสุด
แบ่งกระดาษออกเป็น 2 ด้านน าบัญชีหมวดค่าใช้จ่ายไว้ทางด้านซ้ายมือ และบัญชีหมวดรายได้ไว้ทางด้าน

ขวามือ หาผลต่างของรายได้กับค่าใช้จ่าย และท าให้ยอดรวมของทั้ง 2 ด้านเท่ากัน

Soy’l

22


6.การปิดบัญช (Closing Entries)
การปิดบัญชี (Closing Entries) หมายถึง การโอนบัญชีที่เกี่ยวข้องกับบัญชีทุน ซึ่งเป็นบัญชี
ื่
ชั่วคราว ได้แก่บัญชีถอนใช้ส่วนตัว บัญชีรายได้ และบัญชีค่าใช้จ่าย ไปยังบัญชีทุน เพอหายอดคงเหลือของ
บัญชีทุนที่ถูกต้อง ณ วันสิ้นงวดบัญชี รวมทั้งการหายอด คงเหลือ ของบัญชีสินทรัพย์ และหนี้สิน ซึ่งหลังจาก

ท าการปิดบัญชีแล้ว บัญชีที่เหลืออยู่ ได้แก่ บัญชีสินทรัพย์ บัญชีหนี้สิน และบัญชีทุน เพอยกไปยังงวดบัญชี
ื่
ถัดไป

ขั้นตอนในการปิดบัญช ี
การปิดบัญชีจะบันทึกตามหลักการบัญชีปกติ คือ จะท าการบันทึกในสมุดรายวันทั่วไปแล้วผ่านไปยัง

บัญชีแยกประเภทดังนี้

1. บันทึกรายการปิดบัญชีประเภทรายได้และประเภทคาใช้จ่ายในสมุดรายวันทั่วไป

2. ผ่านรายการปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป ไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้อง การปิดบัญชีมีขั้นตอน

ดังนี้
ขั้นที่ 1 บันทึกรายการปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป

- บันทึกรายการปิดบัญชีในหมวดรายได้เข้าบัญชีก าไรขาดทุน

- บันทึกรายการปิดบัญชีในหมวดค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีก าไรขาดทุน
- บันทึกรายการปิดบัญชีก าไรขาดทุนเข้าบัญชีส่วนของเจ้าของ (ทุน)

- บันทึกรายการปิดบัญชีถอนใช้ส่วนตัวหรือเงินถอนเข้าบัญชีทุน

ขั้นที่ 2 ผ่านรายการปิดบัญชี จากสมุดรายวันทั่วไปไปยังสมุดแยกประเภททั่วไป
ขั้นที่ 3 การปิดบัญชีทรัพย์สิน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ ในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป

ขั้นที่ 4 การจัดท างบทดลองหลังการปิดบัญชี

Soy’l

23

แบบฝึกหัด หรือ ใบงาน

ใบงานที่ 1 จงตอบค าถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. วงจรบัญชีหมายถึง

2. วงจรบัญชีมีกี่ขั้นตอน ได้แก ่

3. หลักในการวิเคราะห์รายการ คือ
4. ประโยชน์ของสมุดรายวัน คือ

5. ผังบัญชี หมายถึง
6. งบบก าไรขาดทุน หมายถึง

7. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ หมายถึง

8. กิจการประเภทห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนต้องจัดท าบัญชีอะไรบ้างเพอให้ครบถ้วนถูกต้องตามมาตรฐาน
ื่
การบัญชี

9. สมการบัญชี หมายถึง
10. หลักในการบันทึกรายการค้าลงในสมุดบัญชีขั้นต้น คือ

ใบงานที่ 2
ต่อไปนี้เป็นรายการค้าของริษัท เชิญชวน จ ากัด ระหว่างเดือนกันยายน 25x1

ิ่
ก.ย. 1 กิจการซื้อสินค้ากล่องดินสอเป็นเงินสด 30,000 บาท ภาษีมูลค่าเพม 7% จ านวน 100 ชิ้น ชิ้นละ
300 บาท
2 ส่งคืนสินค้าจากการซื้อเมื่อวันที่ 1 มูลค่าสินค้า 3000 บาท (10 ชิ้น)

3 กิจการซื้อสินค้าปากกาเป็นเงินเชื่อ 20000 บาท ภาษีมูลค่าเพม 7% จ านวน 100 ชิ้น ชิ้นละ 200
ิ่
บาท

4 ส่งคืนสินค้าจากการซื้อวันที่ 3 มูลค่าสินค้า 1000 (5 ชิ้น) และจ่ายค่าขนส่งเข้า 500 เป็นค่าขนส่ง

ปากกา
6 ช าระหนี้จากการซื้อสินค้าวันที่ 3 และได้ส่วนลด 5%

8 ขายสินค้ากล่องดินสอเป็นเงินสดจ านวน 100 ชิ้น ราคาขายชิ้นละ 500 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%
9 รับคืนสินค้าจากการขายวันที่ 8 จ านวน 5 ชิ้น

10 ขายสินค้าปากกาเป็นเงินเชื่อ 80 ชิ้น ชิ้นละ 300 บาท ภาษีมูลค่าเพม 7% และจ่ายค่าขนส่งออก
ิ่
1200 บาท
11 รับคืนสินค้าจากการขายวันที่ 10 จ านวน 10 ชิ้น

12 รับช าระหนี้จากการขายวันที่ 10 ให้ส่วนลด 5%

25 ซื้อคอมพิวเตอร์ 18190 บาทรวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%
30 ปิดบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม

Soy’l

24

ให้ท า : 1. บันทึกรายการค้าในเดือน กันยายน ในสมุดรายวันทั่วไป

2. ผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปยังบัญชีแยกประเภท
3. จัดท างบทดลอง

4. จัดท างบก าไรขาดทุน

ใบงานที่ 3 ต่อไปนี้เป็นรายการค้าของบริษัท แอดดี้การไฟฟ้า จ ากัด ระหว่างเดือนมกราคม 25*1

ม.ค. 1 ยอดคงเหลือยกมาดังนี้
เงินสด 180000 บาท ลูกหนี้การค้า 39000 บาท สินค้าส าเร็จรูปคงเหลือ 60000 บาท อปกรณื

ส านักงาน 55000 บาท เจ้าหนี้การค้า 25000 บาท ทุน 309000 บาท

2 ขายสินค้าเงินเชื่อให้ร้านวัฒนา 60000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เงื่อนไข 2/10, n/30
10 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจากร้าน กิติยา 47000 บาท ภาษีมูลค่าเพม 7% เงื่อนไข 2/10, n/30 และ
ิ่
จ่ายค่าขนส่ง 1000 บาทเงื่อนไข F.O.B. Shipping Point
11 ส่งคืนสินค้าร้านกิติยา 8000 บาท

12 รับช าระหนี้จากร้านวัฒนา ทั้งหมด

18 ซื้อของขวัญมอให้ลูกค้าจ านวน 2140 รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%
20 ซื้อเครื่องพิมพ์ดีดจากบริษัท สุขศรี 35000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% จ่ายเงินสดทันที

24 จ่ายช าระหนี้ร้านกิติยาทั้งหมด

26 รับค่าซ่อมแซมอุปกรณ์ส านักงาน 65000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% จากร้านวิชัย ถูกหักภาษีเงินได้
ณ ที่จ่าย 3%

28 จ่ายค่าโฆษณา 5000 บาท ให้บริษัท กมลมีเดีย ภาษีมูลค่าเพม 7% ถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ิ่
2%

31 จ่ายเงินเดือนให้พนักงาน 100000 บาท หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย 1200 บาท หักประกันสังคมส่วน

ของลูกจ้าง 5% และบันทึกเงินสมทบประกันสังคมส่วนของนายจ้าง 5%
31 ปิดบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม

ให้ท า : 1. บันทึกรายการค้าระหว่างเดือนมกราคมในสมุดรายวันทั่วไป
2. ผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปยังบัญชีแยกประเภท

3. จัดท างบทดลอง

4. จัดท างบก าไรขาดทุน
5. จัดท างบแสดงฐานะทางการเงิน

Soy’l

25

ใบงานที่ 4 ให้จัดท าบันทึกรายรับ-รายจ่ายส่วนตัว จ านวน 1 สัปดาห์

บันทึกรายรับ-รายจ่าย

ของ นาย/นางสาว.................................................................................................................................................

ประจ าเดือน............................................................................................................... พ.ศ. .................................
วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ

Soy’l

26

จากข้อมูลรายรับ-รายจ่ายข้างต้นให้ตอบค าถามต่อไปนี้

1. ถ้าผู้เรียนมีรายรับมากกว่ารายจ่าย แสดงว่าผู้เรียนมีการด าเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร
2. ถ้าผู้เรียนมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ ผู้เรียนควรปรับปรุงการด าเนินชีวิตให้เข้าหลักเศรษฐกิจพอเพยง

อย่างไร


3. ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ชีวิตพอเพียง/ไมพอเพียง มีอย่างไรบ้าง
4. การรักษาสมดุลรายรับ-รายจ่าย เพื่อมีเงินออมควรท าอย่างไร

5. ข้อดี ข้อจ ากัด และประโยชน์ของการลงรายการรับ-จ่ายบัญชีส่วนตัว มีอะไรบ้าง
6. มาตรการควบคุมค่าใช้จ่ายของตนเองและครอบครัว มีอะไรบ้าง

บทสรุป
วงจรการปฏิบัติงานบัญชี (Accounting Cycle) เป็นล าดับขั้นตอนการท าบัญชีที่ธุรกิจต้องจัดท า

เหมือน ๆ กันในทุก ๆ รอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งได้แก่ การจดบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยจัดท าเอกสาร
ประกอบการบันทึกบัญชี การจดบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี การจัดท าหมวดหมู่ ประเภทของบัญชี

ตลอดจนการสรุปผลการด าเนินงานในรูปแบบของรายงานทางการเงิน พร้อมทั้งการน าเสนองบการเงินแก่

ผู้เกี่ยวข้องภายในและภายนอกกิจการ เพื่อการน าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ

Soy’l

27

บทที่ 3 เอกสารประกอบการลงบัญชี

สาระส าคัญ
เอกสารประกอบการลงบัญชี เปนบันทึก หรือเอกสารใดๆ ที่ใชเปนหลักฐาน ในการลงรายการใน

บัญชีแสดงรายการคาที่เกิดขึ้นจากการด าเนินงานซึ่งอาจจะเปนบันทึกในบัญชีเงินสด บัญชีรายวันหรือบัญชี สิ

นคาที่อยูในครอบครอง เอกสารประกอบการลงบัญชีสามารถแสดงความครบถวนและถูกตองของรายการ
ื่
บัญชี การจัดท าเอกสารจัดท าขึ้นโดยบุคคลภายนอกหรือจัดท าขึ้นโดยผูมีหนาที่จัดท าบัญชีเพอออกให
บุคคลภายนอก หรือกิจการจัดท าขึ้นเพื่อใชในกิจการ

เนื้อหา

ระบบการท าบัญชีส าหรับกิจการขนาดใหญ่ย่อมมีความซับซ้อนในการบริหารจัดการมากกว่ากิจการ
ขนาดเล็ก เนื่องจากมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายหน่วยงาน เช่น แผนกคลังสินค้า แผนกขาย แผนก

การเงิน เป็นต้น ดังนั้นในแต่ละแผนกจะต้องก าหนดเอกสารที่จะใช้เป็นหลักฐานในการปฏิบัติงาน เช่น ใบ
ขอซื้อ ใบเบิกสินค้า ใบส าคัญรับ ใบส าคัญจ่าย เป็นต้น นอกจากนี้เมื่อมีใบรายการค้าเกิดขึ้นจากการด าเนิน

ธุรกิจกับบุคคลภายนอก ผู้ประกอบการจะได้รับเอกสารหรือจัดท าเอกสารขึ้นเพอเป็นหลักฐานยืนยันรายการ
ื่
ื่
ค้าที่เกิดขึ้น เอกสารที่ใช้ประกอบการลงบัญชีทุกๆรายการต้องถูกต้อง ครบถ้วน ตามความเป็นจริงเพอสร้าง
ความเชื่อถือ

เอกสารภายนอก คือ เอกสารที่จัดท าขึ้นโดยบุคคลภานนอก เช่น ใบเสร็จรับเงินจากผู้ขาย ใบส่ง

สินค้า/ใบก ากับภาษีจากผู้ขาย ใบสั่งซื้อของลูกค้า
เอกสารภายใน คือ เอกสารที่จัดท าขึ้นโดยบุคคลภายใน แบ่งเป็น 2 ประเภทตามการใช้งานดังนี้

1. เอกสารที่กิจการจัดท าขึ้นเองโดยผู้มีหน้าที่จัดท าเพอออกให้แก่บุคคลภายนอก เช่น
ื่
แผนกการเงินออกใบเสร็จรับเงิน เนื่องจากการรับช าระหนี้ของลูกค้า และแผนกขายออก

ใบส่งสินค้า/ใบก ากับภาษี เนื่องจากการขายสินค้า

ื่
2. เอกสารที่กิจการจัดท าขึ้นเองโดยผู้มีหน้าที่จัดท าเพอใช้ภายในกิจการ เช่น ใบเบิกสินค้า
ใบตรวจรับสินค้า ใบส าคัญรับเงิน ใบรายงานการนับสินค้าและใบส าคัญจ่ายเงิน

3. เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการบันทึกบัญชีทุกประเภท ต้องมีรายการดังต่อไปนี้และมี
รายการตามที่ก าหนดไว้ในแต่ละประเภทของเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี

- ชื่อของผู้จัดท าเอกสาร อาจใช้ชื่อที่ใช้ในการประกอบธุรกิจของผู้จัดท าเอกสาร

- ชื่อของเอกสาร
- เลขที่ของเอกสารและเล่มที่

- วัน เดือน ปี ที่ออกเอกสาร

- จ านวนเงินรวม
เอกสารที่ต้องใช้ประกอการบันทึกบัญชี เป็นเอกสารที่ต้องมีรายการตามข้อก าหนดคือ

Soy’l

28

ื่
1. ในกรณีที่เป็นเอกสารเพอเป็นหลักฐานในการรับเงิน รับฝากเงิน รับช าระเงิน ตั๋วเงิน
ต้องมีรายการดังต่อไปนี้
- เลขประจ าตัวผู้เสียภาษีอากรของกิจการที่จัดท าเอกสาร

- สถานที่ตั้งของกิจการที่จัดท าเอกสาร

- รายละเอียดเกี่ยวกับการรับเงินหรือตั๋วเงิน
- ชื่อ ชนิด จ านวน หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย และราคารวมของสินค้าหรือบริการแต่ละ

รายการ
- รายชื่อของผู้รับเงินหรือตั๋วเงิน

2. ในกรณีที่เป็นเอกสารเพอเป็นหลักฐานในการจ าหน่าย จ่ายโอน ส่งมอบสินค้าหรือ
ื่
บริการ โดยยังมิได้มีการช าระเงินหรือตั๋วเงิน ต้องมีรายการต่อไปนี้
- เลขประจ าตัวผู้เสียภาษีอากรของกิจการที่จัดท าเอกสาร

- สถานที่ตั้งของกิจการที่จัดท าเอกสาร
- ชื่อ ชนิด จ านวน หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย และราคารวมของสินค้าหรือบริการแต่ละ

รายการ

- ชื่อหรือชื่อที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ และที่อยู่ของผู้ซื้อหรือผู้รับสินค้าหรือบริการ
- ลายมือชื่อผู้จัดท าเอกสาร

- ลายมือชื่อผู้รับสินค้าหรือผู้รับบริการ

3. ถ้าเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี เป็นเอกสารกิจการจัดท าขึ้นเองโดยผู้มีหน้าที่
จัดท าเพื่อใช้ภายในกิจการ ต้องมีรายการต่อไปนี้คือ

- ค าอธิบายรายการ
- วิธีการและการค านวณต่าง ๆ

- ลายมือชื่อของผู้มีหน้าที่จัดท าบัญชี หรือผู้ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้อนุมัติรายการ

ื่
4. เอกสารที่ใช้ประกอบการลงบัญชีที่จัดท าขึ้น โดยผู้ที่มีหน้าที่จัดท าบัญชีเพอออกให้แก่
บุคคลภายนอก ต้องมีส าเนาเก็บบไว้อย่างน้อย 1 ฉบับ

5. การลงรายการในบัญชีรายวันและบัญชีสินค้าต้องจัดท าดังนี้
- มีเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีทุกรายการและเอกสารที่ใช้ประกอบการ

ลงบัญชีนั้นต้องสามารถแสดงความถูกต้องครบถ้วนของรยการบัญชีตามความเป็น

จริงและเป็นที่เชื่อถือได้
- การลงรายการในบัญชีต้องใช้เอกสารเป็นเครื่องมือส าคัญที่จะท าให้เชื้อได้ว่ามี

รายการค้าต่าง ๆ เกิดขึ้นจริงในการประกอบธุรกิจ อย่างไรก็ตาม หลักการบัญชีได้

ื่
ก าหนดไว้แต่เพยงว่า เมื่อมีรายการเกิดขึ้นให้น าบันทึกบัญชีเพอแสดงการ

เปลี่ยนแปลงข้อมูลทางบัญชีที่กิจการได้ประกอบธุรกิจ โดยเอกสารทีใช้ประกอบการ
บันทึกบัญชีตามประมวลรัษฏากรได้ก าหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับรายจ่ายในการ

Soy’l

29

ด าเนินกิจการทางภาษีอากรที่ใช้ในการค านวณก าไรสุทธิและขาดทุนสุทธิเพอเสีย
ื่
ภาษีเงินได้นิติบุคคล

1.เอกสารประกอบการลงบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543

1.1ประเภทของเอกสารประกอบการลงบัญชี
เอกสารประกอบการลงบัญชีแบ่งออกเป็น3ประเภท คือ

1.1.1 เอกสารที่จัดท าขึ้นโดยบุคคลภายนอก
1.1.2 เอกสารที่จัดท าขึ้น โดยผู้มีหน้าที่จัดท าบัญชีเพื่อออกให้แก่บุคคลภายนอก

1.1.3 เอกสารที่จัดท าขึ้น โดยผู้มีหน้าที่ท าบัญชีเพื่อใช้ในกิจการ

1.2รายการที่ต้องมีเอกสารประกอบการลงบัญชี
1.2.1ชื่อของผู้จัดท าเอกสารที่ใช้ในการประกอบธุรกิจของผู้จัดท าเอกสาร

1.2.2ชื่อเอกสาร
1.2.3เลขที่ของเอกสาร และเล่มที่ (ถ้ามี)

1.2.4วัน เดือน ปี ที่ออก เอกสาร

1.2.5จ านวนเงินรวม
ื่
เอกสารประกอบการลงบัญชีที่จัดท าขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดท าบัญชีเพอออกให้บุคคลภายนอกต้องมีส าเนา
เก็บไว้อย่างน้อย 1 ฉบับ และต้องเพิ่มรายการจากที่ก าหนดไว้ในกรณีดังนี้

1) เอกสารเพื่อเป็นหลักฐานในการรับเงิน ฝากเงิน รับช าระเงิน ต้องมีรายการดังต่อไปนี้
(1) เลขประจ าตัวผู้เสียภาษีอากรของกิจการที่จัดท าเอกสาร

(2) สถานที่จัดตั้งของกิจการที่จัดท าเอกกสาร
(3) รายละเอียนเกี่ยวกับการรับเงินหรือตั๋วเงิน

(4) ชื่อ ชนิด จ านวน หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย และราคารวมสินค้าหรือบริการแต่ล่ะรายการ

(5) ลายมือชื่อของผู้รับเงินหรือตั๋วเงิน
ื่
2) เอกสารเพอเป็นหลักฐานในการจ าหน่าย จ่าย โอน ส่งหมอบสินค้าหรือบริการโดยยังมิได้มีการช าระเงิน
ตามตั๋วเงิน มีรายการดังต่อไปนี้
(1) เลขประจ าตัวผู้เสียภาษีอากรของกิจการที่จัดท าเอกสาร

(2) สถานที่จัดตั้งของกิจการที่จัดท าเออกสาร

(3) ชื่อ ชนิด จ านวน หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย และราคารวมของสินค้าหรือบริการ แต่ล่ะรายการ
(4) ชื่อหรือชื่อที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ และที่อยู่ของผู้รับสินค้าหรือบริการ

(5) ลายมือชื่อผู้จัดท าเอกสาร

(6) ลายมือชื่อผู้รับสินค้าหรือบริการ

Soy’l

30

ื่
3) เอกสารที่ใช้ประกอบการลงบัญชีที่จัดท าขึ้น โดยผู้มีหน้าที่จัดท าบัญชี เพอใช้ในกิจการของ
ตนเอง เช่น ใบส าคัญรับ ใบส าคัญจ่าย ใบรับสินค้า นอกจากต้องมีรายการดังกล่าวข้างต้นแล้วต้องมีรายการ
เพิ่มดังนี้

(1) ค าอธิบายรายการ

(2) วิธีการและการค านวณต่างๆ(ถ้ามี)
(3) ลายมือชื่อของผู้มีหน้าที่จัดท าบัญชีผู้ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้อนุมัติรายการ

(4) เอกสารประกอบการลงบัญชีที่เป็นภาษาต่างประเทศ
2.เอกสารและรายงานที่ต้องจัดท าในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม

ผู้ประกอบการที่เป็นผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้น าเข้า และผู้ส่งออก ที่มีรายการรับเกินกว่า1800000บาท