ตัวอย่างกิจกรรม stem อนุบาล

แผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้

บรู ณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในระดับปฐมวยั

ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา
กจิ กรรม

ระดับช้ันอนบุ าลปที ่ี 1/1

นางรงุ่ นภา แสงฟ้าเลื่อน
ครปู ระจาชนั้

ปีการศึกษา 2563
โรงเรยี นตากสนิ ราชานุสรณ์ อาเภอเมือง จังหวัดตาก
สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1

กิจกรรมที่ 1 เกิดอะไรข้ึนกับบ้านของเจ้าสาลี

ระยะเวลา

ประมาณ 30 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ฟังนิทานและระบุปัญหาหรือความต้องการของเจ้าสาลี
2. ระดมความคิดเพ่ือเสนอวิธีการแก้ปัญหาให้เจ้าสาลี

สาระการเรียนรู้

สาระที่ควรเรียนรู้

 เมื่อเกิดนาท่วมบ้านทาให้เกิดความเสียหายกับตัวบ้านและสิ่งของต่างๆที่อยู่ในบ้านทาให้เกิด
อันตรายเช่นคนจมนาและทาให้คนไม่มีท่ีอยู่อาศัยหรืออยู่หรืออยู่อาศัยด้วยความลาบาก

 หากเราต้องอาศัยในบริเวณที่เกิดนาท่วมบ่อยๆเราควรคิดวิธีการแก้ปัญหาโดยอาจจะปรับปรุง
บ้านหรือสร้างบ้านใหม่ให้คนยังอาศัยอยู่ได้

ประสบการณ์สาคัญ

 การฟังนิทาน
 การพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองราวในนิทาน

 การพูดกับผู้อ่ืนเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเองหรือพูดเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์นาท่วม
บ้าน

 การอธิบายเช่ือมโยงสาเหตุและผลท่ีเกิดขึนในเหตุการณ์นาท่วมบ้านจากการฟังนิทาน

สื่อและวัสดุอุปกรณ์

 นิทานบ้านของเจ้าสาลีตอนท่ี 1 เกิดอะไรขึนกลับบ้านของเจ้าสาลี 1 เร่ือง
 ภาพหรือสื่อประกอบการเล่านิทานเช่นหุ่นเจ้าสาลี 1 ชุด
 ผังความคิดสิ่งที่ควรรู้หน่วยบ้านหลังใหม่ 1 ผัง

การเตรียมตัวล่วงหน้าของครู

ครูอาจเตรียมผังความคิดสิ่งท่ีควรรู้บ้านหลังใหม่โดยเขียนไว้บนกระดานหน้าห้องเรียนหรือบน
กระดาษปรู๊ฟท่ีติดบนผนังหน้าห้องเพ่ือใช้ทบทวนหรือนาเข้าสู่การจัดกิจกรรมในแต่ละครังรวมถึงใช้ในการ
สรุปส่ิงที่เด็กได้เรียนรู้ซึ่งจะใช้อย่างต่อเนื่องตลอดหน่วยการเรียนรู้ดังตัวอย่าง

ตัวอย่างผังความคิดสิ่งที่ควรรู้หน่วยบ้านหลังใหม่

ส่ิงที่ใช้ในการสร้างบ้านจาลอง รูปแบบของบ้าน

บ้าน
สิ่งที่ควรรู้

ขันตอนการสร้างบ้าน ส่วนประกอบของบ้าน

การวดั และประเมินพฒั นาการ

ส่ิงที่ประเมิน วิธีการประเมิน ระดับความความสามารถ

1.ฟังนิทาน -สังเกตพฤติกรรม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
ของเด็ก สนใจฟังนิทาน สนใจฟังนิทาน ไม่สนใจฟังนิทาน
2.ระบุปัญหาหรือ -สังเกตการตอบ ตังแต่ต้นจนจบ
ความต้องการของ คาถามของเด็ก
เจ้าสาลี บอกปัญหาความ บอกปัญหาความ ไม่สามารถบอก
-สังเกตพฤติกรรม
3.ระดมความคิด ของเด็ก ต้องการของเจ้า ต้องการของเจ้า ปัญหาความ
เพื่อเสนอวิธีการ -สังเกตการตอบ
แก้ปัญหาเจ้าสาลี คาถามของเด็ก สาลีได้ด้วยตนเอง สาลีได้เม่ือได้รับ ต้องการของเจ้า

คาแนะนา สาลีได้แม้ได้รับ

คาแนะนา

ร่วมสนทนาและ ร่วมสนทนาและ ร่วมสนทนาแต่ไม่

เสนอวิธีการ เสนอวิธีการ สามารถเสนอ

แก้ปัญหาให้เจ้าสาลี แก้ปัญหาให้เจ้าสาลี วิธีการแก้ปัญหาให้

ได้ด้วยตนเอง เม่ือได้รับคาแนะนา เจ้าสาลีได้รับ

คาแนะนา

วิธีการจัดกิจกรรม

กิจกรรมเกิดอะไรขึ้นกับบ้านของเจ้าสาลี
1.ครูเล่านิทานเรื่องบ้านของเจ้าสาลีตอนที่ 1 เกิดอะไรขึนกับบ้านของเจ้าสาลี
2.ครูนาเด็กสนทนาร่วมกันดังนี

- เกิดอะไรขึนกับบ้านของเจ้าสาลี (บ้านโดนนาท่วม)
- เม่ือนาท่วมเจ้าสาลีต้องไปอยู่ที่ใด (ขึนไปอยู่บนหลังคา)
- เจ้าสาลีหนาวเพราะเหตุใด (ตัวเปีย)
- เจ้าสาลีหิวเพราะเหตุใด (หิวเพราะไม่มีอาหารกินเพราะขึนไปอยู่บนหลังคาไม่มีของกิน)
- เจ้าสาลีเดินไปไหนมาได้หรือไม่เพราะเหตุใด (ไม่ได้เพราะจะตกนาหรือจะจมนา)
- เจ้าสาลีรู้สึกอย่างไร (รู้สึกเศร้าและกลัว)
- หลังจากนาลดลงเจ้าสาลีเพราะว่าบ้านของตนเองเป็นอย่างไร (บ้านพังเสียหายจนอยู่ต่อ
ไม่ได้)
- เจ้าสาลีมีปัญหาหรือต้องการอะไร (มีปัญหาบ้านเสียหายอยู่ต่อไม่ได้ต้องการสร้างบ้าน
หลังใหม่ท่ีสามารถอาศัยอยู่ได้เมื่อนาท่วม)

- เด็กๆคิดว่าบ้านถ้านาท่วมบ้านท่ีอาศัยอยู่ได้เมื่อนาท่วมมีลักษณะเป็นอย่างไร (เด็กตอบ
ตามความคิดเห็นเช่นเป็นตึกที่สูงๆบ้านท่ีอยู่บนต้นไม้บ้านที่ลอยนาได้)

- เด็กๆคิดว่าเราควรจะช่วยเจ้าสาลีสร้างบ้านหลังใหม่ได้หรือไม่และจะทาอย่างไร (เด็ก
ตอบตามความคิดเห็นเช่นช่วยสร้างบ้านได้โดยไปหาของมาสร้างบ้านหรือไปหาคนมาช่วยสร้าง)

- ถ้าจะสร้างบ้านให้เจ้าสาลีเราควรมีความรู้เก่ียวกับเร่ืองอะไรบ้าง (เด็กตอบตามความ
คิดเห็นหากเด็กตอบไม่ได้ครูอาจแนะนาให้ลองทบทวนจากคาถามของเจ้าสาลีท่ีอยู่ในนิทานเช่นควรรู้ว่า
บ้านแบบใดที่อยู่ได้เมื่อนาท่วมควรรู้ว่าบ้านมีส่วนประกอบอะไรบ้างควรรู้วิธีการสร้างบ้านและใช้ส่ิงท่ีใช้ใน
การสร้างบ้าน)

3. ครูและเด็กร่วมกันสรุปว่าการที่จะสามารถสร้างบ้านท่ียังอาศัยอยู่ได้เม่ือเกิดนาท่วมเราควรมี
ความรู้เก่ียวกับรูปแบบของบ้านส่วนประกอบของบ้านขันตอนการสร้างบ้านและสิ่งที่ใช้ในการสร้างบ้าน
โดยครูเขียนเป็นผังความคิดของหัวข้อส่ิงที่เด็กควรเรียนรู้บนกระดานหรือในกระดาษปรู๊ฟจากนั นชีแจงว่า
เด็กๆจะได้เรียนรู้หัวข้อเหล่านีในกิจกรรมต่อไปแล้วจึงจะนาส่ิงที่ได้เรียนรู้มาช่วยกันออกแบบสร้างบ้าน
ให้กับเจ้าสาลี

กิจกรรมเพ่ิมเติม

กิจกรรมเล่าข่าวนา้ ท่วม
ครูนาเสนอสถานการณ์ข่าวหรือเหตุการณ์นาท่วมโดยอาจนาภาพจากสื่อต่างๆเช่นหนังสือพิมพ์วีดี
ทัศน์มาให้เด็กสังเกตและสนทนาร่วมกันว่าเหตุการณ์ที่สังเกตพบเป็นเหตุการณ์เก่ียวกับอะไรเด็กๆรู้ได้
อย่างไรให้เด็กที่เคยพบเหตุการณ์เช่นนีได้บอกเล่าประสบการณ์ให้กับเพ่ือนๆนอกจากนีครูควรให้เด็กๆ
สนทนาเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึนเนื่องจากเหตุการณ์นาท่วมเช่นบ้านและส่ิงของในบ้านเสียหา ยคนจมนา
เสียชีวิตให้เด็กๆร่วมกันเสนอวิธีการปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมเพื่อความปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุการณ์นาท่วม
และครูให้ความรู้เพ่ิมเติมหรือให้เด็กๆเสนอวิธีการแก้ปัญหาหากต้องเจอเหตุการณ์นาท่วมบ่อยๆ

แบบประเมินหลังการจดั ประสบการณ์ กจิ กรรม เกิดอะไรขึ้นกบั บ้านของเจา้ สาลี

เล ชือ่ – สกลุ ฟังนิทาน หมายเหตุ
ขที่ ระ ุบ ัปญหาหรือความ
้ตองการของเจ้าสาลี
ระดมความ ิคดเพ่ือเสนอ
ิว ีธการแก้ ัปญหาเจ้าสาลี

เกณฑ์การประเมิน 32 1 3 2 1 321

1 เด็กชายณัฐภทั ร มว่ งไม้  

2 เด็กชายภรู ิพฒั ร์ อนันตะศริ ิ   

3 เด็กชายณัฐพัชร์ สขุ ธิการ   

4 เดก็ ชายไกรวิชญ์ แซ่กอื   

5 เด็กชายภทั รพล พรมสวุ รรณ   

6 เด็กชายภาณุพงศ์ มีเพยี ร 

7 เด็กหญงิ ณฎั ฐณชิ า แหมา  

8 เด็กหญงิ วชั รวี รรณ หนตู ุ้ม  

9 เด็กหญิงลภสั รดา เทียนสม้  

10 เด็กหญิงบุญญาพร อาชีวพฤกษากจิ  

รวม 73 73 10
ค่าเฉลยี่
เกณฑ์การประเมิน ดี
3
เกณฑ์การประเมิน พอใช้
ควรปรบั ปรุง 2

1

บันทึกหลังการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู เบื้องต้น

ชอื่ ผูส้ อน นางรุ่งนภา แสงฟ้าเลื่อน
โรงเรียนตากสนิ ราชานสุ รณ์ จังหวัดตาก
ระดับชนั้ ทส่ี อน อนบุ าลปที ่ี 1/1 (อายุ 3-4ป)ี จานวนเด็ก 10 คน

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเก่ยี วกบั การจดั ประสบการณ์เรยี นรู้

ชือ่ กจิ กรรม เกดิ อะไรขึนกับบา้ นของเจ้าสาลี
วันเดือนปที ี่สอน ชว่ งเวลาที่สอน เวลา 09.30 น. ถึง เวลา 10.10 น.
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (สาหรับกจิ กรรมที่สอนนี)

1. ฟังนิทานและระบุปัญหาหรือความต้องการของเจ้าสาลี
2. ระดมความคิดเพ่ือเสนอวิธีการแก้ปัญหาให้เจ้าสาลี
ภาพรวมการจัดกจิ กรรม (เขยี นบรรยายสรุปสนั ๆ เป็น 4 ย่อหนา้ ตามประเดน็ ต่อไปน)ี
1) บรรยายวา่ จดั กจิ กรรมอย่างไร
จัดกิจกรรมบรู ณาการเข้ากบั หนว่ ยการเรียนรู้ โดยใหเ้ ด็กไดค้ ิดแก้ปญั หาร่วมกนั แสดงความคิดเหน็
รว่ มกนั
2) ผู้เรียนมีพฤตกิ รรมเปน็ อยา่ งไร หรือ ผลทเี่ กดิ กับเด็กเปน็ อย่างไร บรรลตุ ามจุดประสงคก์ ารเรยี นรูห้ รือไม่
อยา่ งไร
ผู้เรยี นมคี วามสนใจในการเรียนรู้และคน้ หาคาตอบด้วยตนเอง บรรลจุ ดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ทีว่ างไว้
โดยเด็กสามารถสนทนาโต้ตอบ แสดงความคิดเห็นของตนเองได้
3) พบปัญหาหรอื อุปสรรคอะไรในการจดั กจิ กรรม และแก้ไขอยา่ งไร
เด็กมกั จะยดึ ตนเองเปน็ ศนู ย์กลาง เม่อื ต้องการแสดงความคิดเหน็ จะแยง่ กันพดู ทาให้เกดิ ความวุ่นวาย
คณุ ครแู ก้ปญั หาโดยสรา้ งขอ้ ตกลงรว่ มกันในการทากิจกรรม

ภาพการจัดกจิ กรรมเกดิ อะไรขนึ้ กับบา้ นของเจ้าสาลี

ครูเล่านิทานเรื่องบ้านของเจ้าสาลีตอนที่ 1 เกิดอะไรขึนกับบ้านของเจ้าสาลี แล้วครูนาเด็กสนทนาร่วมกัน
ครูและเด็กร่วมกันสรุปว่าการท่ีจะสามารถสร้างบ้านที่ยังอาศัยอยู่ได้เมื่อเกิดนาท่วมเราควรมีความรู้เกี่ยวกับรูปแบบ
ของบ้านส่วนประกอบของบ้านขันตอนการสร้างบ้านและสิ่งที่ใช้ในการสร้างบ้านโดยครูเขี ยนเป็นผังความคิด


กิจกรรมStem มีอะไรบ้าง

STEM คือ แนวทางการศึกษาหรือทำกิจกรรมที่บูรณาการศาสตร์แขนงต่างๆ ในสายวิทย์-คณิตไว้ด้วยกัน ที่มาของคำว่า STEM มาจากตัวอักษรย่อของคำภาษาอังกฤษ 4 คำ คือ.
5 กิจกรรม STEM ทำได้ที่บ้าน.
1. เครื่องบินกระดาษ.
2. วิทยาศาสตร์ของคุกกี้.
3. น้ำพุโคล่า.
4. เสากระดาษทรงพลัง.
5. ไข่ไร้เปลือก.

Stem คืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง ตัวอย่างStem และวิธีการสอนด้วย Stem

สะเต็มศึกษา (STEM Education) STEM Education คือการสอนแบบบูรณาการข้าม กลุ่มสาระวิชา (Interdisciplinary Integration) ระหว่าง ศาสตร์สาขาต่างๆ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science: S) เทคโนโลยี (Technology: T) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineer: E) และ คณิตศาสตร์ (Mathematics: M) โดยนาจุดเด่นของธรรมชาติ ตลอดจนวิธีการสอนของแต่ ละสาขาวิชามา ...

Stem มีการจัดการเรียนรู้กี่รูปแบบ อะไรบ้าง

STEM ย่อมาจาก Science, Technology, Engineering and Mathematics หรือการบูรณาการความรู้ระหว่าง 4 สาขาวิชา ซึ่งได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ STEM Education หรือ "สะเต็มศึกษา" คือการนำเอาทักษะ STEM มาจัดเป็นรูปแบบการศึกษา ที่ผสานรวมหรือบูรณาการความรู้ทั้ง 4 สาขาเข้าด้วยกัน

การสอนแบบ stem และ Steamต่างกันอย่างไร

STEAM คือ การนำเอา Art (A) เข้ามาบูรณาการการเรียนรู้เพิ่มเติมจาก STEM และสร้างเด็กนักเรียน STEM ให้คิดแบบสร้างสรรค์มากขึ้น นอกจากนี้ คณะหรือหลักสูตรที่เป็น STEM ใน USA ยังสามารถขอวีซ่าอยู่ต่อ USA ได้สูงสุด 3 ปี! หลังเรียนจบ ตัวอย่างคณะ STEM.