ตัวอย่างการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ ปฐมวัย

Download การจ ดประสบการณ ทาง ว ทยาศาสตร สาหร บเด กปฐมว ย...

การจัดประสบการณ์ทาง วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย

ความหมายของการจัดประสบการณ์ การจัดประสบการณ์เป็นการจัดการเรียนการสอน หรือ การจั ด การศึ ก ษาให้ กั บ เด็ ก ปฐมวั ย โดยให้ เ ด็ ก ได้ รั บ ประสบการณ์ตรงจากการกระทา เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ ทุกด้าน เช่น ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และ เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มให้ กั บ เด็ ก ในการศึ ก ษาระดั บ ประถมศึกษาปีที่ 1 ต่อไป

ความหมายของการจัดประสบการณ์ทาง วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย การจั ด ประสบการณ์ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ส าหรั บ เด็ ก ปฐมวั ย เป็ น การจั ด กิ จ กรรมที่ มุ่ ง ให้ เ ด็ ก ได้ รั บ ประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่อยู่ รอบตัวเด็ก และได้สังเกต ทดลองด้วยตนเอง เช่น ก า ร ป ลู ก พื ช ก า ร เ ลี้ ย ง สั ต ว์ ก า ร เ รี ย น รู้ เ รื่ อ ง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ โดยอาศัยทักษะพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ที่เด็กมีอยู่ในตนเอง

วัตถุประสงค์ของการจัดประสบการณ์ทาง วิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความอยากรู้อยากเห็น และรู้จักการ ใช้คาถาม เช่น อะไร ทาไม อย่างไร 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้พัฒนาความคิดอย่างมีเหตุผล อย่าง มีระบบ 3. เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ เ ด็ ก ได้ มี ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ ตนเอง และสิ่ ง ต่างๆ รอบตัวมากขึ้น 4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับ ความคิ ดในการแปล ความเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมรอบตัว

5. 6. 7. 8.

9. 10. 11. 12. 13.

เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการแก้ปัญหา เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรับผิดชอบในการอนุรักษ์ธรรมชาติ เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนวิทยาศาสตร์ในระดับ ประถมศึกษา เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดความซาบซึ้ง และเจตคติที่ดีต่อ สิ่งแวดล้อมรอบตัว เพื่อส่งเสริมให้เด็กฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมให้เด็กเห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เด็กนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้

14. เพื่อส่งเสริมให้เด็กกล้าแสดงออก 15. เพื่อส่งเสริมให้เด็กเป็นคนที่มีใจมั่นคงและหนักแน่น ไม่เชื่อต่อ คาบอกเล่า 16. เพื่อส่งเสริมให้เด็กสามารถทางานเป็นกลุ่มได้ 17. เพื่อส่งเสริมให้เด็กลดความกลัวต่อสิ่งต่างๆ อย่างไม่มีเหตุผล 18. เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ เ ด็ ก มี ทั ก ษะในการใช้ อ วั ย วะส่ ว นต่ า งๆ ของ ร่างกาย 19. เพื่อส่งเสริมให้เป็นคนที่มีจิตใจกว้างขวาง เป็นคนมีเหตุผล

หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย 1. ต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และสอดคล้องกับ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 2. มุ่งเน้นการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 3. จัดประสบการณ์ให้เหมาะสมกับเหตุการณ์ และ สภาพแวดล้อม 4. ประสบการณ์ที่จัดขึ้นควรเป็นประสบการณ์เด็ก

5. ควรจัดประสบการณ์หลายๆ ประเภท เพื่อให้เด็กได้เลือก ปฏิบัติตามความสนใจ 6. งบประมาณที่ใช้จะต้องพิจารณาให้เหมาะสม 7. มีการวางแผนและเตรียมพร้อมก่อนที่จะจัดกิจกรรมทุก ครั้ง 8. มีการประเมินผลภายหลัง เพื่อเกิดประโยชน์แก่เด็ก

ประโยชน์ของการจัดประสบการณ์ ทางวิทยาศาสตร์ต่อเด็กปฐมวัย 1. เด็กได้รบ ั ประสบการณ์ตรง 2. เด็กได้เรียนรู้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 3. เด็กมีโอกาสที่จะได้แสดงความสามารถเฉพาะตัว ในทางวิทยาศาสตร์ 4. เด็กมีโอกาสฝึกความรับผิดชอบ ฝึกการทางาน 5. เสริมสร้างเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 6. เป็นการสร้างความพร้อมในการเรียนอ่านและเขียน 7. ช่วยให้เด็กประสบความสาเร็จในการเรียน

ประเภทของการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์

1.

2. 3. 4. 5.

6.

ภายในห้องเรียน การจัดประสบการณ์แบบ อภิปราย การจัดประสบการณ์แบบ ปฏิบัติการทดลอง การจัดประสบการณ์แบบมุม วิทยาศาสตร์ การจัดประสบการณ์แบบ การใช้เกม การจัดประสบการณ์แบบ การสาธิต การจัดประสบการณ์แบบ ตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

1.

2. 3. 4. 5.

ภายนอกห้องเรียน การจัดประสบการณ์แบบพา ไปศึกษานอกสถานที่ การจัดประสบการณ์แบบ ปฏิบัติการทดลอง การจัดประสบการณ์แบบมุม วิทยาศาสตร์ การจัดประสบการณ์แบบ การใช้เกม การจัดประสบการณ์สนาม

6. การจัดประสบการณ์แบบ ตามสถานการณ์

การจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลอง จุดประสงค์ของการจัดประสบการณ์แบบปฏิบตั ิการ ทดลอง 1. เพื่อฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อฝึกทักษะการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือทาง วิทยาศาสตร์ 3. เพื่อค้นหาคาตอบของคาถาม หรือปัญหา 4. เพื่อตรวจสอบข้อมูล (ความรู)้ ทางวิทยาศาสตร์ 5. เพื่อเสริมความเข้าใจในเนื้อหาตามหลักสูตร 6. เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์

ลาดับขั้นของการจัดประสบการณ์ แบบปฏิบต ั ิการทดลอง 1. ขั้นเตรียมการ 1.1 แบ่งกลุ่ม 1.2 อธิบายวิธีใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้อง 1.3 ทบทวนขั้นตอนการทดลอง

2. ขั้นทดลอง เป็นขั้นลงมือปฏิบัติ สังเกตการปฏิบัติงาน ของเด็ก การใช้เครื่องมือ การใช้ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ 3. ขั้นสรุป 3.1 สรุปผลการทดลอง 3.2 ซักถามให้เด็กเปรียบเทียบผลการทดลอง 3.3 ครูอาจทาการสาธิต หรือชี้จุดบกพร่องเพื่อ แสดงผลการทดลองที่ถูกต้อง 3.4 อภิปรายและช่วยกันสรุป 3.5 ทาความสะอาดเครื่องมือ และพื้นที่

วิธีการประเมินผลการจัดกิจกรรม การทดลองทางวิทยาศาสตร์ 1. ก า ร สั ง เ ก ต โ ด ย ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ การปฏิบัติงานตามขั้นตอน 2. ต ร ว จ ผ ล ง า น เ ช่ น ก า ร ร า ย ง า น ก า ร ท ด ล อ ง การสรุปผลการทดลอง การทาความสะอาดหลังการ ทดลอง

ประโยชน์ของการจัดประสบการณ์ แบบปฏิบต ั ิการทดลอง 1. เด็กได้รบ ั ประสบการณ์ตรง เพราะได้ลงมือทดลองด้วย ตนเอง 2. เด็กได้มีโอกาสฝึกฝนทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ 3. กิจกรรมการทดลองชวนให้น่าสนใจ 4. การทดลองฝึกนิสัยที่ดีให้เกิดขึ้น 5. เด็กมีโอกาสทางานร่วมกับผู้อื่น

การจัดประสบการณ์แบบมุมวิทยาศาสตร์ มุมวิทยาศาสตร์หรือมุมธรรมชาติ สามารถจัดขึ้น ในห้องเรียนได้โดยครูเลือกมุมใดมุมหนึ่งของห้องเรียน เพียงมุมเดียว แล้วหาโต๊ะอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์มาจัดไว้ เช่น เปลือกหอย หินชนิดต่างๆ ตัวอย่างพืช ฯลฯ

จุดมุ่งหมายสาคัญของการจัดประสบการณ์ แบบมุมวิทยาศาสตร์ 1. จัดเพื่อนาเข้าสู่บทเรียน

2. จัดเพื่อทบทวนบทเรียน 3. จัดเพื่อเสริมประสบการณ์

การจัดมุมวิทยาศาสตร์อาจทาได้หลายวิธด ี ังนี้ 1. จัดแสดงผลงานของนักเรียน 2. รวบรวมเอกสาร ตารา หนังสือ วารสาร 3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่เสริมให้เด็กได้ฝึกกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ 4. ให้เด็กทดลองเพาะเมล็ดพืช ทดลองปลูกพืช หรือ ทดลองเลี้ยงสัตว์

การจัดประสบการณ์แบบอภิปราย เป็นวิธีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ระหว่ า ครู กับ เด็ ก หรื อเด็ ก กั บ เด็ ก ด้ ว ยกั น เอง โดยครู เป็นผู้ประสานงาน คุ ณ ค่ า ข อ ง ก า ร อ ภิ ป ร า ย คื อ ก า ร ส ร้ า ง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับเด็ก

การนาการอภิปรายมาใช้ในการสอนมี ดังนี้

1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ครูตั้งคาถาม สาธิต ทดลองหรือใช้สื่อ เช่น หุ่นจาลอง รูปภาพ แล้วซักถาม 2. ขั้นสอน ขณะดาเนินการสอนครูอาจให้เด็ก มีส่วนร่วมใน การวางแผนการทดลอง การสาธิต การศึกษานอกสถานที่ 3. ขั้นสรุป การอภิปรายร่วมก่อนสรุป ช่วยให้เด็กรู้จักคิดอย่าง มีเหตุผล ก่อนลงข้อสรุป

ประโยชน์ของการอภิปราย 1. ทาให้เด็กรูจ้ ักคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) 2. ทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และเข้าใจมโนทัศน์ตา่ งๆ ทาง วิทยาศาสตร์ 3. ทาให้เด็กรูจ้ ักตัดสินใจอย่างถูกต้อง 4. สามารถนาความรู้ที่ได้จากการอภิปรายไปใช้ในสถานการณ์ ใหม่ๆ 5. ทาให้เด็กเกิดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 6. ทาให้ครูสามารถประเมินความรู้และความเข้าใจของ นักเรียนแต่ละคนได้ 7. ทาให้ครูรู้จักเด็กได้ดีขน ึ้

การจัดประสบการณ์ แบบการใช้เกมทางวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมที่กติกาบังคับและกติกานั้นใช้เป็นการ ประเมินความสาเร็จในการเล่น

จุดมุ่งหมายของการใช้เกมมีดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

เพื่อสื่อความหมาย เพื่อส่งเสริมการตัดสินใจ เพื่อให้รู้จักปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้รักความยุติธรรม และความถูกต้อง เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เพื่อฝึกความจาและความคิดรวบยอด เพื่อให้รู้จักปรับตัว เพื่อให้กล้าแสดงออก กล้าพูด กล้าเขียน ตลอดการ ฝึกใช้กล้ามเนื้อและสายตา 9. ส่งเสริมให้เป็นคนมีน้าใจเป็นนักกีฬา

ประโยชน์ของการใช้เกมประกอบการสอน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ช่วยให้เด็กเกิดพัฒนาการด้านความคิด ช่วยในการฝึกทักษะทางภาษา และทบทวนเนือ้ หาวิชาต่างๆ ช่วยให้เด็กได้แสดงความสามารถของแต่ละบุคคล ช่วยประเมินผลการเรียนการสอน ช่วยให้เด็กเกิดความเพลิดเพลิน และผ่อนคลาย ความเครียด ช่วยจูงใจและเร้าความสนใจ ช่วยส่งเสริมให้เด็กมีความสามัคคี ช่วยฝึกความรับผิดชอบ ช่วยให้ครูเห็นพฤติกรรมของเด็กชัดเจนขึ้น

ลาดับขั้นในการสอนเกม 1. บอกชื่อเกมให้ผู้เล่นทุกคนรู้

2. จัดผู้เล่นให้อยู่ในรูปแบบของการเล่น 3. อธิบายวิธีการเล่น รวมทั้งกฎ กติกาการเล่น 4. สาธิตให้ดู 5. เริ่มเล่นเกม

การจัดประสบการณ์แบบสาธิต (Demonstration) เป็นการแสดงประสบการณ์อย่างหนึ่งหน้าชั้น ที่ทา การทดลองหรือทดสอบอธิบายสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

การสอนแบบสาธิตสามารถช่วยในการจัดการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์ได้ดังนี้ 1. เพื่อสร้างสถานการณ์ที่นาไปสู่การกาหนดปัญหา 2. เพือ่ เป็นการแสดงให้เห็นจุดสาคัญที่ต้องการให้เด็ก ทราบอย่างชัดเจน 3. เพื่อเป็นการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการเรียน 4. เพื่อเป็นการทบทวนหลังจากที่ได้ทาการทดลอง 5. เพื่อใช้แสดงความสาคัญในลักษณะที่น่าตื่นเต้น

ประโยชน์ของการจัดประสบการณ์แบบสาธิต

1. เป็นการนาแนวคิดของเด็กให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2. เป็นการประหยัด เวลา วัสดุ 3. เพื่อความปลอดภัย

ขั้นตอนการสาธิต ขั้นเตรียมการ

ศึกษา เตรียม ฝึกซ้อม

ขั้นสาธิต

เร้าความสนใจ บอกชื่อ อุปกรณ์ และทาการสาธิต

ขั้นสรุป

สรุปเป็นตอนๆ และให้ลองทา

ขั้นวัดผล

ซักถามปัญหา