ธาตุที่เป็นไอโซโทปกัน ได้แก่

แต่ก่อนจะพูดถึง “ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์” เรามาทบทวนสัญลักษณ์นิวเคลียร์กันก่อน ว่าส่วนไหนเรียกว่าอะไร และหาค่าอย่างไรบ้าง

สัญลักษณ์นิวเคลียร์

ธาตุที่เป็นไอโซโทปกัน ได้แก่

ตัวอย่างเช่น…

ธาตุที่เป็นไอโซโทปกัน ได้แก่

ถ้ามองดูแล้วไม่เข้าใจมาดูคำอธิบายกัน

จากตัวอย่างจะเห็นว่า…

ธาตุที่เป็นไอโซโทปกัน ได้แก่

จากตัวอย่างข้างต้น น้องๆ อาจจะงงว่าพวก โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน เลขมวล หาค่ามายังไง นี่ก็จะเป็นคำอธิบายทั้งหมด

ธาตุที่เป็นไอโซโทปกัน ได้แก่

หลักการจำ!

ธาตุที่เป็นไอโซโทปกัน ได้แก่

นี่ก็เป็นหลักการจำ ที่จะจำได้นาน และรับรองว่าไม่ลืมอีกแน่!!!

คราวนี้ลองใช้ทริคการจำมาทำโจทย์กัน ลองดูว่าธาตุใดที่เป็น ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ ไอโซอิเล็กทรอนิกส์

โจทย์ ให้น้องๆ ดูว่าธาตุใดที่เป็นไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ และไอโซอิเล็กทรอนิกส์

มาดูเฉลยกัน

ธาตุที่เป็นไอโซโทปกัน ได้แก่

เห็นคำตอบแล้ว ได้คำตอบตรงกันไหมเอ่ย?

จบไปแล้วสำหรับทริคการจำ “ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์” เห็นไหมล่ะว่าถ้ามีเทคนิคการจำก็ไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป  หรือถ้าน้องๆ มีวิธีจำแบบอื่น ก็สามารถแชร์เข้ามาได้ที่ inbox facebook : schooldekd

อะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานที่สำคัญ 3 อนุภาค ได้แก่ อิเล็กตรอน (electron), โปรตอน (proton) และนิวตรอน(neutron)

ธาตุที่เป็นไอโซโทปกัน ได้แก่


แทน เลขมวล (Proton + Neutron)

แทน เลขอะตอม (Proton)

แทน สัญลักษณ์ของธาตุ

ไอโซโทป (Isotope): อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีโปรตอนเท่ากัน แต่จำนวนนิวตรอนต่างกัน

ไอโซโทน (Isotone): ธาตุต่างชนิดกันที่มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน แต่มีจำนวนโปรตอนไม่เท่ากัน

ไอโซบาร์ (Isobar): ธาตุต่างชนิดกันที่มีเลขมวลเท่ากัน แต่มีจำนวนนิวตรอนไม่เท่ากัน

ไอโซอิเล็กทรอนิก (Isoelectronic): ธาตุหรือไออนของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน เช่น S2- กับ Ar มีอิเล็กตรอนเท่ากับ 18


ตัวอย่างโจทย์

Ex1. อะตอมหรือไอออนของธาตุคู่ใดเป็นไอโซอิเล็กทรอนิก  (8O, 7N, 18Ar, 16S, 10Ne)


1.   O2 และ N2                      2.   O+ และ Ar

           3.   S2– และ Ne                      4.   S2– และ Ar 


Ex2. ธาตุ กับธาตุ เป็นไอโซบาร์กัน ส่วนธาตุ E กันธาตุ เป็นไอโซโทนกัน และธาตุ ยังเป็นไอโซโทปหนึ่งของธาตุฟลูออรีนซึ่งมีเลขอะตอมเท่ากับ ถ้าธาตุ เกิดเป็นไอออนที่มีประจุ 2+ จะมีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับ 8 เหมือนกับธาตุ ซึ่งธาตุ มีจำนวนนิวตรอนเท่ากับ 10 อนุภาค จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ E, Q และ Y


Ans

ธาตุ ยังเป็นไอโซโทปหนึ่งของธาตุฟลูออรีนซึ่งมีเลขอะตอมเท่ากับ 9                      =         9Y

ถ้าธาตุ เกิดเป็นไอออนที่มีประจุ 2+ จะมีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับ 8    =         10E

ถ้าธาตุ เกิดเป็นไอออนที่มีประจุ 2+ จะมีจำนวนอิเล็กตรอน
เท่ากับ 8 เหมือนกับธาตุ Q      =         8Q

เลขมวลของธาตุ E (เลขมวล = P + N = 10+10)      =         2010E

ธาตุ กับธาตุ เป็นไอโซบาร์กัน        =         209Y

ธาตุ E กันธาตุ เป็นไอโซโทนธาตุ มีจำนวนนิวตรอนเท่ากับ 10 อนุภาค       =         188Q


Ex3ไอโชโทปของธาตุชนิดหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเป็น3เท่าของประจุในนิวเคลียสของไฮโดรเจนเเละมีมวลเป็น เท่าของมวลไฮโดรเจน จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ


Ans

มีประจุในนิวเคลียสเป็น เท่าของประจุในนิวเคลียสของไฮโดรเจน (p = 3x1)         =         3X

มีมวลเป็น เท่าของมวลไฮโดรเจน (ไฮโดรเจนมีมวล = 1) ; 7 x 1         =         73X   

ธาตุที่เป็นไอโซโทปกัน ได้แก่

ไอโซโทปของธาตุมีอะไรที่แตกต่างกัน

ไอโซโทป (อังกฤษ: isotope) เป็นความแตกต่างขององค์ประกอบทางเคมีที่เฉพาะเจาะจงของธาตุนั้นซึ่งจะแตกต่างกันในจำนวนของนิวตรอน นั่นคืออะตอมทั้งหลายของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีจำนวนโปรตอนหรือเลขอะตอมเท่ากัน แต่มีจำนวนนิวตรอนต่างกัน ส่งผลให้เลขมวล(โปรตอน+นิวตรอน)ต่างกันด้วย และเรียกเป็นไอโซโทปของธาตุนั้น ๆ.

ไอโซโทปมีอะไรเท่ากัน

ไอโซโทป ( Isotope ) คือ ธาตุชนิดเดียวกัน(Z เท่ากันหรือโปรตอนเท่ากัน) แต่มีจ านวนนิวตรอน

ไอโซโทนมีอะไรบ้าง

ไอโซโทน(Isotone)หมายถึง อะตอมของธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมและ เลขมวลต่างกัน แต่มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน ตัวอย่างไอโซโทนเช่น ไอโซบาร์(Isobar)หมายถึง อะตอมของธาตุต่างชนิดกัน แต่มีเลขมวลเท่ากัน

โปรตอนเท่ากับอะไร

โปรตอน (Proton;p) หมายถึง อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นบวกหนึ่งหน่วย มีมวลประมาณ 1,837 เท่า ของอิเล็กตรอนซึ่งโปรตอนเป็นองค์ประกอบในนิวเคลียสของธาตุทุกชนิด