ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

Why Digital Onboarding ?

ทำไม Digital Onboarding ถึงสำคัญ

ความต้องการใช้เทคโนโลยีการพิสูจน์และยืนยันตัวตน ตัวยออนไลน์ที่เพิ่มขึ้น สถานการณ์ที่ต้องเว้นระยะห่าง รวมถึงธุรกิจต่าง ๆ ที่ต้องการจะลดต้นทุนและเพิ่มความสะดวกให้กับลูกค้า ทำให้การพิสูจน์และยืนยันตัวตน จำเป็นต้องถูกพัฒนาเป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนที่ โดยใช้ข้อมูลทางชีวภาพของแต่ละคนที่มีอยู่เฉพาะตัว เพื่อยืนยันการทำธุรกรรมต่าง ๆ  ไม่ว่าจะเป็น ใบหน้า ลายนิ้วมือ ฝ่ามือ หรือรหัสพันธุกรรม

Show

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของลูกค้า เพื่อเข้าถึงบริการออนไลน์มากขึ้น ทั้งเรื่องงาน การซื้อขายสินค้า การทำธุรกรรมทางการเงิน รวมถึงขอรับบริการต่าง ๆ  ทำให้ธุรกิจเป็นต้องสร้างช่องทางออนไลน์ที่มีการพิสูจน์และยืนยันตัวตนอย่างถูกต้อง เพื่อให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการได้ง่าย ปลอดภัย ซึ่งส่งผลต่อการเติบโตของธุรกิจในอนาคต

Digital Onboarding ช่วยเพิ่มความสะดวกและปลอดภัย เพราะเป็นรูปแบบที่เข้ามาช่วยพิสูจน์และยืนยันตัวตนของลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นผู้ให้บริการ และผู้ขอรับบริการ จะได้ประโยชน์ร่วมกัน  สถาบันการเงินหรือธุรกิจอื่น ๆ ก็สามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างเหมาะสม ป้องกันการกระทำความผิด เช่น การใช้ตัวตนปลอม หรือใช้ข้อมูลบุคคลอื่นในการเปิดบัญชี ลักลอบใช้บัญชีซื้อขายแทนกัน รวมถึงการยักยอกเงินโดยที่เจ้าของบัญชีไม่ทราบ

ส่วนผู้ขอรับบริการจะได้รับความสะดวก ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปที่สาขา ก็สามารถพิสูจน์และยืนยันตัวตน ได้อย่างรวดเร็วผ่านเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือช่องทางออนไลน์อื่น รวมทั้งมีความปลอดภัยเพราะใช้ข้อมูลทางชีวภาพในการพิสูจน์และยืนยันตัวตน ซึ่งรองรับ NDID (National Digital ID)  ที่เป็นมาตรฐานการยืนยันตัวตนของภาครัฐ  ยกตัวอย่างเช่น การเปิดบัญชีธนาคารที่ปัจจุบันสามารถเปิดได้ผ่าน Smart Phone ทำให้ไม่ต้องเดินทางไปสาขา ลดการสัมผัส แถมได้ประสิทธิภาพและความปลอดภัยที่มากกว่าเดิม

Electronic Know your Customer (E-KYC) ?

มาตรฐานยืนยันตัวตน คืออะไร ทำงานอย่างไร

ประเทศไทย มีมาตรฐานในการพิสูจน์และยืนยันตัวตน ที่เรียกว่า e-KYC (Electronic know your customer) ซึ่งเป็นหนึ่งในรูปแบบของการทำ Digital Onboarding เพื่อทำธุรกรรมออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย มาตรฐานนี้ถูกกำหนดโดยสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งได้นำข้อกำหนด Special Publication 800-6 3 A – Digital Identity Guidelines – Enrollment and Identity Proofing ของหน่วยงาน National Institute of Standards and Technology (NIST)  มาประยุกต์เป็นแนวทางการใช้งานของประเทศไทยเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล

e-KYC แบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือระดับความน่าเชื่อถือของการยืนยันตัวตน(Identity Assurance Level) หรือ IAL และระดับความน่าเชื่อถือของสิ่งที่ใช้ยืนยันตัวตน (Authenticator Assurance Level) หรือ AAL

Contents

  • 1 เทคโนโลยี e-KYC กับประโยชน์ในการยืนยัน และปกป้องตัวเองจากการถูกโจรกรรมทางการเงิน
  • 2 e-KYC คืออะไร!? มีความสำคัญอย่างไร!?
  • 3 กระบวนการจัดการความเสี่ยงของ e-KYC มีอะไรกันบ้าง!?
  • 4 ทำไม e-KYC คือสิ่งที่มีความสำคัญในประเทศไทย!?
  • 5 ประโยชน์ที่น่าสนใจของระบบ e-KYC
  • 6 3.e-KYC เหมาะกับประเทศที่ผู้คนมาเข้าถึงบริการทางการเงินได้อย่างสะดวก
  • 7 2.e-KYC เป็นการทำธุรกรรมการเงินแบบไร้สัมผัส
  • 8 3.e-KYC ช่วยป้องกันการฟอกเงิน และการโจรกรรมทางการเงิน
  • 9 4.e-KYC ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีทักษะความรู้ด้านเทคโนโลยี
  • 10 5.e-KYC ช่วยให้การทำธุรกรรมการเงินสะดวกรวดเร็วมากขึ้น
  • 11 6.e-KYC ช่วยลดขั้นตอนการตรวจสอบบุคคลให้น้อยลง
  • 12 ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยี e-KYC
  • 13 เทคโนโลยี e-KYC ที่น่าสนใจในประเทศไทย
  • 14 เทคโนโลยีจดจำและเปรียบเทียบใบหน้าของ e-KYC คืออะไร!?
  • 15 บทสรุปส่งท้าย : e-KYC เทคโนโลยียืนยันตัวตนแห่งอนาคต

เทคโนโลยี e-KYC กับประโยชน์ในการยืนยัน และปกป้องตัวเองจากการถูกโจรกรรมทางการเงิน

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

ในยุคที่การโจรกรรม...

หลอกลวงและฟอกเงินอย่างผิดกฎหมายกลายเป็นประเด็นร้อนไปทั่วโลก ทำให้กลายมาเป็นประเด็นความท้าทายอย่างมากของสถาบันทางการเงินและธุรกิจที่เกี่ยวข้องด้านการเงินว่าจะทำอย่างไรจึงจะสามารถรับมือกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้!?

สำหรับหนึ่งในวิธีการแก้ปัญหาที่ได้รับความนิยมกันเป็นอย่างมาก ณ ปัจจุบัน ก็คงจะเป็นอะไรไปไม่ได้นอกเสียจากเทคโนโลยี e-KYC นั่นเอง

ส่วน e-KYC จะมีความน่าสนใจอย่างไร และมีประโยชน์มากแค่ไหน!? มาฟังข้อมูลเจาะลึกจากบทความชิ้นนี้กันได้เลย

e-KYC คืออะไร!? มีความสำคัญอย่างไร!?

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

e-KYC คือ การยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic Know-Your-Customer) หรือ การทำความรู้จักกับลูกค้าผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการระบุตัวตนและยืนยันตัวตนที่สะดวกรวดเร็วมากขึ้นกว่าเดิม แทนการทำ KYC แบบเดิม ที่มีความยุ่งยากเสียเวลา เพราะจะต้องให้ผู้ทำการยืนยันตัวตนต้องทำการกรอกข้อมูล ส่งเอกสาร รวมไปถึงการเดินทางไป “แสดงตัวตน” ต่อหน้าของเจ้าหน้าที่สถาบันทางการเงิน

กระบวนการจัดการความเสี่ยงของ e-KYC มีอะไรกันบ้าง!?

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

ธนาคารและสถาบันทงการเงินมีเงื่อนไขที่จะต้องมีกระบวนการในการบริหารและจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นผ่านกระบวนการ e-KYC โดยมีหลักการที่ควรทราบ ดังต่อไปนี้

1.การเก็บและตรวจสอบข้อมูลการแสดงตนของลูค้า ผู้ใช้บริการให้มีความถูกต้อง

2.ความถูกต้องของเอกสารแสดงตน ตามที่ได้กำหนดเอาไว้ตามประกาศของธนาคารแห่งประเเทศไทย

3.การตรวจสอบความถูกต้องว่า ลลูกค้าเป็นบุคคลเดียวกับในเอกสารแสดงตนหรือไม่

4.การให้ลูกค้าผู้ใช้บริการมีการยืนยันตัวตนระหว่างการเก็บข้อมูล

5.การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลลูกค้าที่ถูกต้อง รัดกุมเพียงพอและเป็นไปตามมาตราฐานที่หน่วยงานกำกับดูแลได้กำหนดเอาไว้

ทำไม e-KYC คือสิ่งที่มีความสำคัญในประเทศไทย!?

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

e-KYC เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากในประเทศไทย เนื่องจากเป็นส่วนหนึ่งของ พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน เนื่อจงกสถาบันการเงินและธนาคารเป็นแหล่งของการฟอกเงินที่เหล่าอาชญากรใช้กันบ่อยครั้ง รวมไปถึงการโจรกรรมข้อมูลของผู้ใช้บริการสถาบันการเงินจากเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยมากขึ้นอีกด้วยเช่นกัน

ประโยชน์ที่น่าสนใจของระบบ e-KYC

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

ระบบ e-KYC มีประโยชน์อย่างมากในปัจจุบัน โดยสามารถทำการสรุปประโยชน์ที่ควรทราบออกเป็นประเด็นได้ดังต่อไปนี้

3.e-KYC เหมาะกับประเทศที่ผู้คนมาเข้าถึงบริการทางการเงินได้อย่างสะดวก

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

หลายประเทศได้มีการนำเอาระบบ e-KYC มาใช้ในการช่วยยืนยันตัวเองได้อย่างชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศที่มีประชากรจำนวนมากที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ห่างไกลจนเกิดความยากลำบากในการเข้าถึงบริการทางการเงิน

2.e-KYC เป็นการทำธุรกรรมการเงินแบบไร้สัมผัส

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

การทำธุรกรรมการเงินแบบไร้สัมผัส นอกจากจะเป็นการช่วยเพิ่มความสะดวกสบายในการทำธุรกรรมแล้ว ยังถือว่ามีความสำคัญอย่างมากในยุคที่ผู้คนจำเป็นต้องปรับตัวให้กับ New Normal ที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ทำให้การเดินทางไปทำธุรกรรมทางการเงินกลายเป็นเรื่องยาก และการทำ e-KYC ยังเป็นการช่วยลดการสัมผัสที่นำไปสู่การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสได้เป็นอย่างดีอีกด้วย

3.e-KYC ช่วยป้องกันการฟอกเงิน และการโจรกรรมทางการเงิน

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

e-KYC ยังช่วยในการยืนยันตัวตนของผู้ทำธุรกรรม ที่นอกจากจะช่วยป้องกันการโจรกรรมทางการเงินที่เพิ่มสูงมากขึ้นทุกปีแล้ว ยังเป็นการช่วยป้องกันปัญหาการฟอกเงิน และเป็นการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินให้กับผู้ก่อการร้าย เป็นต้น เพราะเป็นการระบุไอดีที่เป็นกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล ทำให้เกิดการปลอมแปลงลอกเลียนแบบได้ยาก

4.e-KYC ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีทักษะความรู้ด้านเทคโนโลยี

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

กระบวนการทำงานของ e-KYC เป็นสิ่งที่เรียบง่าย ทำให้ผู้ที่ใช้งานไม่จำเป็นที่จะต้องมีทักษะความรู้ด้านเทคโนโลยี และมีประโยชน์อย่างมากสำหรับคนที่ไม่รู้หนังสือ

5.e-KYC ช่วยให้การทำธุรกรรมการเงินสะดวกรวดเร็วมากขึ้น

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

e-KYC ยังช่วยให้การทำธุรกรรมทางการเงินมีความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เนื่องจากช่วยลดขั้นตอนการตรวจสอบบุคคล ลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการดำเนินการได้ นอกจากนี้การจัดสรรทรัพยากรให้กับลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ยังเป็นการช่วยเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้าได้อีกด้วย

6.e-KYC ช่วยลดขั้นตอนการตรวจสอบบุคคลให้น้อยลง

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

การทำ e-KYC นอกจากจะช่วยลดขั้นตอนในการตรวจสอบความถูกต้องของบุคคลให้น้อยลงกว่าเดิม ยังเป็นการช่วยลดความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นจากระหว่างขั้นตอนการดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็นการช่วยเพิ่มประสบการณ์ที่ดีในการใช้บริการให้มากขึ้นกว่าเดิมด้วยนั่นเอง

ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยี e-KYC

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

ถึงแม้ว่าเทคโนโลยี e-KYC จะเต็มไปด้วยข้อดีมากมาย แต่ถ้าหากสถาบันทางการเงินจะนำมาใช้ก็จำเป็นที่จะต้องป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นให้มีความรัดกุมมากที่สุด โดยความเสี่ยงดังกล่าว อาทิเช่น

  • การเก็บและตรวจสอบข้อมูลการแสดงตน
  • ความถูกต้องของเอกสารแสดงตนที่กำหนด
  • การตรวจสอบเปรียบเทียบว่าผู้ยืนยันตน เป็นบุคคลเดียวกับในเอกสารแสดงตนหรือไม่
  • ขั้นตอนการให้ทำการยืนยันตัวตนที่สะดวก ง่ายดายและไม่ยุ่งยาก
  • การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่รัดกุม และเป็นไปตามที่หน่วยงานกำกับดูแลได้กำหนดเอาไว้

เทคโนโลยี e-KYC ที่น่าสนใจในประเทศไทย

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

ณ ปัจจุบัน ในประเทศไทยได้มีการอนุญาตให้ใช้เทคโนโลยี “จดจำและเรียนรู้ใบหน้า” (Biometric facial recognition) มาใช้ในการยืนยันตัวตนในการ “เปิดบัญชีเงินฝากระยะไกล” (Remote account opening) โดยมี 6 ธนาคารที่ได้รับการอนุญาต ดังต่อไปนี้

  • ธนาคารกสิกรไทย
  • ธนาคารกรุงเทพ
  • ธนาคารไทยพาณิชย์
  • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
  • ธนาคารทหารไทย
  • ธนาคาร CIMB ไทย จำกัด

นอกจากนี้ทั้ง 6 ธนาคารในข้างต้น ยังใช้เทคโนโลยี e-KYC มาช่วยทำการพิสูจน์ตัวตนลูกค้าจาก แพลตฟอร์มบริการยืนยันตัวตนรูปแบบดิจิทัล (National Digital ID – NDID) จากบันทึกประวัติการทำธุรกรรมทางการเงินของประชาชน ช่วยลดจำนวนคนที่เข้าใช้บริการกับทางธนาคารให้น้อยลงในช่วงเวลาที่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19

เทคโนโลยีจดจำและเปรียบเทียบใบหน้าของ e-KYC คืออะไร!?

ยืนยันตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ e-kyc คือ

ใช้เทคโนโลยี จดจำและเรียนรู้ใบหน้า (Biometric facial recognition) ของระบบ e-KYC ที่หลายสถาบันการเงินและธนาคารนำมาใช้ในปัจจุบัน เป็นตัวช่วยในการระบุตัวตนของบุคคลด้วยการเปรียบเทียบใบหน้า ณ ขณะหนึ่งกับภาพของงใบหน้าที่ได้รับการเก็บเอาไว้ในฐานข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

เทคโนโลยีในการเปรียบเทียบใบหน้านี้ ถือว่าเป็นเทคโนโ,ยีที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล ถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายในต่างประเทศ และช่วยป้องกันไม่ให้มิจฉาชีพทำการสวมรอยเป็นเจ้าของบัญชีการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นอย่างมากเลยทีเดียว

บทสรุปส่งท้าย : e-KYC เทคโนโลยียืนยันตัวตนแห่งอนาคต

e-KYC...

เป็นเทคโนโลยีที่สำคัญอย่างมากในการทำธุรกรรมด้านการเงินที่สถาบันการเงินทุกแห่ง และองค์กรที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการเงินควรให้ความใส่ใจในการพัฒนาเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม

เพราะเป็นการช่วยเพิ่มความปลอดภัยให้กับการทำธุรกรรมทางการเงินให้มากยิ่งขึ้น ท่ามกลางโลกแห่งการโจกรรมข้อมูลที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกปี ณ ปัจจุบัน...

การยืนยันตัวตนคืออะไร

การพิสูจน์และยืนยันตัวตน (Authentication) คืออะไร การพิสูจน์และยืนยันตัวตน (Authentication) เป็นกระบวนการที่ใช้ในการตรวจสอบผู้มีสิทธิ์เข้าใช้บริการ ทำ ธุรกรรม หรือใช้ทรัพยากรที่บุคคลนั้นเป็นเจ้าของจริง ซึ่งโดยทั่วไปมักพบกระบวนการพิสูจน์และยืนยันตัวตนในบริการ

KYC ใช้อะไรบ้าง

KYC โดยทั่วไปต้องครอบคลุมถึง การเก็บ และตรวจสอบความแท้จริงของหลักฐานเอกสารประกอบการยืนยันตัวตน เช่น บัตรประชาชน หรือ เอกสารที่ได้รับการรับรองสำหรับการยืนยันอัตลักษณ์ การตรวจสอบว่าลูกค้าเป็นบุคคลคนเดียวกันกับในเอกสารนั้นหรือไม่ การเก็บข้อมูลการยืนยันตัวตนไว้อย่างปลอดภัย และสามารถนำมาใช้ได้เมื่อลูกค้ากลับมาทำธุรกรรมใหม่

ทำไมต้องทำ E

e-KYC ยังช่วยในการยืนยันตัวตนของผู้ทำธุรกรรม ที่นอกจากจะช่วยป้องกันการโจรกรรมทางการเงินที่เพิ่มสูงมากขึ้นทุกปีแล้ว ยังเป็นการช่วยป้องกันปัญหาการฟอกเงิน และเป็นการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินให้กับผู้ก่อการร้าย เป็นต้น เพราะเป็นการระบุไอดีที่เป็นกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล ทำให้เกิดการปลอมแปลงลอกเลียนแบบได้ยาก