งานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ เฉลย

1.7 ลาดบั ขั้นตอนการทางานของระบบไฮดรอ 1.7 เพ่อื ให้มกี จิ นสิ ัยในการทางานที่ดี มวี นิ ัย ตรงตอ่ เวลา

ลกิ ส์ ซือ่ สัตย์ ประหยดั และปลอดภัยโดยยดึ หลกั ปรัชญาของ

1.8 ใบงานที่ 1 ชุดตน้ กาลงั ไฮดรอลิกส์ เศรษฐกิจพอเพยี ง

หน่วยท่ี 2 หลกั การพน้ื ฐานของระบบไฮดรอลิกส์ นักศึกษาสามารถ

2.1 แรง , น้าหนกั และสสาร 2.1 อธบิ ายความหมายของแรง น้าหนกั และสสารได้ถกู ตอ้ ง

2.2 งาน ,กาลงั และ พลังงาน 2.2 บอกความหมายของงานกาลงั และพลังงานไดถ้ กู ตอ้ ง

2.3 การพจิ ารณาความ( ไม่ )สามารถอัดตวั และ 2.3 บอกความหมายความดันได้ถูกตอ้ ง

รวมตวั 2.4 อธิบายความหมายของกฎปาสคาลได้ถูกตอ้ ง

2.4 ความดนั 2.5 บอกความหมายของกฎอตั ราของการไหลได้ถูกต้อง

2.5 กฎของปาสคาล 2.6 ต่อวงจรการหาปริมาณการสง่ จ่ายของป๊ัมน้ามันไฮดรอ

2.6 การส่งถ่ายกาลังของๆเหลวในระบบไฮดรอลิกส์ ลกิ สไ์ ดถ้ ูกต้อง

2.7 การเคลือ่ นทข่ี องของไหลภายในท่อ 2.7 เพอ่ื ให้มีกิจนสิ ัยในการทางานท่ีดี มวี นิ ัย มคี วามขยัน โดย
2.8 กฎอตั ราของการไหล ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.9 ผลของความรอ้ นจากของเหลว

2.10 ใบงานที่ 2 การหาปรมิ าณการสง่ จา่ ยของ

ปั๊มน้ามนั ไฮดรอลกิ ส์

หนว่ ยท่ี 3 ชดุ ตน้ กาลังไฮดรอลกิ ส์ นักศึกษาสามารถ

3.1 สัญลกั ษณ์และรูปวงจรของชุดตน้ กาลังไฮดรอ 3.1 อธิบายการทางานของชดุ ต้นกาลงั ไฮดรอลกิ ส์ได้ถกู ตอ้ ง

ลิกส์ 3.2 แบ่งประเภทของป๊มั น้ามนั ไฮดรอลิกส์ไดถ้ ูกต้อง

3.2 การทางานของชุดตน้ กาลงั ไฮดรอลกิ ส์ 3.3 อธิบายหนา้ ท่ีของปั๊มน้ามันไฮดรอลิกสไ์ ดถ้ กู ต้อง

3.3 การทดสอบหาความดนั สูงสดุ ที่ล้ินระบายความ 3.4 อธิบายหน้าท่ขี องน้ามนั ไฮดรอลกิ สไ์ ดถ้ ูกต้อง

ดันน้ามันหลกั 3.5 ตอ่ วงจรการควบคุมกระบอกสบู ทางเดยี วด้วยวาลว์ 2/2 ,
3.4 การทดสอบหาปรมิ าณการสง่ จ่ายนา้ มันของปั๊ม 3/2 WAY VALVE ไดถ้ ูกต้อง
3.5 ถงั เกบ็ นา้ มนั
3.6 เพ่อื ใหม้ ีกจิ นิสยั ในการทางานทด่ี ี ตรงตอ่ เวลา โดยยึดหลกั

3.6 หนา้ ท่ขี องน้ามันไฮดรอลกิ ส์ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3.7 กรองน้ามัน

3.8 เกจวดั ความดนั

3.9 ปั๊มน้ามนั ไฮดรอลกิ ส์

3.10 การแบง่ ประเภทของปัม๊ นา้ มนั ไฮดรอลกิ ส์

3.11 การคานวณหาปรมิ าณการสง่ จา่ ยน้ามนั ของปัม๊

และกาลังที่ตอ้ งใชใ้ นการขบั ป๊มั

3.12 ใบงานที่ 3,4 การควบคุมกระบอกสบู ทางเดียว

ดว้ ยวาลว์ 2/2,3/2 WAY VALVE

หน่วยที่ 4 ชดุ ปรบั คา่ แรงบดิ หรอื แรงดนั ของตวั นักศกึ ษาสามารถ

ทางาน

4.1 หนา้ ทข่ี องลนิ้ ควบคุมความดันน้ามนั 4.1 อธบิ ายหนา้ ที่ของลนิ้ ควบคมุ ความดันนา้ มันได้ถูกตอ้ ง

4.2 ตาแหนง่ และการติดต้ังล้นิ ควบคุมความดนั 4.2 บอกตาแหน่งและการติดตง้ั ล้นิ ควบคมุ ความดันไดถ้ ูกต้อง

    หนังสือ "งานระบบฉีดเชื้อเพลิงควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 20101-2104" เรียบเรียงขึ้นตรงตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก มีเนื้อหาให้สามารถศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทำงานของระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ในเครื่องยนต์แก๊สโซลีนและดีเซล การตรวจสภาพและบำรุงรักษาระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ ตรงตามคำอธิบายรายวิชาของกลุ่มวิชาช่างยนต์ที่ควรรู้ พร้อมแบบฝึกหัดท้ายบทเพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจ

หนังสือ “งานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์” เล่มนี้ เนื้อหาครอบคลุมตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 สาขาวิชาช่างยนต์ รหัสวิชา 2101-2109 ได้ผ่านการตรวจประเมินคุณภาพจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ครั้งที่ 1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ลำดับที่ 10

ปรับปรุงจากหนังสือ “อิเล็กทรอนิกส์รถยนต์” และเอกสารประกอบการเรียนวิชางานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์

ผู้เขียนได้จัดเรียงเทคโนโลยีของรถยนต์ โตโยต้า นิสสัน มิตซูบิชิ และอีซูซุ ใหม่ให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกในการเรียนการสอน เนื้อหาครบถ้วน จบสมบูรณ์ในแต่ละบท ทั้งด้านทฤษฎี แบบฝึกหัด และใบงาน

1. แบตเตอรี่ควรมีฉนวนหุ้มที่ขั้วแบตเตอรี่ขั้วใด
ก. ขั้วบวก
ข. ขั้วลบ
ค. ไม่จําเป็นต้องมีฉนวนหุ้ม
ง. หุ้มทั้งสองขั้ว

2. สาเหตุไฟไม่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่เกิดจากอะไร
ก. เปิดเครื่องเสียงมากเกินไป
ข. ฉนวนหุ้มขั้วแบตเตอรี่หลุด
ค. เปิดสัญญาณไฟเลี้ยวมากเกินไป
ง. ไดชาร์จชํารุดหรือสายพานไดชาร์จหย่อนหรือขาด

3. สาเหตุรถสตาร์ทไม่ติดเกิดจากสาเหตุใด
ก. กรองอากาศตัน
ข. น้ํามันเบรกหมด
ค. น้ําในหม้อน้ําแห้ง
ง. แบตเตอรี่ไม่มีไฟ

4. การตรวจเช็กแบตเตอรี่แบบง่ายๆ ว่ามีไฟปกติหรือไม่ กระทําได้อย่างไร
ก. บีบแตรและฟังเสียงว่าปกติหรือเบาลง
ข. ออกรถ 2-3 เมตรแล้วทดสอบเบรก
ค. เหยียบคลัตช์และเข้าเกียร์ให้ครบ
ง. หมุนพวงมาลัยไปด้านซ้ายและขวา

5. ผู้ขับขี่ควรใช้สัญญาณไฟฉุกเฉินเมื่อใด
ก. เมื่อมีหมอก ฝน ฝุ่น ควัน ในทางเดินรถ
ข. เมื่อขับรถผ่านทางร่วมทางแยก
ค. เมื่อจะกลับรถหรือเปลี่ยนช่องทางเดินรถ
ง. เมื่อรถเสียหรือเกิดอุบัติเหตุ

6. วิธีใดเป็นวิธีการแก้ไขเบื้องต้นเมื่อเกิดไฟลัดวงจร
ก. รีบเปิดฝาหม้อน้ําทันที
ข. ดับเครื่องยนต์และถอดขั้วแบตเตอรี่ออก
ค. รีบโทรแจ้งเจ้าหน้าที่ดับเพลิง
ง. ใช้น้ําสาดทันที

7. ถ้าขั้วแบตเตอรี่มีคราบขี้เกลือ วิธีการใดเป็นการแก้ไขที่ดีที่สุด
ก. ใช้น้ําอุ่นล้างและทาจาระบี
ข. ใช้น้ําส้มสายชูล้าง
ค. ใช้น้ํามะนาวล้าง
ง. ใช้น้ํากลั่นล้าง

8. ในการถอดขั้วแบตเตอรี่ ควรถอดขั้วใดก่อน
ก. ขั้วไหนก่อนก็ได้
ข. ขั้วบวก
ค. ทั้งสองขั้วพร้อมกัน
ง. ขั้วลบ

9. น้ําที่ใช้เติมในแบตเตอรี่ ควรใช้น้ําชนิดใด
ก. น้ํากลั่น
ข. น้ําฝน
ค. น้ําบาดาล
ง. น้ําสบู่

10. การเติมน้ํากลั่นควรให้อยู่ระดับใดของแบตเตอรี่
ก. ให้อยู่ระหว่างขีดที่กําหนด
ข. เติมให้อยู่ระดับขีดต่ํากว่าที่กําหนดเล็กน้อย
ค. เติมให้อยู่ระดับสูงกว่าที่กําหนดเล็กน้อย
ง. เติมจนล้นแล้วปิดฝา

11. ขณะขับรถไฟเตือนสีใดไม่ควรแสดงอยู่บนแผงหน้าปัด
ก. สีเขียว
ข. สีเหลือง
ค. สีแดง
ง. สีน้ําเงิน

12. คราบขี้เกลือที่ขั้วแบตเตอรี่เกิดจากสาเหตุใด
ก. ฝุ่นละอองไปเกาะ
ข. น้ํากรดทําปฏิกิริยากับอากาศ
ค. น้ําไปโดนที่ขั้วแบตเตอรี่
ง. ฉนวนหุ้มขั้วแบตเตอรี่สกปรก

13. แบตเตอรี่รถยนต์มีหน้าที่อย่างไร
ก. เก็บรักษาไฟฟ้าและจ่ายกระแสไฟ
ข. ใช้เวลากับเครื่องยนต์
ค. ตัดกระแสไฟ
ง. ทําหน้าที่ผลิตไฟฟ้าในรถยนต์

14. แบตเตอรี่รถยนต์จะมีขนาดแรงดันไฟฟ้ากี่โวลท์
ก. 12 โวลท์
ข. 15 โวลท์
ค. 24 โวลท์
ง. 220 โวลท์

15. ไดสตาร์ททําหน้าที่อะไร
ก. ทําให้หมุนพวงมาลัยได้ดี
ข. ทําให้เครื่องยนต์ติด
ค. ทําให้ระบบเบรกทํางานดีขึ้น
ง. ทําให้แอร์ในรถเย็นขึ้น

16. ข้อใดคือความตึงของสายพานพัดลมและไดชาร์ทที่ถูกต้อง
ก. 5-15 มิลลิเมตร
ข. 20-25 มิลลิเมตร
ค. 25-30 มิลลิเมตร
ง. 30-35 มิลลิเมตร

17. ขณะขับรถไปได้ระยะหนึ่งปรากฏว่าไฟเตือนสีแดง แสดงเกิดจากสาเหตุใด
ก. ไดชาร์ทชํารุด
ข. แบตเตอรี่เสีย
ค. แบตเตอรี่ใกล้หมดอายุ
ง. น้ํากลั่นแห้ง

18. การเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ควรเติมให้ท่วมแผ่นธาตุประมาณเท่าไร
ก. 1 นิ้ว
ข. 2 นิ้ว
ค. 3 นิ้ว
ง. 4 นิ้ว

19. ไดชาร์จทําหน้าที่อะไร
ก. ทําหน้าที่สตาร์ทเครื่องยนต์
ข. ทําหน้าที่ผลิตไฟฟ้าในรถยนต์
ค. ทําหน้าที่ดับเครื่องยนต์
ง. ทําหน้าที่เช็กอุณหภูมิความร้อนในรถยนต์

20. ท่านควรเติมน้ํามันเชื้อเพลิงรถเครื่องยนต์เบนซินอย่างไร
ก. เติมค่าที่ต่ํากว่าค่าที่กําหนดเพื่อความประหยัด
ข. เติมสูงกว่าค่าที่กําหนดเพื่อป้องกันเครื่องยนต์เสียหาย
ค. เติมน้ํามันที่มีค่าออกเทนตามที่ระบุไว้ในคู่มือรถ
ง. เติมค่าเท่าใดก็ได้ตามความสะดวก

21. น้ํามันแก๊สโซฮอล์ มีความหมายอย่างไร
ก. น้ํามันที่มีส่วนผสมของเอทานอล
ข. น้ํามันที่มีส่วนผสมของสารตะกั่ว
ค. น้ํามันที่ได้จากพืช 100 เปอร์เซ็นต์
ง. น้ํามันที่มีส่วนผสมของน้ํามันหล่อลื่น

22. น้ํามันแก๊สโซฮอล์ที่มีจําหน่ายในประเทศไทยมีค่าออกเทนสูงสุดเท่าใด
ก. ค่าออกเทน 98
ข. ค่าออกเทน 95
ค. ค่าออกเทน 91
ง. ค่าออกเทน 87

23. ในการตรวจเช็กน้ํามันเชื้อเพลิงในห้องเครื่องยนต์เราควรตรวจสิ่งใดเป็นหลัก
ก. การเผาไหม้ของเครื่องยนต์
ข. การปลอมปนของน้ํามัน
ค. สภาพของท่อน้ํามันและรอยรั่วซึม
ง. ปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิง

24. หากท่านเติมน้ํามันผิดประเภทควรปฏิบัติอย่างไร
ก. เติมชนิดที่ถูกเข้าไปเพื่อทําให้เจือจาง
ข. ขับไปให้หมดถังแล้วเติมชนิดที่ถูกเข้าไป
ค. ทําการเปลี่ยนถ่ายออกทันที
ง. ขับไปถ้ามีผลต่อเครื่องยนต์ค่อยถ่ายออก

25. หากท่านตรวจพบว่าท่อน้ํามันเริ่มมีรอยน้ํามันซึมออกมาท่านควรทําอย่างไร
ก. สลับท่อไปไว้ในท่อแรงดันต่ํา
ข. ใช้เทปรัดให้แน่นขึ้น
ค. ใช้ไปได้จนกว่าจะมีรอยหยดของน้ํามัน
ง. ทําการเปลี่ยนท่อใหม่

26. หากรถของท่านเกิดท่อน้ํามันรั่วท่านควรทําอย่างไร
ก. ดับเครื่องยนต์และไม่ควรขับรถต่อไปเนื่องจากอาจเกิดไฟไหม้ได้
ข. ขับไปหาศูนย์บริการเพื่อทําการซ่อม
ค. ใช้เทบรัดและขับไปหาช่าง
ง. นําขวดมารองน้ํามันที่รั่วและขับต่อไป

27. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ไม่ควรเติมน้ํามันหล่อลื่นลงไปผสมในน้ํามันเชื้อเพลิง
ข. การเติมน้ํามันควรเติมในช่วงกลางวัน
ค. เราไม่สามารถเติมน้ํามันค่าออกเทน 95 แทนออกเทน 91 ได้
ง. น้ํามันที่แพงคือน้ํามันที่ดีที่สุด

28. เครื่องยนต์เบนซินกับเครื่องยนต์ดีเซลมีข้อแตกต่างอย่างไร
ก. มีระบบการสตาร์ทต่างกัน
ข. มีระบบการใช้น้ําระบายความร้อนต่างกัน
ค. เครื่องยนต์เบนซินใช้หัวเทียนในการจุดระเบิด
ง. มีระบบไฟต่างกัน

29. ในกรณีที่รถให้ใช้น้ํามันออกเทน 95 เท่านั้น ถ้าหากเราเติมน้ํามันค่าออกเทน 91 จะมีผลอย่างไร
ก. ใช้งานได้ตามปกติ
ข. เครื่องยนต์เกิดการสะดุด (น็อก)
ค. เครื่องยนต์พังทันทีหากใช้งาน
ง. ไม่มีผลต่อการใช้งาน

30. ในกรณีที่เติมน้ํามันที่มีค่าออกเทนสูงกว่าในคู่มือการใช้จะมีผลอย่างไร
ก. เครื่องยนต์ร้อนขึ้นกว่าเดิม
ข. ไม่มีผลต่อการใช้งาน
ค. เครื่องยนต์สึกหรอกว่าปกติ
ง. รอบเครื่องยนต์สูงขึ้นกว่าปกติ

31. ในขณะที่ท่านเติมน้ํามันเชื้อเพลิงท่านควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ดับเครื่องยนต์
ข. ลงจากรถและเดินออกให้ไกล
ค. ไม่ต้องทําอะไร
ง. ติดเครื่องยนต์ไว้

32. การตรวจเช็กรอยรั่วซึมระบบเชื้อเพลิงท่านควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ใช้น้ําสบู่เช็ดหาคราบน้ํามัน
ข. ใช้ไฟฉายหรือไฟแช็กส่องดูถ้ามองไม่เห็น
ค. ใช้จากการสังเกตและการดมกลิ่น
ง. ใช้มือหมุนท่อยางหาความบกพร่อง

33. หากท่านใช้ก๊าชธรรมชาติ CNG จะมีผลต่อเครื่องยนต์อย่างไร
ก. ไม่มีผลต่อเครื่องยนต์
ข. เครื่องยนต์สึกหรอเร็วกว่าการใช้น้ํามัน
ค. เครื่องยนต์จะเย็นกว่าปกติ
ง. อายุการใช้งานหัวเทียนมากกว่าการใช้น้ํามัน

34. น้ํามันเบนซิน E85 หมายความว่า
ก. มีส่วนผสมของเมทานอล 15 ส่วน
ข. มีส่วนผสมของเอทานอล 15 ส่วน
ค. มีส่วนผสมของน้ํามัน 85 ส่วน
ง. มีส่วนผสมของเอทานอล 85 ส่วน

35. น้ํามันเชื้อเพลิงในข้อใดมีการระเหยเร็วมากที่สุด
ก. น้ํามัน E85
ข. น้ํามัน E20
ค. น้ํามันแก๊สโซฮอล์ 95
ง. น้ํามัน 95

36. รถเครื่องยนต์ดีเซลหากมีสัญญาณเตือนในระบบกรองดักน้ํา ท่านควรทําอย่างไร

ก. ถอดกรองดังน้ําออกมาทําความสะอาด
ข. ให้ช่างเปลี่ยนกรองดักน้ํา
ค. ถ่ายน้ําออกจากกรองดักน้ํา
ง. ดับเครื่องยนต์และสตาร์ทเครื่องใหม่

37. รถเครื่องยนต์ดีเซลหากมีควันดํามากผิดปกติเกิดจากสาเหตุใด
ก. กรองอากาศตัน
ข. เติมน้ํามันผิดประเภท
ค. เติมน้ํามันปลอม
ง. ในน้ํามันเชื้อเพลิงมีน้ําผสมอยู่

38. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของน้ํามันเครื่องยนต์
ก. ระบายความร้อน
ข. รองหรือคั่นหน้าผิวสัมผัส
ค. สร้างความหนืด
ง. ชําระสิ่งสกปรกเครื่องยนต์

39. การเปลี่ยนถ่ายน้ํามันเครื่องยนต์ ควรต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ชิ้นส่วนใดของเครื่องยนต์ด้วย
ก. สายพานเครื่องยนต์
ข. หัวเทียน
ค. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง
ง. กรองน้ํามันเครื่อง

40. การตรวจเช็กระดับน้ํามันหล่อลื่นในเครื่องยนต์ตรวจเช็กที่อุปกรณ์ส่วนใดของเครื่องยนต์
ก. อ่างน้ํามันเครื่อง
ข. ฝาเติมน้ํามันเครื่อง
ค. กรองน้ํามันเครื่อง
ง. ก้านวัดน้ํามันเครื่อง

41. ข้อใดเป็นขั้นตอนก่อนตรวจเช็กและเติมระดับน้ํามันหล่อลื่นเครื่องยนต์ ที่ถูกต้อง
ก. จอดรถบนพื้นราบ เช็กน้ํามันขณะยังติดเครื่องยนต์อยู่อย่างน้อย 10-15 นาที
ข. จอดรถบนพื้นราบ เช็กน้ํามันขณะยังไม่ติดเครื่อง หรือดับเครื่องยนต์อย่างน้อย 10-15 นาที
ค. จอดรถบนพื้นราบ เช็กน้ํามันหลังดับเครื่องยนต์ทันที
ง. จอดรถบนพื้นราบ เช็กน้ํามันขณะยังติดเครื่องยนต์ หรือดับเครื่องยนต์ทันที

42. ข้อใดคือวิธีการสังเกตรอยรั่วซึมของน้ํามันหล่อลื่นเครื่องยนต์
ก. สังเกตที่พื้นที่รถจอด และตามรอยต่อ หรือข้อต่อเครื่องยนต์
ข. สังเกตที่อาการเสียงดังของเครื่องยนต์
ค. สังเกตได้จากการคมกลิ่นน้ํามันหล่อลื่นเครื่องยนต์
ง. สังเกตจากความร้อนที่ขึ้นสูงของเครื่องยนต์

43. หากลมยางล้อหน้าด้านซ้ายอ่อนเวลาขับรถจะมีผลอย่างไร
ก. ยางล้อหลังสึกหรอไม่สม่ําเสมอ
ข. รถกินน้ํามันน้อยกว่าปกติ
ค. พวงมาลัยกินไปด้านขวา
ง. พวงมาลัยกินไปด้านซ้าย

44. ถ้าเติมลมยางอ่อนเกินไป จะมีผลกับยางอย่างไร
ก. ดอกยางตรงกลางจะสึกเร็วกว่าปกติ
ข. การขับขี่จะแข็งกระด้าง
ค. ทําให้ดอกยางทางด้านข้างทั้งสองสึกหรอ
ง. ทําให้กินน้ํามันน้อยลง

45. ถ้าเติมลมยางแข็งเกินไป จะมีผลกับยางอย่างไร
ก. ดอกยางตรงกลางจะสึกหรอเร็วกว่าปกติ
ข. การขับขี่จะนุ่มนวลขึ้น
ค. ทําให้กินน้ํามันเชื้อเพลิง
ง. ดอกยางด้านข้างจะสึกเร็วกว่าปกติ

46. การตรวจสอบลมยางข้อใดถูกต้อง
ก. 1 เดือน
ข. 2 เดือน
ค. 3 เดือน
ง. อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง

47. การเติมลมยางข้อใดถูกต้อง
ก. เติมในขณะยางยังร้อนอยู่
ข. ควรเติมลมยางในขณะที่ยางยังเย็นอยู่
ค. ควรเติมลมยางให้แข็งมากๆ
ง. ควรเติมลมยางให้อ่อนมากๆ

48. โดยปกติการสลับยางควรสลับทุกระยะทางกี่กิโลเมตร
ก. 10,000 กิโลเมตร
ข. 25,000 กิโลเมตร
ค. 30,000 กิโลเมตร
ง. 35,000 กิโลเมตร

49. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทําให้ยางระเบิด
ก. ใช้ยางเก่าเก็บ
ข. ใช้ยางหมดอายุ
ค. บรรทุกน้ําหนักมากเกินไป
ง. เติมลมยางให้พอดีตามที่กําหนด

50. ยางมีหน้าที่อย่างไร
ก. ตัดต่อเครื่องยนต์
ข. ทําให้รถมีกําลังขับเคลื่อน
ค. ช่วยยึดเกาะถนนไม่ให้ลื่นไถล
ง. ระบายความร้อน

51. การเติมลมยางสําหรับรถยนต์ ควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ใช้วิธีเคาะแล้วฟังเสียงยาง
ข. คาดคะเนด้วยสายตา
ค. ปฏิบัติตามคู่มือการใช้รถ
ง. เติมเท่าไรก็ได้

52. ฝาปิดจุ๊บลมยางมีประโยชน์อย่างไร
ก. ป้องกันลมรั่วซึมและสิ่งสกปรกต่างๆ
ข. ป้องกันยางแตก
ค. ป้องกันการขโมยยาง
ง. ป้องกันไม่ให้ใครมาเติมลม

53. การเปลี่ยนขนาดยางเล็กเกินไปจะเกิดผลเสียอย่างไร
ก. ทําให้กินน้ํามันมากกว่าเดิม
ข. พวงมาลัยหนักขณะใช้ความเร็วต่ํา
ค. ยางจะเสียดสีกับตัวถังรถ
ง. ความสามารถในการรับน้ําหนักลดน้อยลง

54. การเปลี่ยนขนาดยางใหญ่เกินไปจะเกิดผลเสียอย่างไร
ก. สิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง
ข. ความสามารถในการรับน้ําหนักลดน้อยลง
ค. การสึกหรอของดอกยางจะมากขึ้น
ง. พวงมาลัยจะเบามากเมื่อความเร็วต่ํา

55. ตัวเลขสองตัวแรก 21 บ่งบอกถึงอะไร

ก. วันที่ผลิตยาง
ข. สัปดาห์ของปีที่ผลิตยาง
ค. เดือนที่ผลิตยาง
ง. ปี ค. ศ.

56.ตัวเลขสองตัวหลัง 13 บ่งบอกถึงอะไร

ก. ปี ค.ศ. ที่ผลิต
ข. วันที่ผลิต
ค. สัปดาห์ที่ผลิต
ง. ปี ค.ศ. ที่ยางหมดอายุ

57. 195/60 R14 85H ตัว R หมายถึง
ก. ขีดจํากัดความเร็ว
ข. โครงสร้างยางแบบเรเดียล
ค. การรับน้ําหนัก
ง. เส้นผ่าศูนย์กลางล้อ

58. การตรวจความตึงของสายพานควรทําอย่างไร
ก. ใช้ไม้เคาะ
ข. ดูด้วยสายตาก็พอ
ค. ใช้มือกดที่กึ่งกลางสายพาน
ง. ถอดสายพานออกเพื่อนํามาวัด

59. อุปกรณ์ของรถส่วนใดไม่เกี่ยวกับระบบสายพาน
ก. แอร์
ข. ไดชาร์ท
ค. ปั้มน้ํา
ง. กรองอากาศ

60. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของสัญญาณแตรไม่ดัง
ก. ฟิวส์ขาด
ข. สายไฟขาด
ค. แบตเตอรี่หมด
ง. สายพานขาด

61. ข้อใดคือเสียงดังปกติ
ก. เสียงสายพานหย่อน
ข. เสียงยางรถเสียดสีกับถนน
ค. เสียงที่ดังจากที่ปัดน้ําฝน
ง. เสียงคอมเพลสเซอร์แอร์

62. ข้อใดคือผลเสียของการไม่ตรวจเช็ครถก่อนใช้งาน
ก. ค่าใช้จ่ายในการซ่อมรถยนต์มากขึ้น
ข. ประหยัดเชื้อเพลิง
ค. ลดมลพิษ
ง. ปลอดภัย

63. ถ้าเกิดเสียงดังแหลมๆ เอ๊ยดๆ หรือ จืดๆ ดังจากห้องเครื่องเกิดจากอะไร
ก. หม้อน้ําแห้ง
ข. แบตเตอรี่หมด
ค. เครื่องยนต์ทํางานผิดปกติ
ง. สายพานหย่อน

64. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ควรจะเปลี่ยนสายพาน
ก. สายพานหย่อน
ข. ร่องสายพานไม่มี
ค. สายพานแตก กรอบ
ง. สายพานขาดครึ่งเส้น

65. เสียงใดคือเสียงที่ผิดปกติจากรถยนต์
ก. เสียงไฟฉุกเฉิน
ข. เสียง ไฟเลี้ยว
ค. เสียงเบรกดัง
ง. เสียงไฟถอยหลัง

66. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเกิดควันไอเสียสีขาว
ก. กรองอากาศตัน
ข. แหวนลูกสูบหลวม
ค. เติมน้ํามันเครื่องมากเกินไป
ง. เครื่องยนต์สึกหรอมาก

67. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการสตาร์ทรถไม่ติด
ก. ขั้วแบตเตอรี่หลวม
ข. สายพานหย่อน
ค. น้ํามันเชื้อเพลิงหมด
ง. มอเตอร์สตาร์ทเสีย

68. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทําให้เครื่องยนต์ร้อนจัด
ก. น้ําในหม้อน้ําแห้ง
ข. น้ํากลั่นแบตเตอรี่แห้ง
ค. สายพานพัดลมขาด
ง. น้ํามันเครื่องแห้ง

69. ในขณะขับรถมีไฟเตือนสีแดงรูปแบตเตอรี่ปรากฏขึ้นที่แผงหน้าปัดแสดงว่าอะไร
ก. ไดชาร์ทชํารุด
ข. แบตเตอรี่เสีย
ค. น้ํากลั่นในแบตเตอรี่แห้ง
ง. แบตเตอรี่ ไม่มีไฟ

70. เบรกมือไม่ควรใช้ในสถานการณ์ใด
ก. ใช้หยุดรถบนทางลาดชัน
ข. ใช้เมื่อหยุดรถขณะติดไฟแดง
ค. ใช้จอดรถบนทางลาดชัน
ง.ใช้เมื่อขับรถลงทางลาดชัน

71. เบรกมือควรใช้ในสถานการณ์ใด
ก. ใช้จอดหรือหยุดรถบนทางลาดชัน
ข. ใช้เพื่อชะลอความเร็ว
ค. ใช้เมื่อต้องการหยุดรถกะทันหัน
ง. ใช้เมื่อขับรถลงทางลาดชัน

72. ควรหลีกเลี่ยงการใช้เบรกอย่างรุนแรงเมื่ออยู่ในสถานการณ์ใด
ก. ทางขึ้นลาดชัน
ข. ทางร่วม ทางแยก
ค. ทางโค้ง
ง. ทางลงลาดชัน

73. วิธียืดอายุการใช้งานของผ้าเบรกควรทําอย่างไร
ก. ควรกะระยะในการหยุดรถและเบรกอย่างนุ่มนวล
ข. ควรเบรกแบบกะชั้นชิด
ค. ควรเบรกและหมุนพวงมาลัยไปทางซ้ายและขวาเล็กน้อย
ง. ควรใช้เบรกมือและเบรกเท้าพร้อมกันเมื่อต้องการหยุดรถ

74. อุปกรณ์ใดที่ไม่มีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของเบรกรถ
ก. ยางรถยนต์
ข. พวงมาลัย
ค. เกียร์
ง. ระบบช่วงล่าง

75. ถ้าไม่ปลดล็อกเบรกมือเมื่อเคลื่อนรถจะมีอาการอย่างไร
ก. เมื่อรถเคลื่อนตัวจะรู้สึกว่ารถเร่งความเร็วไม่ขึ้น
ข. เมื่อรถเคลื่อนตัวจะรู้สึกว่ารถออกตัวเร็วขึ้น
ค. เมื่อหมุนพวงมาลัยจะรู้สึกหนัก
ง. เครื่องยนต์มีอาการสะดุด

76. เบรกเท้าจะทํางานที่ล้อใดบ้าง
ก. ล้อหน้าซ้าย ล้อหลังขวา
ข. ล้อคู่หน้า
ค. ล้อคู่หลัง
ง. ทั้ง 4 ล้อ

77. สีของน้ํามันเบรกที่มีคุณภาพคือสีอะไร
ก. สีเหลืองใส
ข. สีดําข้น
ค. สีแดง
ง. สีน้ําตาลเข้ม

78. สีของน้ํามันเบรกที่เสื่อมสภาพคือสีใด
ก. สีฟ้า
ข. สีแดง
ค. สีดํา
ง. สีเหลือง

79. เบรกมือใช้ควบคุมล้อใดของรถ
ก. ล้อคู่หลัง
ข. ล้อคู่หน้า
ค. ทั้งสี่ล้อ
ง. ล้อหลังขวา ล้อหน้าซ้าย

80. เมื่อเหยียบเบรกแล้วเกิดเสียงดังเป็นเพราะสาเหตุใด
ก. ผ้าเบรกหมดหรือหมดอายุ
ข. ยางหมดอายุ
ค. ลมยางอ่อน
ง. ลมยางแข็ง

81. ผ้าเบรกจะทํางานเสียดสีกับอุปกรณ์ส่วนใดของรถยนต์
ก. ยางรถยนต์
ข. ล้อรถยนต์
ค. กระทะล้อ
ง. จานเบรก

82. ข้อใดคือหน้าที่ของน้ํามันเครื่องยนต์
ก. ระบายความร้อนออกจากหม้อน้ํา
ข. ระบายความร้อนออกจากเครื่องยนต์
ค. ระบายความร้อนจากผ้าเบรก
ง. ทําความสะอาดหม้อน้ํา

83. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของน้ํามันเครื่องยนต์
ก. ระบายความร้อนออกจากหม้อน้ํา
ข. หล่อลื่นชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่เพื่อลดการสึกหรอ
ค. ทําความสะอาดชิ้นส่วนภายในเครื่องยนต์
ง. ระบายความร้อนออกจากเครื่องยนต์

84. การเตรียมความพร้อมของรถยนต์ก่อนการตรวจวัดระดับน้ํามันเครื่องยนต์ ข้อใดถูกต้อง ก. จอดรถยนต์บนพื้นราบและดับเครื่องยนต์
ข. จอดรถยนต์บนพื้นลาดเอียงและติดเครื่องยนต์
ค. จอดรถยนต์ที่ใดก็ได้และติดเครื่องยนต์
ง. ล้างอัดฉีดรถยนต์ให้สะอาดก่อน

85, การตรวจเช็กระดับน้ํามันเครื่องยนต์ดูได้จากสิ่งใด
ก. ก้านวัดระดับน้ํามันเครื่องยนต์
ข. ก้านวัดระดับน้ํามันเกียร์ออโต้
ค. ก้านวัดระดับน้ํามันเพาเวอร์
ง. กรองน้ํามันเครื่องยนต์

86. การตรวจวัดระดับน้ํามันเครื่องยนต์ในข้อใดมีระดับน้ํามันที่ดีที่สุด
ก. น้ํามันเครื่องยนต์อยู่ระดับ F
ข. น้ํามันเครื่องยนต์อยู่ระดับ L
ค. น้ํามันเครื่องยนต์อยู่ระดับต่ํากว่า L
ง. น้ํามันเครื่องยนต์อยู่ระดับต่ํากว่า F

87. ถ้าระดับน้ํามันเครื่องยนต์สูงเกินไปจะมีผลอย่างไร
ก. ลดความร้อนของเครื่องยนต์
ข. ยืดอายุการใช้งานของเครื่องยนต์ให้ยาวกว่าปกติ
ค. ทําให้เกิดแรงดันสูงในห้องเครื่องยนต์ และมีควันขาว
ง. เกิดการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ ลดมลพิษ

88. ถ้าระดับน้ํามันเครื่องยนต์ต่ําเกินไปจะมีผลอย่างไร
ก. ประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิง
ข. ยืดอายุการทํางานของชิ้นส่วนเครื่องยนต์
ค. เครื่องแรงสตาร์ทติดง่าย
ง. ทําให้ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์สึกหรออย่างรวดเร็ว

89. เพื่อความปลอดภัยในการใช้รถควรตรวจวัดระดับน้ํามันเครื่องยนต์อย่างน้อยที่สุด
ก. สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
ข. เดือนละ 2 ครั้ง
ค. เดือนละ 1 ครั้ง
ง. สองเดือน 1 ครั้ง

90. น้ํามันเบรกควรเปลี่ยนเมื่อใด
ก. ควรเปลี่ยนทุก 3 เดือน
ข. ควรเปลี่ยนทุก 6 เดือน
ค. ควรเปลี่ยนทุก 1 ปี
ง. ควรเปลี่ยนทุกครั้งที่เปลี่ยนน้ํามันเครื่อง

91. คุณสมบัติของน้ํามันเบรกคือข้อใด
ก. ของเหลวที่ทําหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดกําลังจากแป้นเบรก
ข. น้ํามันหล่อลื่นที่มีจุดเดือดต่ํา
ค. สารเคมีที่ใช้ไล่ความชื้น
ง. น้ํามันหล่อลื่นที่ระเหยได้ง่าย

92. ข้อใดคือการตรวจวัดระดับน้ํามันเครื่องยนต์
ก. ฟังเสียงเครื่องยนต์
ข. ดึงก้านวัดน้ํามันเครื่องออกมาตรวจสอบ
ค. คูรอยหยดของน้ํามันเครื่อง
ง. เปิดฝาน้ํามันเครื่องดู

93. หากระดับน้ํามันเพาเวอร์ต่ํากว่ากําหนด จะมีผลอย่างไรต่อการขับรถของท่าน
ก. พวงมาลัยจะหนักมากกว่าปกติ
ข. ขับรถแล้วจะเอียงซ้าย
ค. ขับรถแล้วจะเอียงขวา
ง. ขับรถแล้วส่ายไปมา

94. ควรเปลี่ยนน้ํามันเบรกเมื่อใด
ก. ควรเปลี่ยนทุก 2 ปี
ข. ควรเปลี่ยนทุก 5 ปี
ค. ควรเปลี่ยนทุกปี
ง. ไม่ต้องเปลี่ยน คอยเติมให้ได้ระดับเท่านั้น

95. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของน้ํามันเครื่องยนต์
ก. ประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิง
ข. ช่วยหล่อลื่น ลดการเสียดสีและการสึกหรอ
ค. ป้องกันการเกิดสนิมในเครื่องยนต์
ง. ป้องกันฝุ่นละออง

96. ข้อใดไม่ใช่การตรวจสอบน้ํามันเครื่องยนต์
ก. ดมกลิ่น
ข. สี
ค. ปริมาณ
ง. ความหนืด สิ่งเจือปน

97. การเติมน้ํามันเครื่องควรเติมปริมาณเท่าไหร่
ก. เติมให้สูงกว่าขีดบนของก้านวัด
ข. ปริมาณเสมอขีดบนของก้านวัด
ค. เติมให้ต่ํากว่าขีดล่างของก้านวัด
ง. เติมให้เต็มเครื่องยนต์

98. หม้อน้ํารถยนต์มีหน้าที่อะไร
ก. ระบายความร้อนของเครื่องยนต์
ข. ทําให้รถวิ่งเร็วขึ้น
ค. ระบายความร้อนให้ห้องผู้โดยสาร
ง. ทําให้ประหยัดน้ํามัน

99. การเติมน้ําในหม้อพักน้ําควรเติมให้อยู่ในระดับใด
ก. เติมให้อยู่ระหว่าง Full กับ Low
ข. เติมให้เลยระดับ Full
ค. เติมให้ต่ํากว่า Low
ง. เติมให้ถึงฝาปิด

100. อุณหภูมิเครื่องยนต์ที่ทํางานปกติควรอยู่เท่าไร
ก. 60 – 70 องศาเซลเซียส
ข. 50 -60 องศาเซลเซียส
ค. 40-50 องศาเซลเซียส
ง. 80 95 องศาเซลเซียส

101. ถ้าเครื่องยนต์ร้อนจัดไม่ควรปฏิบัติอย่างไร
ก. เติมน้ําเมื่อเครื่องยนต์เย็นลง
ข. เอาน้ําราดลงไปที่เครื่องยนต์จะทําให้เครื่องยนต์เย็น
ค. เปิดฝากระโปรงเพื่อระบายความร้อน
ง. ปิดแอร์ เปิดหน้าต่างและจอดรถ

102. ถ้าพัดลมหม้อน้ําเสียจะเกิดอะไรขึ้น
ก. อุณหภูมิของน้ําและเครื่องยนต์จะเพิ่มขึ้น
ข. อุณหภูมิของน้ําและเครื่องยนต์จะลดลง
ค. อุณหภูมิของน้ําและเครื่องยนต์จะคงที่
ง. ประหยัดน้ํามัน

103, พัดลมหม้อน้ํามีหน้าที่อะไร
ก. ช่วยระบายความร้อนของเบรก
ข. ทําให้น้ําร้อนเร็วขึ้น
ค. ช่วยระบายความร้อนของหม้อน้ํา
ง. ทําให้ประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิง

104. ไม่ควรเปิดฝาหม้อน้ําในกรณีใด
ก. เปิดตอนเช้าขณะยังไม่ติดเครื่องยนต์
ข. เครื่องเย็น
ค. เครื่องร้อนจัด
ง. เปิดถังพักสํารองหม้อน้ําเพื่อเติมน้ํา

105. สภาพท่อยางหม้อน้ําที่ยังใช้งานได้ดีต้องมีลักษณะอย่างไร
ก. บีบแล้วต้องมีความยืดหยุ่น
ข. บีบแล้วต้องแข็งกระด้าง
ค. มีรอยบวมที่ท่อยาง
ง. มีรอยฉีกขาด

106. ปั้มน้ํารถยนต์มีหน้าที่อย่างไร
ก. ทําให้น้ําหมุนเวียนจากเครื่องไปยังหม้อน้ําแล้วไหลกลับเข้าเครื่องยนต์
ข. ทําให้น้ํามันเชื้อเพลิงหมุนเวียนจากเครื่องไปยังถังน้ํามันเชื้อเพลิง
ค. ทําให้น้ํามันเครื่องหมุนเวียนภายในเครื่องยนต์
ง. ปั้มน้ําจากภายนอกเวลาน้ําในหม้อน้ําขาดหายไป

107. ข้อใดคือวิธีป้องกันไม่ให้เครื่องยนต์ร้อนจัด
ก. เติมยางรถยนต์ให้มากกว่าปกติ
ข. เปิดเครื่องปรับอากาศรถยนต์ให้แรง
ค. เปลี่ยนพัดลมให้ใหญ่ขึ้น
ง. ตรวจระดับน้ําในหม้อน้ําก่อนใช้งานทุกวัน

108. การตรวจสอบลมยางล้อรถ จะต้องตรวจสอบที่ล้อใด
ก. เฉพาะล้อหน้า
ข. เฉพาะล้อหลัง
ค. ทั้งสี่ล้อ
ง. ทั้งสี่ล้อและล้ออะไหล่

109. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. แม่แรง ค้ํายัน ใช้ในการยกรถ
ข. ยางอะไหล่ไม่จําเป็นต้องมีก็ได้
ค. ไฟฉาย ช่วยในการหาจุดชํารุดในเวลากลางคืน
ง. อุปกรณ์ดับเพลิง ใช้เมื่อเกิดเพลิงไหม้เครื่องยนต์

110. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตรวจเช็กรถก่อนใช้งาน
ก. ตรวจการชํารุดของสัญญาณไฟโดยการเปิดไฟกระพริบรอบตัวรถ
ข. เพื่อยืดอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ ควรใช้น้ําบาดาลเติมอยู่เสมอ
ค. ควรดับเครื่องก่อนเช็คน้ํามันหล่อลื่น
ง. ตรวจวัดแรงดันลมยางเป็นประจํา

111. ข้อใดเป็นการตรวจเช็กและบํารุงรักษาอุปกรณ์รถยนต์ที่ไม่ถูกต้อง
ก. เติมน้ําฉีดกระจกด้วยน้ําสะอาดผสมน้ํายาล้างจานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการล้างสิ่งสกปรก
ข. เติมน้ํามันเครื่องโดยเติมให้อยู่ระดับบนเสมอ
ค. ควรใช้น้ํากลั่นเติมลงในแบตเตอรี่ทุกครั้ง
ง. ควรตรวจสอบการรัดตรึงของหัวขั้วแบตเตอรี่ให้มีสภาพพร้อมใช้งานเสมอ

112. การตรวจสอบระดับน้ํามันเครื่องในเครื่องยนต์ ควรตรวจสอบเมื่อใด
ก. หลังดับเครื่องยนต์ทันที
ข. ขณะที่เครื่องยนต์ทํางาน
ค. หลังดับเครื่องยนต์อย่างน้อย 10 นาที
ง. ขณะที่จอดรถบนเนิน

113. ในการถอดขั้วแบตเตอรี่ ควรถอดขั้วใดก่อน
ก. ถอดขั้วบวกและขั้วลบพร้อมกัน
ข. ขั้วบวก
ค. ขั้วใดก่อนก็ได้
ง. ขั้วลบ

114. ระดับของเหลวในข้อใดต่อไปนี้ หากอยู่ในระดับที่ต่ําจะมีโอกาสทําให้เกิดอุบัติเหตุ
ก. ระดับน้ํามันเบรก
ข. ระดับน้ําในแบตเตอรี่
ค. ระดับน้ํายาหล่อเย็น
ง. ระดับน้ําฉีดกระจก

115. เพราะเหตุใดจึงไม่ควรเติมน้ําในถังพักหม้อน้ําให้เต็มถัง
ก. เพราะต้องสํารองเนื้อที่ในการขยายตัวของน้ําเมื่อเกิดความร้อน
ข. เพราะน้ําในหม้อน้ําจะร้อนมากยิ่งขึ้น
ค. เพราะจะทําให้เครื่องยนต์ชํารุด
ง. เพราะจะทําให้หม้อน้ําเป็นสนิมมากยิ่งขึ้น

116. ข้อใดต่อไปนี้ปฏิบัติไม่ถูกต้อง
ก. ควรอุ่นเครื่องยนต์ก่อนออกเดินทางทุกครั้ง
ข. ฟังเสียงเครื่องยนต์ทุกครั้งว่ามีความผิดปกติหรือไม่
ค. ดับเครื่องยนต์แล้วเช็กระดับน้ํามันเครื่องทันที
ง. ตรวจสอบระบบส่งกําลังทุกครั้งว่าใช้งานได้อย่างปกติหรือไม่

117. การตรวจสอบลมยางที่ถูกต้องควรปฏิบัติอย่างไร
ก. เอาเหล็กมาตีที่หน้ายาง
ข. ใช้เครื่องวัดลมยาง
ค. ดูด้วยตาเปล่า
ง. ใช้มือคลํา

118. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่สาเหตุที่ทําให้เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดหรือติดยาก
ก. แบตเตอรี่มีไฟไม่เพียงพอ
ข. เติมน้ํามันเครื่องมากเกินไป
ค. น้ํามันเชื้อเพลิงหมด
ง. ฟิวส์ขาด

119. การตรวจสอบลมยางที่ถูกต้องจะต้องทําเมื่อใด
ก. เมื่อยางล้อรถมีอุณหภูมิต่ํา
ข. หลังจากที่ขับขี่ติดต่อมาหลายชั่วโมง
ค. เมื่อยางล้อรถมีอุณหภูมิสูง
ง. หลังจากที่ขับขี่ด้วยความเร็วสูง

120. แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานน้อยกว่าปกติมีสาเหตุเกิดจากสิ่งใด
ก. น้ํากลั่นแห้งบ่อยครั้ง
ข. เปิดไฟหน้ารถตลอดเวลาเพราะมีหมอกควันเวลาขับรถ
ค. เปิดไฟหน้าบ่อยครั้งเวลาขับในช่วงกลางคืน
ง. เปิดปิดกระจกรถบ่อยครั้งเวลาขับรถ

121. หม้อน้ําซึมสังเกตุจากสิ่งใดได้บ้าง
ก. เร่งเครื่องยนต์ไม่ขึ้น
ข. เข้าเกียร์ไม่ได้ตามปกติรู้สึกติดขัดเวลาปรับเกียร์
ค. รอบเครื่องยนต์จะสูงขึ้นมากกว่าปกติ
ง. สังเกตคราบน้ํายาหล่อเย็นบริเวณจุดที่ซึม

122. ถ้าจะเติมน้ําในถังพักหม้อน้ําไม่ควรเติมน้ําชนิดใด
ก. น้ําบาดาล
ข. น้ําฝน
ค. น้ํากลั่น
ง. น้ําประปา

123. การตรวจสอบความตึง-หย่อนของสายพานเครื่องยนต์เบื้องต้น ควรตรวจสอบอย่างไร
ก. คูสายพานเครื่องยนต์ ด้วยตาเปล่า
ข. ใช้นิ้วมือกดสายพานเครื่องยนต์
ค. ติดเครื่องฟังเสียงสายพานเครื่องยนต์
ง. ใช้มือคลําสายพานเครื่องยนต์

124. การตรวจสอบระบบไฟฟ้าในรถยนต์ควรตรวจสอบอะไรบ้าง
ก. ไฟเลี้ยวซ้าย-ขวา
ข. ไฟเบรกและไฟหน้า
ค. ไฟหน้าและไฟเลี้ยวซ้ายขวา
ง. ไฟเลี้ยวซ้าย-ขวาและไฟหน้าสูงต่ํา-ไฟหรี่ ไฟเบรก-ไฟส่องป้ายทะเบียนรถ

125. การเติมน้ําในถังพักหม้อน้ําควรอยู่ในระดับใด
ก. อยู่ระหว่างเกณฑ์สูง-ต่ํา ที่กําหนดไว้ข้างถังพักน้ํา
ข. เต็มถัง
ค. เติมเท่าไรก็ได้
ง. ครึ่งถัง

126. เหตุใดจึงไม่ควรเติมน้ําในถังพักหม้อน้ําให้เต็มถัง
ก. เพราะ จะทําให้เครื่องยนต์ชํารุด
ข. เพราะ น้ําในหม้อน้ําจะร้อนมากยิ่งขึ้น
ค. เพราะจะทําให้หม้อน้ําเป็นสนิมมากยิ่งขึ้น
ง. เพราะ สํารองเนื้อที่การขยายตัวของน้ําเมื่อเกิดความร้อน