ข้อเสียของตลาดผู้ขายน้อยราย

    เมื่อกล่าวถึงการบริหารธุรกิจแบบผูกขาดนี้ อาจจะไกลตัวมาก ๆ สำหรับผู้ประกอบการรายเล็กถึงกลางอย่างพวกเรา เพราะตลาดที่เรามีส่วนร่วมส่วนใหญ่จะเป็นตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligipoly) เช่น ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ, เครื่องบิน, น้ำมัน, รถยนต์ เป็นต้น และตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) เช่น สบู่, อุปกรณ์ช่าง, เสื้อผ้า, ปากกา, ระบบออนไลน์, เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น

ข้อเสียของตลาดผู้ขายน้อยราย

ตลาดแข่งขันไม่สมบรูณ์
         ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์เป็นลักษณะของตลาดสินค้าอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ประกอบด้วยตลาด 3 ลักษณะ คือ ตลาดผูกขาด ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด และตลาดผู้ขายน้อยราย เส้นอุปสงค์หรือเส้นราคาและเส้นรายรับส่วนเพิ่มในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์  ซึ่งประกอบด้วยตลาดทั้งสามลักษณะนั้นมีลักษณะเหมือนกัน  การอธิบายดุลยภาพในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์จะใช้เส้นอุปสงค์และเส้นรายรับเพิ่มในลักษณะเดียวกัน ซึ่งในบทนี้จะศึกษาลักษณะของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์และศึกษาตลาดผูกขาดก่อน
ลักษณะของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
         1. ผู้ขายมีจำนวนไม่มาก ในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ลักษณะของตลาดจะตรงกันข้ามกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ขายมีจำนวนไม่มาก อาจเนื่องจากเป็นกิจการที่ผูกขาดโดยรัฐ หรือการให้สัมปทานแก่เอกชนโดยรัฐ จำนวนผู้ผลิตไม่มากอาจด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่ซับซ้อน การลงทุนที่สูงเกินไป เป็นต้น
         2. ลักษณะสินค้าไม่เหมือนกันทุกประการ สินค้ามีลักษณะคล้ายกันแต่ไม่เหมือนกันอาจจะแตกต่างกันที่คุณภาพ การบริการ การโฆษณา บรรจุ หีบห่อ หรือต่างกันที่ รุ่น
         3. การเข้าหรือออกจากการผลิตทำได้ยาก การเข้าไปผลิตแข่งขัน หรือออกจากการผลิตทำได้ยากเนื่องจาก ต้องมีลิขสิทธิ์ มีเทคโนโลยี และมีการลงทุนที่สูงในการผลิต ดังนั้นการเข้าไปผลิตแข่งขันทำได้ยากและการจะออกจากการแข่งขัน หรือเลิกกิจการก็ทำได้ยาก เช่นกันเนื่องจากการลงทุนที่สูง และสัญญาการลงทุนบางประการ
         4. ความรู้ในเรื่องการตลาดไม่สมบูรณ์ ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายไม่มีความรู้เรื่องการตลาดหรือข้อมูลการตลาดอย่างสมบูรณ์ทำให้ราคาแตกต่างกัน
         การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ เนื่องจากในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ราคามีหลายระดับราคา การกำหนดราคาในตลาดแบบต่าง ๆ ก็จะกำหนดราคาแตกต่างกัน

ข้อเสียของตลาดผู้ขายน้อยราย

          https://www.l3nr.org/posts/261204

ข้อเสียของตลาดผู้ขายน้อยราย

ที่ผ่านมา เรามักเห็นการควบรวมกิจการลักษณะนี้กันเป็นระยะ ๆ โดยสิ่งหนึ่งที่ตามมาหลังการควบรวมหรือซื้อกิจการ คือ คู่แข่งในอุตสาหกรรมนั้น ลดลงเรื่อย ๆ

ซึ่งในเชิงเศรษฐศาสตร์ อุตสาหกรรมไหนหรือตลาดไหน ที่มีผู้เล่นในตลาดไม่กี่ราย
เราจะเรียกตลาดนั้นว่า “ตลาดผู้ขายน้อยราย”

แล้วลักษณะของตลาดนี้เป็นอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
เรามาทำความเข้าใจกับคำว่า “ตลาดผู้ขายน้อยราย” ในทางเศรษฐศาสตร์กันก่อน..
ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly Market) คือ ตลาดที่มีผู้ประกอบการรายใหญ่ครองส่วนแบ่งกันเพียงไม่กี่ราย เนื่องจากการที่ผู้ประกอบการรายใหม่ ถ้าจะเข้ามาในตลาดนี้ จะเจอการกีดกันในการเข้าสู่ตลาด เช่น ต้องใช้เม็ดเงินในการลงทุนสูง, ต้องได้รับใบอนุญาตในการทำธุรกิจ

สำหรับสินค้าหรือบริการ ของผู้ประกอบการแต่ละรายในตลาดผู้ขายน้อยราย อาจมีลักษณะคล้ายกันหรือต่างกันก็ได้ แต่สามารถใช้ทดแทนกันได้
และผู้ประกอบการค่อนข้างมีอำนาจในการกำหนดราคาสินค้าเหล่านั้น

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าจะสามารถกำหนดราคาสินค้าได้
แต่เนื่องจากผู้เล่นแต่ละรายต้องแย่งชิงส่วนแบ่งตลาดกัน ผู้ประกอบการในตลาดนี้ ก็มักจะต้องงัดกลยุทธ์มาแข่งขันกันอย่างดุเดือด

ในประเทศไทย ธุรกิจที่ถูกจัดอยู่ในตลาดผู้ขายน้อยราย ยกตัวอย่างเช่น

1. ธุรกิจบริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ

เริ่มต้นด้วยธุรกิจบริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ ซึ่งในประเทศไทยมีผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือรายใหญ่ 3 ราย คือ AIS, DTAC และ TRUE

ทั้ง 3 รายมีส่วนแบ่งตลาดจำนวนผู้ใช้บริการเครือข่ายธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่รวมกัน 100% ในปี 2563 โดยแบ่งเป็นของ AIS 46%, TRUE 33% และ DTAC 21%

2. ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่

ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ เป็นหนึ่งในธุรกิจที่เติบโตได้ต่อเนื่องมาหลายปีในไทย
ซึ่งเรายังสามารถแยกค้าปลีกสมัยใหม่ได้อีก 4 ประเภท
คือห้างสรรพสินค้า ร้านสะดวกซื้อ ดิสเคานต์สโตร์ และซูเปอร์มาร์เก็ต

ซึ่งถ้าเราไปดูผู้เล่นในแต่ละกลุ่มของธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่
เราจะพบว่า มีรายใหญ่เพียงไม่กี่ราย เช่น

- ห้างสรรพสินค้า (Department Store) เช่น เซ็นทรัล, เดอะมอลล์
- ดิสเคานต์สโตร์ (Hypermarket / Cash and Carry) เช่น โลตัส, บิ๊กซี
- ซูเปอร์มาร์เก็ต (Supermarket) เช่น ท็อปส์, วิลล่า มาร์เก็ท, ฟู้ดแลนด์
- ร้านสะดวกซื้อ (Convenience Store) เช่น 7-Eleven, แฟมิลี่มาร์ท, ลอว์สัน 108

3. ธุรกิจธนาคาร

สิ้นปี 2563 ข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย ระบุว่า มีจำนวนธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศทั้งหมด 19 แห่ง

ซึ่งเรื่องน่าสนใจก็คือ ธนาคารพาณิชย์รายใหญ่ 6 ราย
คือ ธนาคารกรุงเทพ, ธนาคารไทยพาณิชย์, ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารกรุงไทย, ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และธนาคารทหารไทย มีสินทรัพย์รวมกันสูงกว่า 18.5 ล้านล้านบาท หรือกว่า 92% ของสินทรัพย์รวมทั้งหมดของธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศไทย

4. ธุรกิจขนส่งพัสดุ

แม้วันนี้ ธุรกิจขนส่งพัสดุจะมีการแข่งขันกันสูง เพราะที่ผ่านมาหลายบริษัทให้ความสนใจและกระโจนเข้าสู่ธุรกิจนี้กันหลายบริษัท
แต่บริษัทอื่น ๆ ก็ยังถือว่ามีส่วนแบ่งตลาดน้อยกว่า 2 รายใหญ่ที่มาก่อน อย่างไปรษณีย์ไทย และ Kerry Express

โดยข้อมูลจาก SCB Economic Intelligence Center (EIC) ระบุว่า ในปี 2561 ส่วนแบ่งตลาดขนส่งพัสดุมีผู้เล่นรายใหญ่ในตลาด 2 รายคือ ไปรษณีย์ไทย และ Kerry Express ที่ครองส่วนแบ่งรวมกันกว่า 80%

นี่เป็นเพียงตัวอย่างบางส่วน ของธุรกิจที่อยู่ในตลาดผู้ขายน้อยราย ในประเทศไทย

อ่านมาถึงตรงนี้ บางคนอาจสงสัยว่า ตลาดผู้ขายน้อยราย มีข้อดีข้อเสียอย่างไร ? ในมุมผู้ประกอบการ และผู้บริโภค

- ถ้าในมุมของผู้ประกอบการ ซึ่งเป็น ผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการ

การที่ภายในตลาดหรืออุตสาหกรรม มีคู่แข่งจำนวนน้อย จะช่วยลดความรุนแรงในการแข่งขันไปได้พอสมควร ทำให้ไม่ต้องแข่งขันทำสงครามราคากันรุนแรง เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมที่มีผู้เล่นหลายราย

อย่างกรณีที่กำลังเกิดขึ้นระหว่าง DTAC และ TRUE นั้น
ซึ่งจะทำให้มีผู้เล่นรายใหญ่ในอุตสาหกรรม จาก 3 เหลือเพียงแค่ 2 ราย ไม่เพียงแต่การแข่งขันที่ลดลง แต่ยังทำให้ผู้เล่นมีอำนาจในการกำหนดราคามากขึ้นกว่าสมัยที่มีผู้เล่นในอุตสาหกรรมถึง 3 ราย พอสมควร

รวมไปถึงทำให้แนวโน้มการแข่งขันด้านการตลาด การออกโปรโมชัน หรือการแข่งขันเสนอราคาประมูลคลื่นความถี่ของบริษัทในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ในอนาคตจะลดลงตามไปด้วย
ซึ่งทั้งหมดนี้จะช่วยในเรื่องของต้นทุนการดำเนินงานที่ลดลง

- ถ้าเรามองในมุมของผู้บริโภคหรือลูกค้า

แน่นอนว่าเมื่อมีผู้ผลิตหรือผู้ขายสินค้าและบริการจำนวนน้อย ก็มีโอกาสที่จะทำให้ราคาสินค้าและบริการนั้น สูงกว่า เมื่อเทียบกับการซื้อสินค้าและบริการที่มีผู้ขายหรือผู้ผลิตจำนวนมาก

ตลาดที่มีผู้ขายน้อยรายคืออะไร

ตลาดผู้ขายน้อยราย คือ ตลาดที่มีผู้ขายตั้งแต่สองรายขึ้นไป ปริมาณสินค้าของผู้ขายแต่ละรายมีสัดส่วนที่ ค่อนข้างมาก ส่วนสินค้าในตลาดอาจมี ลักษณะคล้ายกันหรือต่างกัน แต่สามารถใช้ ทดแทนกันได้ ตัวอย่างของตลาดผู้ขายน้อยราย เช่น บริษัท ปูนซีเมนต์ บริษัทผลิตรถยนต์ บริษัทผลิตยาง รถยนต์ เหล็กกล้า เหมืองแร่ น้าอัดลม เป็นต้น

ข้อเสียของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ คืออะไร

1. ผู้ขายมีจำนวนไม่มาก ในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ลักษณะของตลาดจะตรงกันข้ามกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ขายมีจำนวนไม่มาก อาจเนื่องจากเป็นกิจการที่ผูกขาดโดยรัฐ หรือการให้สัมปทานแก่เอกชนโดยรัฐ จำนวนผู้ผลิตไม่มากอาจด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่ซับซ้อน การลงทุนที่สูงเกินไป เป็นต้น

ดุลยภาพในตลาดผู้ขายน้อยราย เกิดขึ้น ณ จุดใด

เงื่อนไขที่จะทาให้หน่วยธุรกิจในตลาดผู้ขายน้อยรายอยู่ในภาวะดุลยภาพ ก็คือจะต้อง ท าการผลิต ระดับที่ต้นทุนหน่วยสุดท้าย(MC) เท่ากับรายรับหน่วยสุดท้าย(MR) และ เนื่องจากว่าหน่วยธุรกิจจะก าหนดราคาไม่แตกต่างไปจากราคาตลาดในขณะนั้น MC จึงต้อง เท่ากับ MR ตรงช่วงที่MR ขาดตอนเสมอ ซึ่งจะท าให้ราคา(ดูจาก AR)อยู่ที่ราคาตลาด ขณะนั้น ...

ข้อใดเป็นข้อดีของตลาดผูกขาด

1.มีเจ้าของธุรกิจเพียงรายเดียว ทำให้การกำหนดราคาและควบคุมตลาดเป็นไปได้ง่าย 2.ส่วนใหญ่ตลาดผูกขาดเป็นของรัฐบาล ดังนั้นโอกาสในการล้มเหลวทางธุรกิจต่ำกว่าตลาดทั่วไป 3.เมื่อเกิดวิกฤติเกิดขึ้น การลดราคาหรือกำหนดราคาให้ต่ำลงนั้นสามารถทำได้เลย ไม่ต้องกังวลเรื่องกลไกราคาและคู่แข่งในตลาด