แผนงาน บูร ณา การ รัฐบาลดิจิทัล 2566

สานักงบประมาณของรฐั สภา

(สงร.)

รายงานการวิเคราะหง์ บประมาณรายจ่าย
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖

แผนงานบรู ณาการรฐั บาลดิจิทลั

สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรฐั บาลดิจทิ ลั

หลักการและเหตผุ ล ในการจัดทาแผนงานบูรณาการ

เพื่อให้กระบวนการจัดทางบประมาณเป็นเคร่ืองมือจัดสรรทรัพยากรทีมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้
กระทรวงและหน่วยงานทางานร่วมกันในลักษณะประสานเชื่อมโยงแบบเครือข่าย ท่ีนาไปสู่การบรรลุ
จุดมุ่งหมาย และตัวชี้วัดรวมกัน โดยมีรูปแบบการบริหารจัดการแบบองค์รวม คานึงถึงหลักประหยัด
ความคุ้มค่า มุ่งให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ในการใช้จ่ายงบประมาณ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและ
ประเทศชาติ ตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง การจดทางบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566
ได้ให้ความสาคัญกับการจัดทางบประมาณ รายจ่ายบูรณาการ โดยกาหนดให้มีแผนงานบูรณาการเร่ืองสาคัญ
ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (ร่าง) แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบที 13 (ร่าง) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ
แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) และ นโยบายสาคัญของรัฐบาล เพ่ือใช้แผนงานบูรณาการเป็นกลไก
ขับเคล่ือนการดาเนินงานของหน่วยงานให้บรรลุผล สาเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ทีได้กาหนดไว้ โดยมี
วัตถุประสงค์ของแผนงานเป็นกรอบในการดาเนินงาน มีจุดมุ่งหมายให้แผนงานบูรณาการทาหน้าที่เชื่อมโยง
ภารกิจและการดาเนนิ งานของหน่วยงานทมี ีเปา้ หมาย วตั ถุประสงคแ์ ละตัวช้ีวัดรวมกัน

วัตถุประสงค์การบูรณาการ
(1) เพอื่ ให้การจดั สรรงบประมาณตามนโยบายเรื่องสาคัญเร่งด่วนของรฐั บาล ทมี กี ารดาเนนิ งาน ตั้งแต่
2 หน่วยงานข้ึนไปซ่ึงไม่อยู่ในกระทรวงเดียวกัน โดยกาหนดเป็นแผนงานบรูณาการ มีเป้าหมายและ
วัตถุประสงค์การดาเนินงานที่มีความเชื่อมโยงสอดคล้อง สนับสนุนซ่ึงกันและกัน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
คุ้มค่าและไม่ซ้าซ้อนกัน มีแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณของแต่ละหน่วยงาน รวมท้ัง
ใหม้ ีการจัดทาแผนแมบ่ ทระยะปานกลางและระยะยาวที่สอดคล้องกับแผนแม่บทของกระทรวง/หน่วยงาน
(2) เพ่ือให้การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ เป็นกลไกขับเคลื่ อนการดาเนินงาน
ตามยุทธศาสตร์ และนโยบายเร่ืองสาคัญเร่งด่วนของรัฐบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีหน่วยงานเจ้าภาพ
หลักเป็นผู้รับผิดชอบ และมีนายกรัฐมนตรี/รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้กากับ ดูแล ติดตามผล
การดาเนินงาน ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม มีความชัดเจนของขอบเขต เป้าหมาย ตัวชี้วัด แนวทางการ
ดาเนนิ งานตามกรอบ ระยะเวลาท่กี าหนด

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 1

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรฐั บาลดจิ ทิ ลั

ภาพรวมงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานบูรณาการ

หนว่ ย : ล้ำนบำท

ลำดบั ท่ี แผนงำนบรู ณำกำร ปี พ.ศ. 2565 ปี พ.ศ. 2566 เพมิ่ /ลด

จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

1 พฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 107,481.0312 52.64 131,372.7777 60.13 23,891.7465 22.23
2 บริหารจัดการทรัพยากรน้า
3 เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก 63,136.3936 30.92 54,121.8575 24.77 -9,014.5361 -14.28
4 ขับเคล่ือนการแกไ้ ขปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต้
5 สร้างรายไดจ้ ากการท่องเท่ยี ว 11,944.8111 5.85 11,086.9121 5.07 -857.8990 -7.18
6 ป้องกัน ปราบปราม และบ้าบัดรักษาผตู้ ดิ ยาเสพตดิ
7 รัฐบาลดจิ ิทัล 6,912.0660 3.39 6,251.2516 2.86 -660.8144 -9.56
8 พฒั นาอตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
9 พฒั นาและสง่ เสริมเศรษฐกิจฐานราก 4,574.5139 2.24 5,125.1166 2.35 550.6027 12.04
10 ตอ่ ตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ
11 เตรียมความพร้อมเพอื่ รองรับสงั คมสงู วัย 4,261.6954 2.09 4,188.1936 1.92 -73.5018 -1.72

รวมแผนงำนบรู ณำกำรทงั้ สนิ้ 2,409.3962 1.18 2,355.9823 1.08 -53.4139 -2.22

856.5852 0.42 1,554.6356 0.71 698.0504 81.49

1,506.4458 0.74 1,474.3347 0.67 -32.1111 -2.13

478.9289 0.23 497.9554 0.23 19.0265 3.97

617.5768 0.30 448.6718 0.21 -168.9050 -27.35

204,179.4441 100.00 218,477.6889 100.00 14,298.2448 7.00

ทมี่ า : รา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สานกั งบประมาณ
ประมวลผล: สานักงบประมาณของรัฐสภา

จากการพิจารณาโครงสร้างงบประมาณแผนงานบูรณาการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2566 จานวน 11 แผนงาน งบประมาณจานวน
218,477.6889 ล้านบาท พบว่า โครงสร้างมีลักษณะคล้ายกับ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยสดั สว่ นงบประมาณร้อยละ 89.97 อยใู่ น 3
แผนงาน ประกอบดว้ ย
1) แผนงานบูรณาการด้านการพัฒนาคมนาคมและระบบโลจิสติกส์
ร้อยละ 60.13
2) แผนงานบูรณาการดา้ นบริหารจัดการทรัพยากรนา้ ร้อยละ 24.77
3) แผนงานบรู ณาการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก ร้อยละ 5.07
4) แผนงานบรู ณาการอน่ื ๆ จานวน 8 แผนงาน ร้อยละ 10.02

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 2

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรฐั บาลดิจิทัล

แผนงานบูรณาการรัฐบาลดจิ ิทัล

เอกสารงบประมาณฉบบั ที่ 3 เล่มท่ี18 (2) หนา้ 343 - 392

1. วตั ถปุ ระสงค์
1) เพื่อให้เกิดการขับเคล่ือนรัฐบาลดิจิทัลอย่างเป็นรูปธรรมตามแนวทางของพระราชบัญญัติการ

บริการงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 และ (ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
พ.ศ. 2566 – 2570

2) เพอ่ื ส่งเสริมใหเ้ กิดการบรู ณาการทางานร่วมกนั ระหว่างหนว่ ยงานภาครฐั
3) เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการพัฒนารัฐบาลดิจทิ ัล ลดความซ้าซ้อนในการพิจารณางบประมาณ และ
พฒั นาการทางาน และบริการภาครฐั ได้อย่างเท่าทนั เทคโนโลยี

2.ขอบเขตการดาเนินงาน
2.1 กลุ่มเป้าหมาย / ผู้ไดร้ ับประโยชน์: ประชาชนทวั่ ไป ภาคเอกชน ผปู้ ระกอบการและหน่วยงานภาครฐั
2.2 พนื้ ทด่ี าเนินการ: ท่วั ประเทศ

3. หนว่ ยงานรับผิดชอบ
หนว่ ยรบั งบประมาณทเี่ ป็นเจา้ ภาพหลกั : สานกั งานพฒั นารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน)
หน่วยรบั งบประมาณที่เกี่ยวขอ้ ง : 10 กระทรวง ( 24 หน่วยงาน)

4. ความเชื่อมโยงกบั ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ปี 2566 งบประมาณแผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล ได้รับจัดสรรงบประมาณ ท้ังสิ้นจานวน

2,355.9823 ล้านบาท ลดลงจากปแี ลว้ (2,409.3962 ลา้ นบาท) จานวน 53.4139 ลา้ นบาท หรือลดลงร้อยละ
2.22 โดยสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ แผน
แม่บท ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ ประกอบด้วยแผนแม่บทย่อย 3 แผน ได้แก่ 1)
การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ 2) การสร้างและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ และ 3) การพัฒนาบริการ
ประชาชน โดยงบประมาณส่วนใหญ่รองรับการแผนแม่บทย่อยฯ ด้านการพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ
จานวน 1,975.7761 ล้านบาท (ร้อยละ 83.86)

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 3

ยุทธศำสตร์ชำตดิ ำ้ นกำรปรับสมดลุ 2,355.9823
และพฒั นำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ

สานกั งบประมาณของรฐั สภา แผนแม่บทฯ : กำรบริกำรประชำชนและประสทิ ธภิ ำพภำครัฐ 2,355.9823 วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรฐั บาลดิจทิ ลั
เปา้ หมาย : - บรกิ ารของรฐั มีประสทิ ธิภาพและมีคุณภาพเปน็ ทีย่ อมรบั ของ

ผใู้ ชบ้ รกิ าร
- ภาครฐั มีการดา้ เนินการทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ด้วยการนา้ นวัตกรรม

เทคโนโลยมี าประยกุ ต์ใช้
ตวั ชีวดั : 1) ระดับความพึงพอใจในคุณภาพการใหบ้ รกิ ารของภาครฐั ไม่น้อย
กว่า รอ้ ยละ 85

2) ผลการสา้ รวจรฐั บาลอิเลก็ ทรอนิกส์ ในองค์ประกอบดัชนีรฐั บาล
อิเลก็ ทรอนิกส์ ดัชนีการมีสว่ นรว่ มทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ดันชนีทุนมนุษยแ์ ละ
ดัชนีการใหบ้ รกิ ารภาครฐั ออนไลน์ ไม่ต้่ากว่าอันดับท่ี 40 ของโลก และมี
คะแนนไม่ต้่ากว่ารอ้ ยละ 0.82

แผนแม่บทย่อยฯ : การพฒั นาระบบบริหารงานภาครัฐ 1,975.7761 แผนแม่บทยอ่ ยฯ : การสร้างและพฒั นาบุคลากรภาครัฐ 4.2547 แผนแม่บทฯ : การพฒั นาบริการประชาชน 375.9515
เปา้ หมาย : - อันดับความสามารถในการแขง่ ขนั ด้านเศรษฐกิจ (โดย
เปา้ หมาย : - ภาครฐั ท่มี ีขดี สมรรถนะสงู คลอ่ งตัว % เปา้ หมาย : - ภาครฐั ทม่ี ีขดี สมรรถนะสงู คลอ่ งตัว 0.18% 15.96%
- ภาครฐั มีขดี สมรรถนะสงู เทียบเท่ามาตรฐานสากลและ - บุคลากรภาครฐั ยดึ ค่านิยมในการทา้ งานเพ่ือประชาชนยดึ หลกั สถาบันนานาชาติเพ่ือการพัฒนาการบรหิ ารจัดการ) มีอันดับดีขนึ
- เศรษฐกิจดิจิทลั ภายในประเทศมีการขยายตัวเพิ่มขนึ
มีความคลอ่ งตัว คุณธรรม จรยิ ธรรม มีจติ สา้ นึกมีความสามารถสงู มุ่งมั่น และเปน็ มืออาชพี - การบรกิ ารภาครฐั มีคุณภาพ เขา้ ถงึ ได้
ตัวชวี ัด : 1) ผลการสา้ รวจรฐั บาลอิเลก็ ทรอนิกส์ ในองค์ประกอบ ตัวชวี ัด : 1) ผลการสา้ รวจรฐั บาลอิเลก็ ทรอนิกส์ ในองค์ประกอบดัชนีรฐั บาล - งานบรกิ ารภาครฐั ท่ปี รบั เปลย่ี นเป็นดิจทิ ลั เพิ่มขนึ
ดัชนีรฐั บาลอิเลก็ ทรอนิกส์ ดัชนีการมีสว่ นรว่ มทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ดัน อิเลก็ ทรอนิกส์ ดัชนีการมีสว่ นรว่ มทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ดันชนีทนุ มนุษยแ์ ละ
ชนีทุนมนุษยแ์ ละดัชนีการใหบ้ รกิ ารภาครฐั ออนไลน์ ไม่ต้่ากว่าอันดับที่ ดัชนีการให้บรกิ ารภาครฐั ออนไลน์ ไม่ต่้ากว่าอันดับท่ี 47 ของโลก และมี ตัวชวี ัด : 1) มีกระดานขอ้ มูลดิจิทลั ของภาครฐั ทสี่ ามารถติดตามจา้ นวน
47 ของโลก และมีคะแนนไม่ต่้ากว่ารอ้ ยละ 0.79 คะแนนไม่ต้่ากว่ารอ้ ยละ 0.79 ธุรกรรมงานบรกิ ารของภาครฐั ทีป่ รบั เปลยี่ นเปน็ ดิจิทัลได้

2) ระดับ Digital Goverment Maturity Model 2) ดัชนีความผกู พันของบุคลากรภาครฐั ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 85 2) ความพึงพอใจในคุณภาพการให้บรกิ ารของภาครฐั ไม่น้อย
(Gartner) อยใู่ นระดับที่ 2 3) สดั สว่ นเจา้ หน้าที่รฐั ทีก่ ระทา้ ผดิ กฎหมายลดลง รอ้ ยละ 25 กว่ารอ้ ยละ 85

3) สดั สว่ นของหน่วยงานทบี่ รรลผุ ลสมั ฤทธ์ิอยา่ งสงู ตาม 3) รอ้ ยละ 100 ของกระบวนงานทส่ี ง่ ผลกระทบต่อประชาชน
เป้าหมาย ไม่รอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 90 ได้รบั การปรบั เปลย่ี นให้เปน็ ดิจทิ ัล (ด้านการมีงานทา้ การปะกอบดธุรกิจ
คุณภาพชวี ิตของประชาชน)

เปำ้ หมำยที่ 2 สนับสนุนการพฒั นาแพลตฟอร์มกลาง 1,975.7761 เปำ้ หมำยท่ี 1 เพมิ่ ขีดความสามารถบุคลากรภาครัฐให้พร้อม 4.2547 เปำ้ หมำยที่ 1 เพม่ิ ขีดความสามารถบุคลากร 0.3846 เปำ้ หมำยที่ 3 การบูรณาการข้อมลู และบริการภาครัฐ 375.567
หรือโครงสร้างพนื ฐานดจิ ิทัลกลางภาครัฐ (Digital รองรับการเป็นรัฐบาลดจิ ิทัล (Digital Government Skills) ภาครัฐให้พร้อมรองรับการเป็นรัฐบาลดจิ ิทัล ในรูปแบบดจิ ิทัล ผ่านแพลตฟอร์มบริการแบบเบ็ดเสร็จ
Common Platform) (Digital Government Skills) 0.02% เพอื่ ตอบสนองตามความตอ้ งการของใช้บริการ (End - 15.94%
ตัวชวี ัด : หน่วยงานภาครฐั มีความพรอ้ มด้านนโยบายและแนวปฏบิ ตั ิที่ to - End Digital Data and Services via Digital
ตัวชวี ัด : 1) ความก้าวหน้าในการพัฒนาแพลตฟอรม์ กลางหรอื เกี่ยวขอ้ งกับ PDPA, Cyber Securty และ Data Governance ได้ตาม ตัวชวี ัด : หน่วยงานภาครฐั มีความพรอ้ มด้านนโยบายและ Service Platform)
โครงกสรา้ งพืนฐานกลางภาครฐั ครอบคลมุ ไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 20 เกณฑ์ท่ีกา้ หนดไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 50 แนวปฏิบัติท่เี กี่ยวขอ้ งกับ PDPA, Cyber Securty และ
Data Governance ได้ตามเกณฑ์ทกี่ า้ หนดไม่น้อยกว่า ตัวชวี ัด :1) ความก้าวหน้าในการพัฒนาแพลตฟอรม์ กลางหรอื
2) ความพึงพอใจต่อการใชบ้ รกิ าร (แพลตฟอรม์ กลางหรอื รอ้ ยละ 50 โครงการสรา้ งพืนฐานกลางภาครฐั ครอบคลมุ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 20
โครงสรา้ งพืนฐานกลาง) ไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 80
2) ความพึงพอใจต่อการใชบ้ รกิ าร (แพลตฟอรม์ กลางหรอื
โครงสรา้ งพืนฐานกลาง) ไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 80

แนวทาง 2 การพฒั นาเครื่องมอื แพลตฟอร์มกลางหรือ 1,975.7761 แนวทาง 1 ยกระดบั ทักษะบุคลากรภาครัฐเพอ่ื ตอบโจทย์ 4.2547 แนวทาง 1 ยกระดบั ทักษะบุคลากรภาครัฐ 0.3846 แนวทาง 3 การบูรณาการข้อมลู และบริการภาครัฐใน 375.567
โครงสร้างพนื ฐานดจิ ิทัลทางภาครัฐเพอ่ื สนับสนุนการ ความตอ้ งการดา้ นดจิ ิทัลของประเทศ เพอื่ ตอบโจทย์ความตอ้ งการดา้ นดจิ ิทัลของ รูปแบบดจิ ิทัล ผ่านแพลตฟอร์มบริการส้าคญั เพอ่ื การ
หนา้ 4 เชื่อมโยง ลดความซ้าซอ้ น ในการท้างานระหว่าง ประเทศ พฒั นารัฐบาลดจิ ิทัลทส่ี อดคลอ้ งกับ 6 ดา้ นส้าคญั ตาม
หน่วยงานภาครัฐ ตัวชวี ัด : หน่วยงานภาครฐั มีความพรอ้ มด้านนโยบายและแนวปฏิบตั ิท่ี แผนการพฒั นารัฐบาลดจิ ิทัลหรือดา้ นส้าคญั อ่นื ๆ ท่ี
เกี่ยวขอ้ งกับ PDPA, Cyber Securty และ Data Governance หรอื ตัวชวี ัด : หน่วยงานภาครฐั มีความพรอ้ มด้านนโยบายและ สนับสนุนการพฒั นารัฐบาลดจิ ิทัล
ตัวชวี ัด : 1) ความสา้ เรจ็ ของการพัฒนาแพลตฟอรม์ เครอ่ื งมือท่ี หลกั สตู รท่ีก้าหนดพรอ้ มทังได้รบั ในประกาศนิยบตั รรบั รองผา่ นการอบรม แนวปฏิบัติท่เี ก่ียวขอ้ งกับ PDPA, Cyber Securty และ
พรอ้ มเปิดใหใ้ ชบ้ รกิ ารได้ตามแผนทกี่ า้ หนด หลกั สตู ร Data Governance หรอื หลกั สตู รทก่ี า้ หนดพรอ้ มทงั ตัวชวี ัด : 1) ความสา้ เรจ็ ของการพัฒนาแพลตฟอรม์ เครอื่ งมือที่
ได้รบั ในประกาศนิยบตั รรบั รองผา่ นการอบรมหลกั สตู ร พรอ้ มเปิดใหใ้ ชบ้ รกิ ารได้ตามแผนทีก่ ้าหนด
2) มีหน่วยงานใชบ้ รกิ ารเพิ่มขนึ อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 10 และ
พรอ้ มรองรบั การใหบ้ รกิ ารทุกกรมที่เกี่ยวขอ้ งหรอื หน่วยงานเทยี บเท่า 2) มีจา้ นวนผใู้ ชบ้ รกิ ารดิจทิ ลั ตามเป้าหมายเพิ่มขนึ อยา่ งน้อย
(Digital Take up) รอ้ ยละ 50

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรัฐบาลดจิ ิทัล

5. ผลสัมฤทธแ์ิ ละประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ ับจากการใช้จา่ ยงบประมาณ

ผลสมั ฤทธแิ์ ละประโยชนท์ ค่ี ำดว่ำจะไดร้ ับ หน่วยนบั คำ่ เปำ้ หมำย
ปี 2565 ปี 2566
ผลสมั ฤทธิ์ : หน่วยงานรัฐสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ร้อยละ
ดจิ ิทัลไดอ้ ย่างเตม้ ศกั ยภาพในการดา้ เนินงานของภาครัฐ เพอ่ื 80 80
ให้บริการประชาชนและภาคธรุ กิจอย่างมปี ระสิทธิภาพ
ตวั ชีวัด : หน่วยงานภาครัฐมรี ะดบั ความพร้อมการพฒั นารัฐบาล
ดจิ ิทัลในระดบั High ขึนไป คดิ เป็นสดั สว่ นตอ่ จ้านวนหน่วยงาน
รัฐภายใตแ้ ผนงานฯ ไมน่ ้อยกว่า
* กลมุ่ High หมายถึง กลมุ่ หน่วยงานท่มี คี วามโดดเดน่ ดา้ นระดบั
ความพร้อมรัฐบาลดจิ ิทัลของหน่วยงานภาครัฐของประเทศไทย ,
ส้านักงานพฒั นารัฐบาลดจิ ิทัล (องคก์ ารมหาชน)

ทมี่ า : เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เลม่ ท่ี 18 (2) หนา้ 344

6. สรปุ ภาพรวมงบประมาณ

หนว่ ย : ล้านบาท

6.1 งบประมาณตามเป้าหมาย/แนวทางการดาเนนิ งาน
งบประมาณแผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล ได้รับจัดสรรงบประมาณ ท้ังส้ินจานวน

2,355.9823 ล้านบาท ลดลงจากปีแล้ว (2,409.3962 ล้านบาท) จานวน 53.4139 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ
2.22 ประกอบดว้ ย 3 เปา้ หมาย 3 แนวทางการดาเนนิ งาน ดังน้ี

เป้าหมายท่ี 1 : เพ่ิมขีดความสามารถบุคลากรภาครัฐให้พร้อมรองรับการเป็นรัฐบาลดิจิทัล
(Digital Government Skills)

แนวทางที่ 1 : ยกระดับทักษะบุคลากรภาครัฐเพ่ือตอบโจทย์ความต้องการด้านดิจิทัลของ
ประเทศ วงเงนิ 4.6393 ล้านบาท (สดั สว่ นร้อยละ 0.02)

เป้าหมายท่ี 2 : สนับสนุนการพัฒนาแพลตฟอร์มกลางหรือโครงสร้างพ้ืนฐานดิจิทัลกลาง
ภาครฐั (Digital Common Platform)

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 5

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล

แนวทางท่ี 2: การพัฒนาเคร่ืองมือแพลตฟอร์มกลางหรือโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลทางภาครัฐเพื่อ
สนบั สนนุ การเชื่อมโยง ลดความซา้ ซอ้ น ในการทางานระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั วงเงิน 1,975.7761 ลา้ นบาท (สดั สว่ น
รอ้ ยละ 83.86)

เป้าหมายที่ 3 : การบูรณาการข้อมูลและบริการภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล ผ่านแพลตฟอร์ม
บริการแบบเบ็ดเสร็จเพ่ือตอบสนองตามความต้องการของใช้บริการ (End - to - End Digital Data and
Services via Digital Service Platform)

แนวทางที่ 3: การบูรณาการข้อมูลและบริการภาครัฐในรูปแบบดิจิทัล ผ่านแพลตฟอร์มบริการ
สาคัญเพ่ือการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลที่สอดคล้องกับ 6 ด้านสาคัญตามแผนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลหรือด้านสาคัญ
อน่ื ๆ ทสี่ นับสนนุ การพัฒนารัฐบาลดจิ ิทัลวงเงิน 375.5669 ล้านบาท (สดั สว่ นรอ้ ยละ 15.94)

 ปี 2566 ใหค้ วามสาคญั กับการพัฒนาเครื่องมือแพลตฟอรม์ กลางหรือโครงสร้างพนื้ ฐานดจิ ิทัลทาง
ภาครัฐ (แนวทางที่ 2) สอดรับกบั ขอ้ สงั เกตตามสรุปผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 ของสานักงาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ .ในประเด็น การใช้ประโยชน์จากการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของคนไทยสว่ นใหญ่
เป็นการใช้ประโยชน์เพ่ือความบนั เทงิ และการสื่อสารผา่ นแพลตฟอร์มของต่างประเทศทาให้ประเทศไทยสญู เสียโอกาสใน
การสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ซ่ึงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รัฐบาลได้ให้ความสาคัญกับการบรหิ ารจัดการ
ข้อมลู ภาครฐั และการใหบ้ รกิ ารข้อมลู ผ่านการพัฒนาเคร่ืองมือแพลตฟอรม์ บริการตา่ ง ๆ

 ปี 2566 มีการปรับเปล่ยี นแนวทางการดาเนนิ งานจากปี 2565 รวมทงั้ การกาหนดตัวชี้วัด
อาจส่งผลต่อความต่อเนื่องของการดาเนินงานและการบรรลุเป้าหมายของแผนงาน นาส่งไปถึงเป้าหมายของ
แผนแม่บท และยุทธศาสตร์ชาติได้

2565 2565
เปำ้ หมำย - แนวทำง
จำนวน สัดส่วน เปำ้ หมำย - แนวทำง จำนวน สัดส่วน
รวมทั้งส้ิน 2,409.3962 100.00
เปำ้ หมำยท่ี 1 เพม่ิ ขีดควำมสำมำรถบคุ ลำกรภำครฐั สู่กำรเปน็ รัฐบำลดิจทิ ลั (Digital รวมทงั้ สิ้น 2,355.9823 100.00
Government) 54.2190 2.25
แนวทาง 1.1 จัดทา้ ขอ้ มูลสา้ คญั ภาครัฐและข้อมูลเปดิ รองรบั การเชื่อมโยงข้อมูลใน เปำ้ หมำยที่ 1 เพิ่มขีดควำมสำมำรถบคุ ลำกรภำครฐั ใหพ้ รอ้ มรองรับกำรเปน็ รฐั บำลดิจทิ ลั 4.6393 0.20
รูปแบบดจิ ิทัล 33.6663 1.40
แนวทาง 1.2 ยกระดบั ทักษะบคุ ลากรภาครัฐเพอื่ ตอบโจทย์ความตอ้ งการของประเทศ (Digital Government Skills)
20.5527 0.85
เปำ้ หมำยท่ี 2 เกดิ กำรพฒั นำเคร่ืองมือกลำงและโครงสร้ำงพ้ืนฐำน(Digital แนวทาง 1 ยกระดบั ทกั ษะบุคลากรภาครฐั เพอ่ื ตอบโจทยค์ วามตอ้ งการดา้ นดจิ ิทลั ของ 4.6393 0.20
Platform) 2,170.8398 90.10
ประเทศ

เปำ้ หมำยท่ี 2 สนบั สนนุ กำรพฒั นำแพลตฟอรม์ กลำงหรอื โครงสร้ำงพ้ืนฐำนดิจทิ ลั กลำง 1,975.7761 83.86

ภำครัฐ (Digital Common Platform)

แนวทาง 2 การพฒั นาเคร่ืองมือแพลตฟอร์มกลางหรือโครงสรา้ งพนื ฐานดจิ ิทลั ทางภาครฐั 1,975.7761 83.86

เพอ่ื สนับสนุนการเชื่อมโยง ลดความซ้าซอ้ น ในการทา้ งานระหวา่ งหน่วยงานภาครฐั

แนวทาง 2.1 สรา้ งเคร่ืองมือและแพลตฟอร์มกลาง 707.6763 29.37 เปำ้ หมำยท่ี 3 กำรบรู ณำกำรข้อมูลและบรกิ ำรภำครัฐในรปู แบบดิจทิ ลั ผ่ำนแพลตฟอร์ม 375.5669 15.94
บรกิ ำรแบบเบด็ เสรจ็ เพือ่ ตอบสนองตำมควำมต้องกำรของใช้บริกำร(End - to - End
Digital Data and Services via Digital Service Platform)

แนวทาง 2.2 พฒั นาบริการโครงสรา้ งพนื ฐานและความมั่นคงปลอดภัยดา้ นดจิ ิทลั 1,463.1635 60.73 แนวทาง 3 การบูรณาการขอ้ มูลและบรกิ ารภาครัฐในรูปแบบดจิ ิทัล ผา่ นแพลตฟอรม์ 375.5669 15.94
บรกิ ารสา้ คญั เพอ่ื การพฒั นารฐั บาลดจิ ิทลั ท่ีสอดคลอ้ งกบั 6 ดา้ นส้าคญั ตามแผนการพฒั นา
เปำ้ หมำยที่ 3 กำรใหบ้ รกิ ำรดิจทิ ลั ภำครัฐแบบเบด็ เสร็จทมี่ ีประสิทธิภำพ (End - to 184.3374 7.65 รฐั บาลดจิ ิทัลหรอื ดา้ นสา้ คญั อื่น ๆ ที่สนับสนุนการพฒั นารฐั บาลดจิ ิทัล
- End Digital Data Services) 13.5021 0.56
แนวทาง 3.1 พฒั นาระบบสนับสนุนการมีสว่ นร่วมจากประชาชน (e-Participation) 54.5133 2.26 ที่มำ : 1. ขอ้ มูลปี 2565 จากเอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3เลม่ ท่ี 18(1) (ขาวคาดแดง) ตามพระราชบัญญัตงิ บประมาณ
และสรา้ งความโปรง่ ใส รายจ่ายประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
แนวทาง 3.2 พฒั นาระบบให้บรกิ ารดจิ ิทัลแบบเบด็ เสร็จ (End - to - End
Services) ส้าหรับประชาชนและธรุ กจิ 2. ขอ้ มูลปี 2566 จากเอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3เลม่ ท่ี 18(1) (ขาวคาดแดง) ตามรา่ งพระราชบญั ญัติ
แนวทาง 3.3 พฒั นานวตั กรรมบริการดจิ ิทลั ภาครฐั รองรับวถิ ีแนวใหม่ (New งบประมาณรายจ่ายประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
Normal)
116.3220 4.83

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 6

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรัฐบาลดจิ ทิ ลั

6.2 งบประมาณ จาแนกตามกระทรวง/หน่วยงาน
ปี 2566 งบประมาณแผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล

มีหนว่ ยงานท่ีดาเนินการทงั้ สนิ้ จานวน 36 หน่วยงาน ภายใต้กระทรวง
ต่าง ๆ แสดงดังตาราง กระทรวงที่ได้รับจัดสรรงบประมาณสูงสุด คือ
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จานวน 1,146.1775 ล้าน
บาท (สัดส่วนร้อยละ 48.65) รองลงมา ได้แก่ สานักนายกรัฐมนตรี
จานวน 805.5770 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 34.19) และกระทรวง
อดุ มศึกษาฯ จานวน 273.0510 ลา้ นบาท (สดั สว่ นรอ้ ยละ 11.59)

หน่วยรับงบประมำณ 2565 2566 หน่วย : ล้านบาท

รวมทง้ั สนิ้ จำนวน สดั สว่ น จำนวน สดั สว่ น ปี 2566 เพ่ิม/- ลด จำกปี 2565

สำนกั นำยกรฐั มนตรี 2,409.3962 100.00 2,355.9823 100.00 จำนวน ร้อยละ
สถาบนั คณุ วฒุ วิ ชิ าชีพ(องคก์ ารมหาชน) -53.4139 - 2.22
สา้ นักงบประมาณ 540.9629 22.45 805.5770 34.19
สา้ นักงานคณะกรรมการการักษาความมั่นคงปลอดภยั ไซเบอรแ์ ห่งชาติ 264.6141 48.92
ส้านักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค - 0.00 20.5897 0.87 20.5897 100.00
สา้ นักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ 231.4118 100.00
ส้านักงานทรพั ยากรนา้ แหง่ ชาติ - 0.00 231.4118 9.82 36.4917 321.04
ส้านักงานบริหารและพฒั นาองคค์ วามรู้ (องคก์ ารมหาชน) -8.5596 -100.00
ส้านักงานพฒั นารัฐบาลดจิ ิทัล (องคก์ ารมหาชน) 11.3667 0.47 47.8584 2.03 -1.8932 -14.73
สา้ นักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ (องคก์ ารมหาชน) 11.0000 100.00
สา้ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 8.5596 0.36 -- -3.3202 -17.61
2.9065 0.63
กระทรวงกำรคลัง 12.8538 0.53 10.9606 0.47 -0.2080 -3.23
กรมธนารกั ษ์ -23.8046 -100.00
กรมบัญชกี ลาง - 0.00 11.0000 0.47 -67.4654 -99.43
กรมสรรพากร -65.0000 -100.00
18.8575 0.78 15.5373 0.66 0.3846 100.00
กระทรวงกำรอดุ มศึกษำฯ -2.8500 -100.00
สถาบนั มาตรวทิ ยาแหง่ ชาติ 459.0847 19.05 461.9912 19.61 -129.8994 -32.24
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้า (องคก์ ารมหาชน) -23.8050 -100.00
ส้านักงานนวตั กรรมแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) 6.4360 0.27 6.2280 0.26 5.3010 32.82
สา้ นักงานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) -17.0000 -100.00
สา้ นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ 23.8046 0.99 -- -1.7954 -1.55
-92.6000 -40.26
กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม 67.8500 2.82 0.3846 0.02 7.7166 0.68
ส้านักงานคณะกรรมการดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 267.7166 31.93
ส้านักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 65.0000 2.70 -- -300.0000 -100.00
สา้ นักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั 40.0000 100.00
- 0.00 0.3846 0.02

2.8500 0.12 --

402.9504 16.72 273.0510 11.59

23.8050 0.99 --

16.1500 0.67 21.4510 0.91

17.0000 0.71 --

115.9954 4.81 114.2000 4.85

230.0000 9.55 137.4000 5.83

1,138.4609 47.25 1,146.1775 48.65

838.4609 34.80 1,106.1775 46.95

300.0000 12.45 --

- 0.00 40.0000 1.70

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 7

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรฐั บาลดิจิทลั

หน่วย : ลา้ นบาท

หนว่ ยรับงบประมำณ 2565 2566 ปี 2566 เพิ่ม/- ลด จำกปี 2565

จำนวน สดั สว่ น จำนวน สดั สว่ น จำนวน ร้อยละ

รวมทง้ั สน้ิ 2,409.3962 100.00 2,355.9823 100.00 -53.4139 - 2.22

กระทรวงทรพั ยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม 7.1650 0.30 15.4528 0.66 8.2878 115.67

กรมทรัพยากรนา้ - 0.00 4.3682 0.19 4.3682 100.00

กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม 7.1650 0.30 10.7000 0.45 3.5350 49.34

กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธ์ุพชื - 0.00 0.3846 0.02 0.3846 100.00

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 10.0000 0.42 -- -10.0000 -100.00

สา้ นักงานเศรษฐกจิ การเกษตร 10.0000 0.42 -- -10.0000 -100.00

กระทรวงแรงงำน 5.5090 0.23 9.1997 0.39 3.6907 66.99

กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 5.5090 0.23 -- -5.5090 -100.00

สา้ นักงานปลดั กระทรวงแรงงาน - 0.00 9.1997 0.39 9.1997 100.00

กระทรวงกำรทอ่ งเท่ยี ว 0.3640 0.02 -- -0.3640 -100.00

กรมพลศกึ ษา 0.3640 0.02 -- -0.3640 -100.00

กระทรวงพำณิชย์ 29.3000 1.22 47.7668 2.03 18.4668 63.03

กรมการคา้ ตา่ งประเทศ 14.5000 0.60 30.2668 1.28 15.7668 108.74

กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ 14.8000 0.61 17.5000 0.74 2.7000 18.24

กระทรวงมหำดไทย 157.5757 6.54 0.2909 0.01 -157.2848 -99.82

กรมที่ดนิ 81.6810 3.39 0.2909 0.01 -81.3901 -99.64

กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่ิน 75.8947 3.15 -- -75.8947 -100.00

กระทรวงยตุ ิธรรม 1.0000 0.04 0.3846 0.02 -0.6154 -61.54

กรมบังคบั คดี - 0.00 0.3846 0.02 0.3846 100.00

สา้ นักงานปลดั กระทรวงยุตธิ รรม 1.0000 0.04 - 0.00 -1.0000 -100.00

กระทรวงสำธำรณสุข 45.9034 1.91 57.6974 2.45 11.7940 25.69

กรมควบคมุ โรค 2.0034 0.08 56.0466 2.38 54.0432 2,697.57

กรมอนามัย 43.9000 1.82 -- -43.9000 -100.00

สถาบนั รับรองคณุ ภาพสถานพยาบาล (องคก์ ารมหาชน) - 0.00 1.6508 0.07 1.6508 100.00

กระทรวงอตุ สำหกรรม 0.7000 0.03 -- -0.7000 -100.00

สา้ นักงานปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม 0.7000 0.03 -- -0.7000 -100.00

ส่วนรำชกำรไม่สังกดั ฯ 1.6549 0.07 -- -1.6549 -100.00

สา้ นักงานตา้ รวจแห่งชาติ 1.6549 0.07 -- -1.6549 -100.00

ที่มำ : 1. ขอ้ มูลปี 2565 จากเอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3เลม่ ที่ 18(1) (ขาวคาดแดง) ตามพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

2. ข้อมูลปี 2566 จากเอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3เลม่ ที่ 18(1) (ขาวคาดแดง) ตามรา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 8

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรฐั บาลดิจทิ ัล
6.3 ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ

ท่ีมา : ระบบบรหิ ารการเงนิ และการคลงั ภาครฐั แบบอิเล็กทรอนิกสใ์ หม่ (New GFMIS Thai) กรมบัญชกี ลาง

จากตารางแผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล มีงบประมาณหลังโอนเปล่ียนแปลงตามระบบบริหาร
การเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2565 รวมจานวน
2,409.3962 ล้านบาท มีการเบิกจ่ายงบประมาณจานวน 1,465.9694 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 79.99 และ
มีการก่อหนี้ผูกพันแล้วจานวน 741.4376 ล้านบาท ทั้งน้ี หน่วยงานภายใต้แผนงานบูรณาการท่ีเบิกจ่ายสูงสุด
คือ กระทรวงการอุดศึกษาฯ ร้อยละ 85.94 และหน่วยงานท่ีมีผลการเบิกจ่ายต่าท่ีสุด (ไม่มีผลการเบิกจ่าย)
มี 3 หน่วยงาน คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงแรงงาน และส่วนราชการไม่สังกัดฯ โดยปัจจุบันยัง
งบประมาณ แต่มีการก่อหน้ีผูกไว้ รวมทั้ง 3 หน่วยงาน จานวน 14.8491 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 86.51 ของ
งบประมาณทห่ี น่วยงานไดร้ บั จัดสรร

7. ประเด็นข้อสังเกตของกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565

ข้อสังเกตไว้ในภาพรวม ดังนี้ “ถึงเวลาทบทวนการจัดทางบประมาณแผนบูรณาการอย่างจริงจัง”
การจัดทางบประมาณตามแผนงานบูรณาการซ่ึงได้ดาเนินการมาเป็นปีท่ี 3 ยังคงพบว่า มีปัญหาและอุปสรรค
ทส่ี าคญั ท้งั ในมติ ิของการวางแผนงาน การจดั สรรงบประมาณ และในกระบวนการนานโยบายไปปฏิบตั ิ ที่ผา่ นมายัง
พบว่า หลายโครงการภายใต้แผนบูรณาการไม่ได้เกิดกระบวนการบูรณาการจริงเป็นเพียงการรวมโครงการจากหลาย
หน่วยงานไว้ในแผนงานเดียวกันเท่านั้น ทงั้ ที่แผนบูรณาการควรทาเปน็ การเฉพาะกิจเน้นประเด็นที่เกิดผลกระทบสูง
และไมส่ ามารถทาสาเร็จไดด้ ้วยหนว่ ยงานใดหน่วยงานหนึ่ง

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 9

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรฐั บาลดิจทิ ัล

ดังนั้น จึงควรทบทวนวิธีการจัดสรรงบประมาณตามแผนงานบูรณาการ และกระบวนการทางานว่ายังคง
เปน็ ไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายวิธีการงบประมาณหรือไม่ และยงั คงมคี วามจาเป็นทจ่ี ะต้องดาเนนิ การอยู่หรือไม่

ทัง้ น้ีหากยังคงดาเนินการต่อ ควรจดั ทาแผนแม่บท (Master Plan) ของแตล่ ะแผนงานใหม้ ีเป้าหมายตัวช้ีวัด
ที่ชัดเจนและวัดผลได้จริง โดยมีเง่ือนเวลาท่ีกาหนดว่า จะต้องมีระยะเวลาดาเนินโครงการนานเท่าใด โดยมีแผนแต่
ละปีจะมีแผนการดาเนินงานอย่างไรให้สอดคล้องกับเป้าหมายหลัก เพื่อให้การบูรณาการเกิดขึ้น จริงในระดับ
กระบวนการ นอกจากน้ี ความไม่แน่นอนว่าแผนงานบูรณาการใดจะถูกบรรจุในแผนงบประมาณประจาปีทาให้
หน่วยงานเจ้าภาพไม่สามารถจัดทาแผนงบประมาณที่ถูกต้องตามกระบวนการได้ทันเวลา หากมีการประเมินผล
ระหว่างดาเนินโครงการ และมีข้อตกลงร่วมกันในการยุติแผนงานบูรณาการ กรณีที่โครงการไม่เกิดผลสัมฤทธิ์
ตามเป้าหมายหรือแจ้งกาหนดแผนบูรณาการแต่เนิ่น ๆ จะทาให้หน่วยงานเจ้าภาพสามารถวางแผนล่วงหน้าได้ดี
ย่ิงขนึ้ และสามารถปรับปรุงกระบวนการบูรณาการระหว่างหนว่ ยงานให้เกิดขึ้นจริง

การใช้จ่ายงบประมาณในส่วนของแผนงานบูรณาการ ถึงแม้จะได้กาหนดหน่วยงานเจ้าภาพของแต่ละ
แผนงานไว้มีการมอบหมายผู้มีอานาจกากับแผนบูรณาการให้กับรองนายกรัฐมนตรีแต่ในทางปฏิบัติการขับเคล่ือน
แผนงานบูรณาการให้บรรลุเป้าหมายหรือผลสัมฤทธิ์และการใช้งบประมาณให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดยังเป็นไปได้
ยาก เน่ืองจากหากการดาเนินงานตามแผนงานบูรณาการแล้วไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ หรือเกิดผลสัมฤทธิ์ต่า
กว่าที่คาดจะไม่มีหน่วยงานใดที่ต้องรับผิดชอบ รวมถึงรองนายกรัฐมนตรีท่ีได้รับมอบหมายให้กากับดูแลจะไม่มี
ความผดิ เช่นกัน

ดังน้ัน จึงต้องกาหนดกระบวนการในการจัดทาแผนบูรณาการโดยคานึงถึงเป้าหมายร่วมที่เป็นพ้ืนท่ีกลุ่ม
บุคคล หรือโครงการเป้าหมายตามวตั ถุประสงค์ท่ีจะต้องดาเนินการให้ชัดเจนข้ึนถึงจะดาเนินการตามแผนบูรณาการ
ได้

ทั้งนี้ หากไม่สามารถปรับปรุงกระบวนการได้ เห็นควรให้ปรับลดงบประมาณของแผนงานบูรณาการให้
ลดลง โดยให้นางบประมาณของแผนงานบูรณาการไปกาหนดเป็นงบประมาณของแต่ละหน่วยงานแทนซ่ึงจะทาให้
การดาเนนิ งานของแต่ละหน่วยงานมีประสิทธภิ าพมากขึ้น

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 10

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจทิ ลั

ข้อสังเกต/ความเห็นของ PBO

1. งบประมาณจาแนกตามลักษณะรายจ่ายประจา-รายจ่ายลงทุน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายลงทุน
จานวน 1,935.3197 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 82.14) ในขณะท่ีรายจ่ายประจา มีเพียงจานวน 420.6626
ลา้ นบาท (สดั สว่ นรอ้ ยละ 17.86) จงึ ถือไดว้ ่าแผนงานนี้เป็นส่วนหนึง่ ที่ช่วยขับเคลือ่ นระบบเศรษฐของประเทศ

2. การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานดิจิทลั

จากรายงานสรุปผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2564 ของสานักงานสภา
พฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แม้ว่าภาครฐั จะเร่งดาเนินการพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานดจิ ิทลั โดยมกี าร
ลงทุนพัฒนาโครงข่ายอินเทอร์เน็ตในพ้ืนท่ีห่างไกลและพ้ืนที่ชายขอบ (โซน C และ C+) ผ่านโครงการเน็ต
ประชารัฐ โครงการขยายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต โครงการการจัดให้มีบริการ
โทรคมนาคมพื้นฐานโดยท่ัวถึงและบริการเพื่อสังคม รวมถงึ การเปดิ โครงข่าย Open Access Network ภายใต้
โครงการเน็ตประชารัฐและโครงการขยายอนิ เทอร์เน็ตความเร็วสูงเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ทาให้มีอัตราสว่ นของ
ครัวเรือนที่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต เท่ากับ 74.6 บรรลุเป้าหมายในปี 2565 ที่กาหนดอัตราส่วนของ
ครัวเรือนที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตร้อยละ 70 แล้วและได้ดาเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาชน สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพ่ิมขึ้นแล้ว แต่การใช้ประโยชน์
จากการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของคนไทยส่วนใหญ่ยังคงเป็นการใช้ประโยชน์เพื่อความบันเทิงและการส่ือสารผ่าน
แพลตฟอร์มของต่างประเทศทาให้ประเทศไทยสูญเสียโอกาสในการสร้างมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจที่เกิดข้ึนจาก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดิจิทัล โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์จากข้อมูลขนาดใหญ่ท่ีเกิดข้ึนจากการทา
ธุรกรรมทางดิจิทัลของคนไทยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการท่ีสามารถตอบสนองต่อความต้องการหรือ
พฤตกิ รรมของผู้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ นอกจากน้ี ประชาชนบางส่วนยังขาดความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับ
ภัยคุกคามทางไซเบอร์ ส่งผลให้ภาครัฐจาเป็นต้องดาเนินมาตรการต่าง ๆ เพื่อเพ่ิมความปลอดภัยทางด้าน
ไซเบอรอ์ ย่างเขม้ งวด

3. งบประมาณสาหรบั การพฒั นาแพลตฟอร์มตา่ ง ๆ และโครงข่ายขอ้ มลู
การใช้ประโยชน์จากการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของคนไทยส่วนใหญ่ เป็นการใช้ประโยชน์เพ่ือ

ความบันเทิงและการสื่อสารผ่านแพลตฟอร์มของต่างประเทศทาให้ประเทศไทยสูญเสียโอกาสในการสร้าง
มูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึน อย่างไรก็ตาม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รัฐบาลได้ให้ความสาคัญกับการ
บริหารจัดการข้อมูลภาครัฐและการให้บริการข้อมูล ผ่านการพัฒนาเครื่องมือแพลตฟอร์มบริการต่าง ๆ และ
โครงข่ายข้อมูลมากข้ึน โดยมีงบประมาณสาหรับการดาเนินการดงั กลา่ ว จานวน 2,351.34 ล้านบาท โครงการ
สาคญั เชน่

- โครงการพัฒนาบริการโครงสร้างพ้ืนฐานและความม่ันคงปลอดภัยด้านดิจิทัล (Infrastructure and

Security) 1,106.18 ลา้ นบาท

- โครงการพัฒนาระบบเครอื ข่ายสือ่ สารข้อมลู เชือ่ มโยงหนว่ ยงานภาครัฐ 257.56 ล้านบาท

- โครงการแพลตฟอร์มข้อมลู มหภาคเชงิ พน้ื ทแ่ี บบเปดิ เพื่อขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ ภูมิประเทศ 99.50 ล้านบาท

- โครงการแพลตฟอร์มการเรียนการสอนออนไลน์ที่เขา้ ถึงโดยสะดวกถ้วนหนา้ สาหรับนักเรียนพิการทุก

ประเภท 68.75 ลา้ นบาท

- โครงการแพลตฟอร์มการเฝ้าระวังสถานการณ์ของโรคอบุ ัติใหม่ อุบตั ิซ้า หรือโรคตดิ ต่ออันตรายแบบ

บูรณาการ 59.45 ล้านบาท

ฯลฯ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 11

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจทิ ลั

4. ความเชื่อมโยง กับ Open Government Data of Thailand
การดาเนินงานภายใต้แผนงานบูรณาการฯ มีส่วนเช่ือมโยงกับ Open Government Data

of Thailand หรือไม่อย่างไร เน่ืองจากสานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ที่มีฐานะเป็น
หนว่ ยงานเจา้ ภาพแผนงานบูรณาการฯ เปน็ ผู้จัดทาขึ้นภายใตแ้ นวคดิ การเป็นศูนย์กลางในการเข้าถึงข้อมูลเปิด
ภาครัฐของประเทศที่ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลภาครัฐได้สะดวก รวดเร็ว ตลอดเวลา โดยข้อมูลท่ี
เผยแพรอ่ ยใู่ นรูปแบบไฟล์ที่สามารถแสดงตวั อยา่ งข้อมลู (Preview) การแสดงข้อมูลดว้ ยภาพ (Visualization)
และเอพีไอ (API) แบบอัตโนมัติให้กับชุดข้อมูลที่เผยแพร่ได้ รวมทั้งยังสามารถจดั การชดุ ข้อมูลและเมทาดาตา
ของขอ้ มูลไดอ้ กี ด้วย เพื่อประโยชน์ ดังน้ี

1) Transparency เป็นการเปิดเผยข้อมูลของภาครัฐให้ประชาชนและภาคประชาสังคม
เข้าถึงขอ้ มลู และสามารถตรวจสอบการดาเนนิ ของภาครัฐตามนโยบายท่ีประกาศให้ไว้กับประชาชน

2) Releasing social and commercial value ในยุคดิจิตอลข้อมูลเป็นทรัพยากรที่
สาคัญสาหรับสร้างนวัตกรรม การเปิดเผยข้อมูลของภาครัฐเป็นแหล่งข้อมูลหนึ่งที่ช่วยผลักดันการสร้าง
นวัตกรรมและบรกิ ารใหม่ๆ เผยแพร่สู่สงั คมและเชิงพาณชิ ย์

3) Participation and engagement ประชาชนซ่ึงเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมแสดง
ความคิดเห็นต่อการดาเนินงานของภาครัฐ ท่ีมีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ รวมท้ังนาความคิดเห็นดังกล่าวไปประกอบการ
พิจารณากาหนดนโยบายและการตัดสินใจของภาครฐั เปน็ การสร้างปฏิสัมพันธ์ กบั ประชาชนมากขึ้น

ในปัจจบุ ันมีหน่วยงานใดบา้ ง นาขอ้ มูลมาเผยแพร่ และขอ้ มูลท่ีเผยแพร่นั้นเป็นข้อมูล
ลกั ษณะใด มีความซา้ ซ้อนกบั Platform อืน่ หรือไม่อย่างไร

5. การติดตามประเมนิ ผลการดาเนินงานแผนงานบรู ณาการรฐั บาลดิจทิ ัล
การดาเนินงานแผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล มีต่อเน่ืองมาต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

โดยมีพัฒนาการของแผนงานบูรณาการ ดังนี้

จากสถิติงบประมาณท่ีเกี่ยวข้อง
กับแผนงานบูรณการฯ เห็นได้จัด
เจนว่างบประมาณที่ได้รับจัดสรร
มี แ น ว โ น้ ม ล ด ล ง แ ล ะ บ า ง
ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ ยั ง ไ ม่ ไ ด้ รั บ ก า ร
จัดสรร ปัจจุบันมีการติดตามและ
ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น
แผนงานบูรณาการอย่างไร ผล
การประเมิน เป็น อย่างไ ร มี
แนวทางการปรับปรุงแก้ไขการ
ดาเนินงานอย่างไร ผลลัพธ์ที่ได้
จากการดาเนินงานประชาชนได้รับ
ประโยชน์ในด้านใดบ้าง และการพัฒนารัฐบาลดจิ ิทัลสามารถลดความซ้าซ้อนในการพิจารณางบประมาณ
รายจา่ ยประจาปี รวมถงึ พฒั นาการทางานและการใหบ้ รกิ ารภาครฐั อย่างไรบ้าง

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 12

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 : แผนงานบูรณาการรฐั บาลดจิ ทิ ัล

6. การดาเนินงานในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดทา (ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในระยะเวลา 5 ปี (2566 –
2570) ปัจจุบันดาเนินการอยู่ในขั้นตอนใด ในฐานหน่วยงานเจ้าภาพแผนงานบูรณาการ มีความคาดหวัง
อย่างไรว่า (ร่าง) แผนดังกล่าวจะสามารถสนับสนุนให้การบริการภาครัฐสะดวกรวดเร็ว ลดความซ้าซ้อน
โปร่งใส ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนได้สงู สดุ

7. ตัวช้ีวัดระดับยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ วัดจากผลการ
สารวจรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ฯ อันดับ
ที่ 47 ของโลก และมีคะแนนไม่ต่ากว่า
0.79 นั้ น เ มื่ อ พิ จ า ร ณ า จ า ก
ง บ ป ร ะ ม า ณ ที่ ไ ด้ รั บ การจั ดสรรใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แ ล ะ
กิจกรรมสาหรบั การดาเนนิ งานแลว้ มี
ความคาดหวังเพียงใดที่ประเทศไทย
จะเลื่อนอันดับจากเดิมอันดับท่ี 57
ของโลก เป็นอันดับท่ี 47 ของโลก
ตามท่ีกาหนดไว้ หรือมีความกังวล
กับผลการจัดอันดับในอน าคต
หรือไม่อย่างไร ท้ังนี้ หน่วยงาน
เจ้าภาพ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ได้มีการกาหนดแนวทางการดาเนิน
ร่วมกันเพ่ือแก้ไขปรับปรุงหรือไม่
หากไม่เป็นไปตามเป้าหมายตัวช้ีวัด
ท่ีกาหนด

8. จากการเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (ร่าง) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13
และแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉลับปรับปรุง) แผนยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ และเป้าหมายแผนบูรณา
การ พบว่า ยังขาดความต่อเน่ืองเช่ือมโยงกันในระดับตัวช้ีวัด ทั้งน้ี หน่วยงานภายใต้แผนงานบูรณาการ มี
การกาหนดตวั ช้วี ดั รว่ มกนั หรือไม่อยา่ งไร เหตุใดจึงขาดความเชอ่ื มโยงกบั แผนในระดับประเทศเชน่ นี้

9. แผนงานบูรณาการฯ ได้รับจัดสรรงบประมาณรวมจานวน 2,355.9823 ล้านบาท โดยงบประมาณ
ส่วนใหญ่เป็นค่าเหมาบริการจานวน 1,133.1875 ล้านบาท หรือร้อยละ 48.10 ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
จานวน 369.5959 ล้านบาท หรือร้อยละ15.69 และค่าพัฒนาระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส์ (New e-
budgeting) ของสานักงบประมาณ จานวน 226.8309 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.63 ประเดน็ ดังน้ี

9.1 ค่าจ้างเหมาบริการที่เกิดข้ึน สูงมากเกือบครึ่งของงบประมาณท่ีแผนงานบูรณาการฯ ได้รับ
จัดสรรทั้งหมด ซึ่งเป็นงบประมาณของสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ถึง
1,106.1775 ล้านบาท เป็นการจ้างเหมาดาเนินการในส่วนที่เก่ียวข้องกับการดาเนินงานภายใต้แผนงาน
บรู ณาการอย่างไร เป็นค่าใชจ้ ่ายจากการดาเนินงานตามภารกจิ ของหน่วยงานหรอื ไม่อย่างไร

9.2 ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน จานวน 369.5959 ล้านบาท เป็นรายการท่ีไม่มีการแสดง
รายละเอยี ด สว่ นใหญ่เปน็ งบประมาณของสานักงานพฒั นารฐั บาลดจิ ิทัล (องค์การมหาชน) จานวน 361.5646
ล้านบาท เปน็ คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งานท่เี กย่ี วข้องกับแผนงานบรู ณาการหรือไม่อย่างไร คา่ ใชจ้ า่ ยดังกลา่ วเกิด
จากการดาเนนิ งานตามภารกจิ ประจาของหน่วยงานหรอื ไมอ่ ยา่ งไร

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 13

สานักงบประมาณของรฐั สภา
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร

โทร. ๐ ๒๒๔๒ ๕๙๐๐ ต่อ ๗๔๒๐

www.parliament.go.th/pbo
“วิเคราะหง์ บประมาณอยา่ งมอื อาชีพ เป็นกลาง และสร้างสรรค”์