อาหารสําหรับคนเป็นเบาหวาน ความดัน

บร็อคโคลี่และเห็ดหอมมีใยอาหารสูง และมีสารประกอบหลายชนิดที่อาจมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นสารที่ทำลายเซลล์และทำให้เกิดการอักเสบ ลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะความดันโลหิตสูง ทั้งยังช่วยปรับปรุงการทำงานของเซลล์ ซึ่งอาจส่งผลให้ความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวานและโรคอ้วนลดลง

Show

งานวิจัยชิ้นหนึ่งที่ตีพิมพ์ในวารสาร Hypertension เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ทำการวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการบริโภคผักและผลไม้และและอุบัติการณ์ของภาวะความดันโลหิตสูง พบว่า การรับประทานผักผลไม้ให้มากขึ้นในระยะยาวรวมถึงการรับประทานผักผลไม้ทั้งผล คือ รับประทานทั้งเปลือกและเนื้อ อาจช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงได้ โดยเฉพาะการรับประทานบร็อคโคลี่ แครอท เต้าหู้หรือถั่วเหลือง ลูกเกด และแอปเปิ้ล

งานวิจัยชิ้นหนึ่งที่ตีพิมพ์ในวารสาร 3 Biotech เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ทำการวิจัยเกี่ยวกับความสามารถในการรักษาโรคเบาหวานและโรคอ้วนของเห็ดชนิดกินได้ พบว่า เห็ดอุดมไปด้วยใยอาหารและสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น ไตรเทอร์พีนอยด์ (Triterpenoids) อัลคาลอยด์ (Alkaloid) ไฟโตเคมิคอล (Phytochemicals) ซึ่งอาจช่วยปรับการทำงานของเซลล์หรือกระบวนการทางชีวเคมีในร่างกาย ส่งผลให้ความเสี่ยงในการเกิดโรคอ้วนและโรคเบาหวานลดลง ทั้งยังอาจทำให้อาการของโรคดีขึ้นด้วย

เมนูนี้ให้พลังงาน 320 กิโลแคลอรี่ คาร์โบไฮเดรต 7.4 กรัม โปรตีน 43.8 กรัม และไขมัน 14.2 กรัม

เมนูต้มจืดตำลึงให้สารอาหารครบถ้วนทั้งโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน ทั้งยังมีน้ำตาลน้อย และมีประโยชน์จากตำลึงซึ่งอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น โพลีฟีนอล ฟลาโวนอยด์ ซาโปนิน ที่ช่วยเพิ่มความไวต่ออินซูลิน และอาจป้องกันโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน

งานวิจัยชิ้นหนึ่งที่ตีพิมพ์ในวารสาร Journal of Traditional and Complementary Medicine เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 ทำการวิจัยเกี่ยวกับคุณสมบัติในการกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน การต้านอนุมูลอิสระ การต้านกระบวนการไกลเคชั่น (Antiglycation) ซึ่งเป็นกระบวนการที่น้ำตาลในผิวหนังจับตัวกับคอลลาเจนและอีลาสตินในผิวจนอาจส่งผลให้เกิดริ้วรอยและแก่ก่อนวัย และความเป็นไปได้ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานของตำลึง พบว่า ตำลึงอาจมีสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น โพลีฟีนอล (Polyphenols) ฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) ซาโปนิน (Saponins) ที่มีบทบาทสำคัญในการป้องกันโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน นอกจากนี้ ยังอาจช่วยเพิ่มความไวต่ออินซูลินหรือการตอบสนองต่ออินซูลิน ซึ่งส่งผลดีต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน

เมนูนี้ให้พลังงาน 46.24 กิโลแคลอรี่ คาร์โบไฮเดรต 22.24 กรัม โปรตีน 14.26 กรัม และไขมัน 1.32 กรัม

เมนูสลัดผักทูน่ามีผักที่มีใยอาหารสูงหลายชนิดและมีปลาทูน่าที่อุดมไปด้วยกรดไขมันโอเมก้า 3 เป็นส่วนประกอบหลัก ซึ่งอาจส่งผลดีต่อคนเป็นเบาหวานและความดันสูง นอกจากนี้ ยังอาจช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานและความดันสูง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ได้ด้วย

งานวิจัยชิ้นหนึ่งที่ตีพิมพ์ในวารสาร American Journal of Cardiology เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ทำการวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคปลาทูน่าหรือปลาย่างหรือปลาอบกับโครงสร้างหัวใจ การทำงานของหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต เมื่อเปรียบเทียบกับการบริโภคปลาทอด พบว่า การบริโภคปลาทูน่า ปลาย่าง หรือปลาอบเชื่อมโยงกับสุขภาพหัวใจและหลอดเลือดที่ดีขึ้น ทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว และภาวะหัวใจล้มเหลวได้ด้วย

อาหารที่คนเป็นเบาหวานและความดันควรหลีกเลี่ยงอาหารจำพวกแป้ง น้ำตาล ไขมันอิ่มตัว ไขมันทรานส์ และโซเดียมสูง เช่น ข้าวขาว ธัญพืชไม่ขัดสี เค้ก คุกกี้ น้ำหวาน น้ำผลไม้ เนื้อแดง เนื้อแปรรูป อาหารแปรรูป น้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม เพราะอาจมีส่วนทำให้น้ำตาลและไขมันในเลือดสูงขึ้น จนควบคุมอาการของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ยาก ทั้งยังอาจเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ได้ด้วย 4. ใช้ยาตามแพทย์สั่งเพื่อลดความรุนแรงของโรค และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อาหารของผู้ป่วยเบาหวาน ที่สามารถทานได้ (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({}); 1. ผลไม้หวานน้อย เช่น แอปเปิ้ล สาลี่ ชมพู่ ให้เลี่ยงผลไม้ที่มีรสหวานจัดและผลไม้แปรรูป ยิ่งไม่ควรทาน 2. ผักใบเขียวดีกว่าผักประเภทหัว เช่น เผือก มัน เนื่องจากมีแป้งอยู่ปริมาณมาก (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({}); 3. เนื้อสัตว์ที่มีไขมันน้อย ไม่ติดมัน และหนัง เช่นเนื้อปลา ไข่ขาว เต้าหู้ทั้งนี้สามารถเพิ่มรสชาติด้วย สมุนไพรต่างๆ ขิง ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด มะนาว  (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({}); สิ่งที่ผู้ป่วยโรคเบาหวานต้องห้าม3. น้ำอัดลม น้ำผลไม้ ชา กาแฟ นมเปรี้ยวรสต่างๆ นมปรุงแต่งทั้งหมดนี้คืออาหารที่ควรเลือกทานและอาหารต้องห้ามของผู้ป่วยโรคเบาหวานนะจ๊ะ เอาเป็นว่า เป็นได้ ควบคุมได้ รักษาได้จ้า ... คนเป็นเบาหวานความดันกินอะไรได้บ้าง

ผักใบเขียว เช่น ปวยเล้ง คะน้า ตำลึง มะระขี้นก มะแว้งต้น หรือฟ้าทะลายโจร เป็นต้น ซึ่งเป็นผักที่อุดมไปด้วยเกลือแร่และวิตามินต่าง ๆ โดยเฉพาะวิตามินซีที่มีการศึกษาระบุว่า การรับประทานอาหารที่มีวิตามินซีจะช่วยลดการอักเสบและลดระดับน้ำตาลหลังมื้ออาหารของคนเป็นเบาหวานและคนที่มีความดันโลหิตสูงได้

อาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน มีอะไรบ้าง

กลุ่มข้าว แป้ง และธัญพืช ควรทาน ข้าวกล้อง ธัญพืชไม่ขัดสี ขนมปังโฮลวีท ปริมาณที่ เหมาะสม 8-9 ทัพพี/วัน กลุ่มเนื้อสัตว์ชนิดต่างๆ ควรทาน เนื้อปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไม่ติดหนัง ไข่โดยเฉพาะไข่ขาว ปริมาณที่เหมาะสม 12 ช้อนทานข้าว/วัน (ไข่ทั้งฟอง สามารถทานได้ ในผู้มีโคเลสเตอรอลใน เลือดไม่สูง โดยทานได้ 2-3 ฟอง/วัน)

สาลี่คนเป็นเบาหวานทานได้ไหม

อาหารของผู้ป่วยเบาหวาน ที่สามารถทานได้ 1. ผลไม้หวานน้อย เช่น แอปเปิ้ล สาลี่ ชมพู่ ให้เลี่ยงผลไม้ที่มีรสหวานจัดและผลไม้แปรรูป ยิ่งไม่ควรทาน

ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรจำกัดปริมาณอาหารประเภทใด

ควบคุมระดับน้ำตาล ผู้ป่วยโรคเบาหวานจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องคุมระดับน้ำตาลในเลือด ด้วยการหยุดเติมน้ำตาลลงในอาหาร พยายามงดอาหารที่มีน้ำตาลสูง เช่น ลูกอม ขนมหวาน น้ำหวาน และไม่ควรรับประทานน้ำตาลทุกชนิด เช่น น้ำตาลอ้อย น้ำตาลปี๊บ น้ำตาลก้อน น้ำผึ้ง