แนวข้อสอบ จิตวิทยาพัฒนาการ พร้อมเฉลย


����������آ�֡����о��֡�� �Ԫ� �آ�֡�� ( ���� � 31101 ) �дѺ �Ѹ���֡�һշ�� 1
����ͧ �Ѳ�ҡ�������� �ӹǹ 10 ���
�� �. ���õ��ѡ��� �����Ԫ�� �ç���¹�ѹ������� ����͡ѹ������� �ѧ��Ѵ�������
����� ���͡ ���� ����ӵͺ���١��ͧ����ش
 1. ��á����㹤������ô� �»��������ҹҹ����
    7 ��͹
   8 ��͹
   9 ��͹
   10 ��͹

 2. 㹢�з���á��ʹ ���ա�û�Ѻ��Ƿҧ��ҹ㴺�ҧ
   ��û�Ѻ���㹡�ôٴ��׹���������
   ��Ѻ���㹡������
   ��û�Ѻ���㹡�âѺ����
   �١�ء���

 3. ���㴡���ǼԴ����ǡѺ�ԧ������Է�Ծ��˹�͡�û�Ѻ��Ǣͧ��á
   ��á����ʹ��������ҵ� �����ç���ҷ�á����ʹ�¡�ü�ҵѴ
   ��Ҿ�Ե㨢ͧ����ռŵ���آ�Ҿ�ͧ��á
   �硷���Դ�ҡ���١�ҧ���ź �����ç�����硷���ʹ������ҧ���ź
   ��á���ٴ��ӹ���� �����آ�Ҿ��ҧ�����ШԵ㨴ա��ҷ�á���ٴ���ҡ�Ǵ

 4. �����㴷��ͺ��駤Ӷ���ҡ����ش
    2 - 3 ��
   4 - 5 ��
   5 - 6 ��
   6 - 7 ��

 5. ���㴷��������������硻�Ѻ��Ƿҧ�ѧ�����
   ���͹���
   ���ʺ��ó�ҧ��ҹ
   ʹ�������������
   ���ҷ�ͧ���

 6. ���˵ط�������ѵ�Ңͧ��þѲ�ҡ���������ͪ�ҵ�ҧ�ѹ�������Ѻ
   ������¹���
   �ز�����
   ਵ���
   ��� � ��� � �١

 7. ��Ҵ��ͧ����ԭ���Ƿ���ش��������ػ���ҳ����
   2 - 3 ��
   3 - 5 ��
   4 - 6 ��
   6 - 8 ��

 8. ���㴡���ǼԴ����ǡѺ�ѡɳТͧ��þѲ�ҡ��
   ẺἹ�ͧ��þѲ�ҨФ���¡ѹ
   ������ö��Ѻ�������͹��Ѻᢹ
   ��ǹ��ҧ � �ͧ��ҧ���������ԭ�����ѵ��������ҡѹ���
   �Ѳ�ҡ�âͧ������ö�ӹ����

 9. ���㴷�����Է�Ծŵ�;Ѳ�ҡ�âͧ��
    ����� ʵԻѭ��
   �� ��úҴ��
   ���ͺ������§��
   �١�ء���

 10. ���㴡���Ƕ١��ͧ����ǡѺ�Է�Ծŵ�;Ѳ�ҡ��
   ����ʵԻѭ�Ҵ� �����վѲ�ҡ�ôա����硷����ʵԻѭ�ҵ��
   �Ȫ�¨ж֧���зҧ�����ǡ�����˭ԧ
   �ҡ������ʧᴴ�������ǹ����Ǣ�ͧ�Ѻ�Ѳ�ҡ��
   �١��⵨��վѲ�ҡ�����ǡ����١���ش��ͧ


แจกฟรีแนวข้อสอบ จิตวิทยาและการแนะแนว

แนวข้อสอบ จิตวิทยาพัฒนาการ พร้อมเฉลย

ดาวน์โหลด ไฟล์ PDF >>> คลิ๊ก

1.ข้อใดกล่าวความหมายของพฤติกรรมได้ถูกต้อง

ก. การกระทำทุกอย่างของมนุษย์ที่ทำไปโดยรู้ตัว

ข. การกระทำทุกอย่างของมนุษย์ที่ทำไปโดยที่ไม่รู้ตัว

ค. การกระทำทุกอย่างของมนุษย์ที่ทำไปโดยที่ผู้อื่นสังเกตได้

ง. การกระทำทุกอย่างของมนุษย์ที่ทำไปโดยที่ผู้อื่นสังเกตได้หรือไม่ก็ตาม

ตอบ ง. การกระทำทุกอย่างของมนุษย์ที่ทำไปโดยที่ผู้อื่นสังเกตได้หรือไม่ก็ตาม 

2.Learning by doingเป็นแนวคิดนักจิตวิทยาใด

ก. Rogers

ข. Maslow

ค. John dewey

ง. Freud

ตอบ ค. John dewey

3.มนุษย์มีความต้องการไม่มีที่สิ้นสุดเป็นแนวคิดผู้ใด

ก. Maslow

ข. Skinner

ค. Povlov

ง. Watson

ตอบ ก. Maslow 

4.ความแตกต่างระหว่างบุคคลมีสาเหตุมาจากข้อใดเป็นสำคัญ

ก. พันธุกรรม

ข. สิ่งแวดล้อม

ค. การได้เรียนรู้

ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.

ตอบ ง. ถูกทั้ง ก. และ ข. 

5.มนุษย์ทุกคนเกิดมาเปรียบเสมือนผ้าขาวเป็นแนวคิดของใคร

ก. รุสโซ

ข. เพียเจท์

ค. สกินเนอร์

ง. ฟาฟลอพ

ตอบ ก. รุสโซ

6.ทฤษฎีพัฒนาบุคลิกภาพคือนักจิตวิทยาในข้อใด

ก. รุสโซ

ข. ฟรอยด์

ค. ธอร์นไดค์

ง. สกินเนอร์

ตอบ ข. ฟรอยด์

7.บทเรียนแบบโปรแกรม เป็นแนวคิดนักจิตวิทยาผู้ใด

ก. รุสโซ

ข. ฟรอยด์

ค. ธอร์นไดค์

ง. สกินเนอร์

ตอบ ง. สกินเนอร์

8.การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูกเป็นแนวคิดนักจิตวิทยาผู้ใด

ก. รุสโซ

ข. ฟรอยด์

ค. ธอร์นไดค์

ง. สกินเนอร์

ตอบ ง. สกินเนอร์

9.การเรียนรู้คืออะไร

ก.การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

ข. การเกิดความคิด

ค. การเกิดความจำ

ง. การตอบสนองต่อสิ่งเร้า

ตอบ ก. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

10.ยิ่งฝึกหัดทำมาก ๆ ยิ่งเกิดการเรียนรู้ ตรงกับทฤษฎีของใคร

ก. ฟาฟลอพ

ข. ฟอร์ยด์

ค. สกินเนอร์

ง. ธอร์นไดค์

ตอบ ง. ธอร์นไดค์

11.วุฒิภาวะ หมายถึงอะไร

ก. กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ

ข. กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้

ค. กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมความเคร่งครัดระหว่างบุคคลจากสิ่งแวดล้อม

ง. กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมความเคร่งครัดระหว่างบุคคลจากพฤติกรรม

ตอบ ก. กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ

12.การพัฒนาการ คือการเปลี่ยนแปลงที่มีผลมาจากข้อใด

ก. พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม

ข. พันธุกรรมและวุฒิภาวะ

ค. พันธุกรรมและประสบการณ์

ง. วุฒิภาวะและประสบการณ์

ตอบ ก. พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม

13.การแบ่งการพัฒนาทางสติปัญญาของเพียเจท์ (Piajet)ขั้นปฏิบัติโดยใช้นามธรรมได้อายุช่วงใด

ก. 4-7 ปี

ข. 5-9 ปี

ค. 7-11 ปี

ง. 11-17 ปี

ตอบ   ง. 11-17 ปี  (12 ปีขึ้นไป เรียนรู้สิ่งที่เป็นนามธรรม)

14.ผู้คิดค้นเกณฑ์วัดระดับสติปัญญา (Q.)คือผู้ใด

ก. บิเนต์ (Binet)

ข. สเติรน์ (Stern)

ค. จอห์น ดิวอี้ (John Dewey)

ง. เพียจท์ (Piajet)

ตอบ ก. บิเนต์ (Binet)

15.ข้อใดเป็นความหมายของการทำจิตวิทยาสำหรับเด็ก

ก. การช่วยให้นักเรียนได้มีความรู้ดีขึ้น

ข. การช่วยให้นักเรียนรู้จักช่วยตนเอง ปรับเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้

ค. การช่วยให้นักเรียนรู้จักผ่อนคลายอารมณ์

ง. การแก้ไขปัญหาทุกอย่างให้นักเรียน

ตอบ ข. การช่วยให้นักเรียนรู้จักช่วยตนเอง ปรับเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้

16.หัวใจของการทำจิตวิทยาสำหรับเด็กคือข้อใด

ก. การบริการให้คำปรึกษา

ข. การบริการข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก

ค. การบริการจัดวางตัวบุคคล

ง. การบริการสารสนเทศ

ตอบ ก. การบริการให้คำปรึกษา

17.เป้าหมายของการจิตวิทยาสำหรับเด็กคือข้อใด

ก. เด็กเข้าใจปัญหาของตนทุกด้าน

ข. เด็กสามารถอยู่ในสังคมได้

ค. เด็กสามารถเลือกอาชีพได้

ง. เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างดีทุกด้าน

ตอบ ข. เด็กสามารถอยู่ในสังคมได้

18.ข้อใดไม่ใช่หลักของการจิตวิทยา

ก. จัดให้เด็กทุกคน

ข. ยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง

ค. จัดให้เด็กมีปัญหา

ง. จัดบริการอย่างต่อเนื่อง

ตอบ ค. จัดให้เด็กมีปัญหา

19.การจัดหาทุนการศึกษาให้เด็กเป็นการบริการด้านใด

ก. จัดวางตัวบุคคล

ข. การให้คำปรึกษา

ค. การให้บริการสารสนเทศ

ง. การติดตามและประเมินผล

ตอบ ก. จัดวางตัวบุคคล 

20.ความสำเร็จของการใช้จิตวิทยาในสถานพินิจต้องอาศัยข้อใด

ก. เด็ก

ข. ผู้ดูแล

ค. ผู้บริหาร

ง. ทุก ๆ ฝ่ายร่วมกัน

ตอบ   ง. ทุก ๆ ฝ่ายร่วมกัน

ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการมีอะไรบ้าง

ทฤษฎีทางจิตวิทยาพัฒนาการเด็ก 1. ทฤษฎีพัฒนาการทางเพศของฟรอยด์ 2. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ 3. ทฤษฎีพัฒนาการทางจิตสังคมของอีริคสัน 4. ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก Page 13 โสตทัศน์ # 1.5 ทฤษฎีพัฒนาการทางเพศของฟรอยด์

ประเภทของแบบทดสอบทางจิตวิทยามีกี่รูปแบบอะไรบ้าง

แบ่งได้ 4 ชนิด ได้แก่ 1. แบบทดสอบวัดความสามารถทางสติปัญญา (Intelligence Test) 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ (Achievement Test) 3. แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ (Personality Test) 4. แบบทดสอบทางประสาทจิตวิทยา(Neuropsychological Test)

จิตวิทยาพัฒนาการมีความสัมพันธ์กับอะไร

ศาสตร์ของจิตวิทยาพัฒนาการจะเน้นศึกษาทักษะการเคลื่อนไหว สรีระร่างกาย การพัฒนาทางสติปัญญาทั้งในด้านการแก้ไขปัญหา และความเข้าใจทางด้านศีลธรรม การเข้าใจมโนทัศน์นอกจากนี้ ยังศึกษาด้านของการพัฒนาทักษะทางภาษา สังคมและอารมณ์ รวมไปถึงความเข้าใจในตนเอง

การวัดทางจิตวิทยามีอะไรบ้าง

1. แบบทดสอบสติปัญญา (Intelligence Quotient Test : IQ Test) ... .
2. แบบทดสอบความถนัด (Aptitude Test) ... .
3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ (Achievement Test) ... .
4. แบบทดสอบบุคลิกภาพ (Personality Test) ... .
5. แบบทดสอบที่สร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะอื่น ๆ.