การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ด้วย app inventor 2 แบบ online ผู้ใช้จะต้องมีอะไร

แผนการจดั กระบวนการเรียนรู้
ตามหลกั สตู รการทำแอปพลเิ คช่ัน (Application) เพ่ือการคา้ ออนไลน์

ที่ เร่อื ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอื้ หา การจดั กระบวนการ จำนวนชัว่ โมง
เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

1 แอปพลิเคช่ัน มีความรู้ ความเข้าใจ 1. ความหมาย - การบรรยาย (เอกสาร 22

(Application) เกยี่ วกบั ดา้ นความหมาย แอปพลิเคชนั่ ประกอบ) 34

ประเภท และประโยชนข์ อง (Application) ใบความรูเ้ รอ่ื ง

แอปพลิเคชั่น 2. ประเภทของ ความหมาย ประเภท

(Application) พ้ืนฐาน แอปพลิเคช่นั และประโยชน์ของ

(Application) แอปพลิเคชั่น

3. ประโยชน์ของ (Application) พนื้ ฐาน

แอปพลิเคชั่น - การฝกึ ปฏบิ ตั ิ ใบงาน

(Application) เร่อื ง แอปพลิเคช่นั

(Application)

2 เครือ่ งมือที่ใช้ มคี วามรู้ ความเข้าใจ และ 1. เครื่องมือท่ใี ชใ้ น - การบรรยาย (เอกสาร

ในการจัดทำ สามารถเลอื กใช้เคร่ืองมือ การทำแอปพลิเคช่นั และคลปิ วีดโี อ)

แอปพลิเคชน่ั ในการทำแอปพลิเคชั่น (Application) เพ่ือ 1. ใบความร้เู รื่อง

(Application) (Application) เพ่ือการคา้ การค้าออนไลน์ เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการทำ

เพอื่ การคา้ ออนไลน์ 2. หลักการเลือกใช้ แอปพลิเคช่นั

ออนไลน์ เคร่ืองมอื ในการทำ (Application) เพ่ือ

แอปพลิเคช่ัน การค้าออนไลน์ เชน่

(Application) เพื่อ MIT App Inventor

การคา้ ออนไลน์ Thunkable Eclipse

เป็นตน้

2. ใบความรูเ้ รื่อง

หลกั การเลือกใช้

เครอ่ื งมือในการทำ

แอปพลิเคช่นั

(Application) เพื่อ

การคา้ ออนไลน์

3. คลปิ วดี โี อเร่อื ง

หลักการเลือกใช้

2

3

ท่ี เรื่อง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เนือ้ หา การจัดกระบวนการ จำนวนชวั่ โมง
เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

เครอ่ื งมือที่ในการทำ

แอปพลิเคชนั่

(Application) เพ่ือ

การคา้ ออนไลน์ เชน่

MIT App Inventor

Thunkable Eclipse

เปน็ ตน้

- การฝึกปฏบิ ัติ ใบงาน

เร่ือง เครื่องมือทีใ่ ช้

ในการจดั ทำ

แอปพลิเคช่นั

(Application) เพ่ือ

การคา้ ออนไลน์

- การแลกเปล่ยี นเรียนรู้

ร่วมกันตอ่ การเลอื กใช้

เคร่อื งมอื ในการจัดทำ

แอปพลิเคช่นั

(Application) เพื่อ

การค้าออนไลน์

3 กระบวนการ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 1. องคป์ ระกอบของ - การบรรยาย (เอกสาร 4 15
จัดทำ องคป์ ระกอบของการทำ
แอปพลิเคชัน่ แอปพลิเคช่ัน การทำแอปพลิเคชัน่ และคลิปวดี ีโอ)
(Application) (Application) เพื่อการคา้
เพือ่ การค้า ออนไลน์ (Application) เพื่อ 1. ใบความร้เู รอ่ื ง
ออนไลน์ 2. สามารถจดั ทำ
แอปพลิเคชั่น การค้าออนไลน์ องคป์ ระกอบของการทำ
(Application) เพื่อการคา้
ออนไลน์ ตามข้นั ตอนได้ 2. ขนั้ ตอนของการ แอปพลิเคชั่น
อยา่ งถูกต้อง
ทำแอปพลิเคชั่น (Application) เพื่อ

(Application) เพ่ือ การคา้ ออนไลน์

การคา้ ออนไลน์ 2. ใบความรเู้ รื่อง

3. ตัวอยา่ งขั้นตอน ขัน้ ตอนของการทำ

ของการทำ แอปพลิเคชัน่

แอปพลิเคช่ัน (Application) เพ่ือ

(Application) เพื่อ การค้าออนไลน์

3

4

ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือหา การจดั กระบวนการ จำนวนช่วั โมง
เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

การค้าออนไลน์ 3. คลิปวีดีโอเรื่อง

จากเคร่ืองมือที่ใชใ้ น องคป์ ระกอบและ

การจดั ทำ ขั้นตอนการทำ

แอปพลิเคชน่ั แอปพลิเคชัน่

(Application) (Application) เพื่อ

การค้าออนไลน์

4. คลปิ วีดโี อเรื่อง

ตวั อยา่ งขั้นตอนของการ

ทำแอปพลิเคชัน่

(Application) เพื่อ

การค้าออนไลน์ จาก

เคร่อื งมือท่ีใช้ในการ

จดั ทำแอปพลิเคชัน่

(Application) เช่น MIT

App Inventor

Thunkable Eclipse

เป็นต้น

- การฝกึ ปฏิบตั ิ ใบงาน

เรือ่ ง การทำ

แอปพลิเคช่ัน

(Application) เพื่อ

การค้าออนไลน์

- การแลกเปลย่ี นเรียนรู้

รว่ มกันตอ่ การทำ

แอปพลิเคชั่น

(Application) เพ่ือ

การคา้ ออนไลน์

4 กฎหมายและ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 1. กฎหมายทาง - การบรรยาย (เอกสาร 2 2
ระเบยี บท่ี กฎหมายและระเบยี บ
เกีย่ วข้อง ทีเ่ ก่ียวข้องกับการทำ คอมพวิ เตอร์ และคลิปวีดโี อ)
แอปพลิเคช่ัน
2. กฎหมายการ 1. ใบความรูเ้ รอื่ ง

ค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภค กฎหมายทาง

4

5

ท่ี เรื่อง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนือ้ หา การจัดกระบวนการ จำนวนช่วั โมง
(Application) เพ่ือการคา้ เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
5 การเลอื ก ออนไลน์ และสามารถ
รปู แบบและ ปฏบิ ตั ติ นให้ถูกต้องตาม 3. กฎหมายการ คอมพิวเตอร์ 33
การตัดสนิ ใจ กฎหมาย
คุ้มครองข้อมูลสว่ น 2. ใบความรู้เร่ือง
1. มีความรู้ ความเข้าใจ
เก่ียวกับช่องทางการค้า บุคคล กฎหมายการคุ้มครอง
ออนไลน์ ที่จดั ทำข้ึนเอง
ผู้บริโภค

3. ใบความรเู้ ร่ือง

กฎหมายการคุ้มครอง

ข้อมลู ส่วนบคุ คล

4. คลปิ วดี ีโอเรื่อง การ

ปฏิบัติตนตามกฎหมาย

ทางคอมพวิ เตอร์

5. คลิปวีดโี อเรื่อง การ

ปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย

การคุม้ ครองผู้บริโภค

6. คลิปวดี ีโอเรอ่ื ง การ

ปฏิบัตติ นตามกฎหมาย

การค้มุ ครองขอ้ มลู ส่วน

บคุ คล

- การฝึกปฏบิ ัติ ใบงาน

เร่ือง กฎหมายและ

ระเบียบที่เก่ียวขอ้ ง

- การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้

ร่วมกนั ต่อการทำ

แอปพลิเคชั่น

(Application) เพื่อ

การคา้ ออนไลน์ ถูกต้อง

ตามกฎหมายและ

ระเบยี บ

ที่กำหนด

1. รปู แบบชอ่ งทาง - การบรรยาย (เอกสาร

การค้าออนไลนผ์ ่าน ประกอบ)

แอปพลิเคช่ัน 1. ใบความรู้เรือ่ ง

5

6

ที่ เร่อื ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หา การจดั กระบวนการ จำนวนชว่ั โมง
เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

ใช้ชอ่ งทางเพอ่ื และแบบสำเร็จรปู (Application) ท่ี รูปแบบชอ่ งทางการค้า

การค้า 2. สามารถตัดสินใจเลอื กใช้ จดั ทำข้นึ ออนไลน์ผ่าน

ออนไลน์ผ่าน ช่องทางการคา้ ออนไลน์ของ 2. รปู แบบชอ่ งทาง แอปพลิเคช่นั

ทาง แต่ละแอปพลิเคช่นั การคา้ ออนไลน์ผ่าน (Application) ทจี่ ัดทำ

แอปพลิเคช่นั (Application) เพ่ือการค้า แอปพลิเคชน่ั ขน้ึ

(Application) ออนไลนส์ ำหรับตนเอง (Application) แบบ 2. ใบความร้เู ร่อื ง

และชมุ ชนได้ สำเร็จรูป รูปแบบชอ่ งทางการคา้

3. วิธกี ารเลอื ก ออนไลน์ผ่าน

รูปแบบและ แอปพลิเคชั่น

ตัดสินใจใชช้ ่องทาง (Application) แบบ

การคา้ ออนไลนผ์ า่ น สำเรจ็ รูป

แอปพลิเคชน่ั 3. ใบความรเู้ รื่อง วธิ ีการ

(Application) ที่ เลือกรูปแบบและ

จดั ทำข้นึ ตดั สนิ ใจใชช้ ่องทาง

และแบบสำเรจ็ รูป การคา้ ออนไลน์ผ่าน

สำหรบั ตนเอง และ แอปพลิเคช่ัน

ชมุ ชน (Application) ท่จี ดั ทำ

ขน้ึ และแบบสำเรจ็ รูป

สำหรบั ตนเองและชมุ ชน

- การฝึกปฏบิ ตั ิ

ใบงานเร่อื ง วธิ ีการเลือก

รปู แบบและตัดสินใจใช้

ชอ่ งทางการค้าออนไลน์

ผ่านแอปพลิเคชัน่

(Application) ที่จดั ทำ

ขน้ึ และแบบสำเรจ็ รปู

- การแลกเปล่ยี นเรียนรู้

รว่ มกนั ต่อวิธีการเลือก

รูปแบบและตัดสนิ ใจใช้

ช่องทางการค้าออนไลน์

ผา่ นแอปพลิเคช่นั

6

7

ที่ เร่ือง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจดั กระบวนการ จำนวนชว่ั โมง
เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

(Application) ท่จี ัดทำ

ข้ึนและแบบสำเร็จรูป

รวม 14 26

รวมทั้งส้นิ 40

7

8

ตารางสรปุ ส่ือการเรียนรู้ประกอบการจดั กระบวนการเรยี นรู้
ตามหลกั สตู รการทำแอปพลิเคชัน่ (Application) เพื่อการค้าออนไลน์

เรื่องท่ี เน้ือหา สอ่ื ประกอบการจดั หนา้
กระบวนการเรยี นรู้ 11
1 1.1 ความหมายแอปพลิเคช่ัน 1. ใบความรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง ความหมาย
(Application) ประเภท และประโยชนข์ อง 22
1.2 ประเภทของแอปพลิเคช่ัน แอปพลิเคชน่ั (Application) 24
(Application) พืน้ ฐาน 43
1.3 ประโยชน์ของแอปพลิเคชัน่ 2. ใบงานที่ 1 เรอ่ื ง แอปพลิเคชัน่
(Application) (Application) 44
45
2 2.1 เครื่องมือที่ใชใ้ นการทำ 1. ใบความร้ทู ี่ 2.1 เร่ือง เครอ่ื งมอื ท่ี 46
แอปพลิเคช่ัน (Application) ใช้ในการทำแอปพลิเคชน่ั
เพือ่ การคา้ ออนไลน์ (Application) เพ่ือการค้าออนไลน์ 53
2.2 หลักการเลือกใชเ้ ครื่องมือในการ 2. ใบความรู้ที่ 2.2 เรือ่ ง หลักการ 58
ทำแอปพลิเคชนั่ (Application) เลือกใชเ้ คร่ืองมือในการทำ
เพือ่ การคา้ ออนไลน์ แอปพลิเคช่ัน (Application) เพือ่
การค้าออนไลน์
3 3.1 องค์ประกอบของการทำ 3. คลปิ วดี ีโอเรอื่ ง หลกั การเลือกใช้
แอปพลิเคชั่น (Application) เพื่อ เคร่อื งมอื ที่ในการทำแอปพลิเคช่ัน
การคา้ ออนไลน์ (Application) เพ่ือการคา้ ออนไลน์
3.2 ขน้ั ตอนของการทำแอปพลิเคชนั่ 4. ใบงานท่ี 2 เรือ่ ง เครอื่ งมอื ท่ใี ช้
(Application) เพ่ือการค้าออนไลน์ ในการจัดทำแอปพลิเคช่ัน
3.3 ตวั อย่างขัน้ ตอนของการทำ (Application) เพื่อการคา้ ออนไลน์
แอปพลิเคชน่ั (Application) เพ่อื
การค้าออนไลน์ จากเคร่ืองมือทใ่ี ช้ใน 1. ใบความรทู้ ี่ 3.1 เรื่อง
การจัดทำแอปพลิเคชัน่ องค์ประกอบของการทำ
แอปพลิเคชน่ั (Application) เพื่อ
การคา้ ออนไลน์
2. ใบความรู้ที่ 3.2 เรือ่ ง ข้ันตอน
ของการทำแอปพลิเคช่นั
(Application) เพ่ือการคา้ ออนไลน์
3. คลิปวดี โี อเรอื่ ง องค์ประกอบและ
ขน้ั ตอนของการทำแอปพลิเคชั่น

8

เรื่องท่ี เน้ือหา สอ่ื ประกอบการจดั 9
กระบวนการเรยี นรู้ หนา้
58
(Application) (Application) เพื่อการค้าออนไลน์
59
4. คลปิ วีดโี อเรอื่ ง ตัวอย่างขั้นตอน
60
ของการทำแอปพลิเคชน่ั 67
71
(Application) เพ่ือการค้าออนไลน์ 76
76
จากเครื่องมือที่ใช้ในการจดั ทำ 76

แอปพลิเคชัน่ (Application) 77
78
5. ใบงานที่ 3 เร่ือง เร่ือง การทำ
87
แอปพลิเคชัน่ (Application) เพอื่

การคา้ ออนไลน์

4 4.1 กฎหมายทางคอมพิวเตอร์ 1. ใบความรูท้ ่ี 4.1 เรอ่ื ง กฎหมาย

4.2 กฎหมายการคุ้มครองผ้บู ริโภค ทางคอมพวิ เตอร์

4.3 กฎหมายการคุม้ ครองขอ้ มลู ส่วน 2. ใบความรู้ที่ 4.2 เรอื่ ง กฎหมาย

บคุ คล การคุ้มครองผบู้ ริโภค

3. ใบความรทู้ ่ี 4.3 เรื่อง กฎหมาย

การคมุ้ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคล

4. คลปิ วดี โี อเรือ่ ง การปฏิบัติตน

ตามกฎหมายทางคอมพวิ เตอร์

5. คลิปวีดีโอเรือ่ ง การปฏบิ ัติตน

ตามกฎหมายการคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค

6. คลิปวีดโี อเร่ือง การปฏบิ ตั ิตน

ตามกฎหมายการคุ้มครองข้อมูล

สว่ นบคุ คล

7. ใบงานที่ 4 เร่ือง กฎหมายและ

ระเบยี บท่ีเกย่ี วขอ้ ง

5 1. รูปแบบช่องทางการค้าออนไลนผ์ ่าน 1. ใบความรู้ท่ี 5.1 เร่ือง รูปแบบ

แอปพลิเคชัน่ (Application) ท่จี ัดทำ ชอ่ งทางการค้าออนไลนผ์ า่ น

ขน้ึ แอปพลิเคชนั่ (Application) ท่ี

2. รปู แบบชอ่ งทางการคา้ ออนไลนผ์ า่ น จัดทำขน้ึ

แอปพลิเคชน่ั (Application) แบบ 2. ใบความรู้ที่ 5.2 เรอ่ื ง รูปแบบ

สำเรจ็ รปู ช่องทางการคา้ ออนไลนผ์ ่าน

3. วิธีการเลือกรูปแบบและตัดสนิ ใจใช้ แอปพลิเคชั่น (Application) แบบ

9

เรอื่ งท่ี เนอื้ หา สอ่ื ประกอบการจดั 10
กระบวนการเรยี นรู้ หนา้
ช่องทางการคา้ ออนไลนผ์ า่ น สำเรจ็ รูป 120
แอปพลิเคช่ัน (Application) ที่จัดทำ 3. ใบความรู้ที่ 5.3 เร่อื ง วิธีการ
ข้นึ และแบบสำเรจ็ รปู สำหรับตนเอง เลอื กรปู แบบและตัดสนิ ใจใช้ 131
และชุมชน ชอ่ งทางการค้าออนไลน์ผา่ น
แอปพลิเคชน่ั (Application) ท่ี
จดั ทำขึน้ และแบบสำเร็จรปู สำหรบั
ตนเองและชุมชน
4. ใบงานที่ 5 เร่ือง วิธีการเลือก
รูปแบบและตัดสินใจใช้ช่องทาง
การคา้ ออนไลนผ์ ่านแอปพลิเคชัน่
(Application) ทจ่ี ดั ทำข้นึ และแบบ
สำเรจ็ รูป

10

ใบความรูท้ ่ี 1
เร่อื ง ความหมาย ประเภท และประโยชน์ของแอปพลเิ คชั่น (Application) พ้นื ฐาน

ความหมายของแอปพลิเคชน่ั
แอปพลิเคชั่น (Application) หมายถึง โปรแกรม หรือชุดสั่งที่ใช้ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์

เคลื่อนที่และอุปกรณ์ต่อพวงต่าง ๆ เพื่อให้ทำงานตามคำสั่ง และตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ โดยแอปพลิเคชั่น
(Application) จะตอ้ งมสี ิ่งท่ีเรียกว่า สว่ นติดตอ่ กับผู้ใช้ (User Interface หรอื UI) เพ่ือเปน็ ตวั กลางการใช้งานต่าง ๆ
หรือซอฟแวร์ประเภทหนึ่งที่ช่วยให้เราสามารถกระทำการบางอย่างได้ตามความต้องการของเรา โดยแอปพลิเคชั่น
สำหรับใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและโน๊ตบุ๊คนั้น เรียกว่า เดสก์ทอป แอปพลิเคชั่น (Desktop
Applications) ส่วนแอปพลิเคชั่นที่ทำงานบนเครื่องอุปกรณ์พกพาทั้งหลาย เรียกว่า โมบายล์แอปพลิเคช่ัน
(Mobile Applications) เมื่อรันแอปพลิเคชั่น มันจะทำงานอยู่ภายใต้ระบบปฏิบัติการตลอดเวลาจนกว่าจะทำ
การปิดมนั ไป ภายในเวลาเดียวกัน อาจมีหลายแอปพลิเคช่ันท่ีกำลังทำงานพร้อมกนั ในระบบปฏิบัติการ โดยเรียก
กระบวนการน้ีว่า มัลติแทสก้ิง (Multitasking) [1]

---------------------
1 เขตนวัตกรรมระเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก Eastern Economic Corridor of Innovation สำนักงานพัฒนา

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ , 2564

11

12

แอพ หรือ App” เป็นคำสั้น ๆ ที่ใช้แทนคำว่า “แอปพลิเคชั่น” โดยเฉพาะแอปพลิเคชั่นเล็ก ๆ
ที่เราสามารถโหลดมาใช้งานได้อยา่ งง่าย ๆ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หรือเสียคา่ ใช้จ่ายนอ้ ย แอปพลิเคชั่นจำนวนหน่งึ
ถูกออกแบบมาสำหรับใช้งานบนอุปกรณ์พกพาและแม้กระทั่งทีวีบางรุ่น มีการถูกใช้กันอย่างแพร่หลาย เช่น
โปรแกรมประมวลผลคำ (Word Processing) โปรแกรมตกแต่งภาพ (Image Processing) เครื่องคำนวณ
(Calculator) เป็นตน้ [2]
ประเภทของแอปพลิเคชัน่

แอปพลเิ คชัน่ สามารถแบง่ ประเภทได้หลากหลาย สามารถจำแนกตามลักษณะการใชง้ าน เช่น
1. ตามลักษณะการทำงาน มจี ำนวน 2 ประเภท [3]
1.1 แอปพลิเคชั่นระบบ เป็นส่วนซอฟต์แวร์ระบบหรือระบบปฏิบัติการ (Operating System) ที่
ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์และรองรับการใช้งานของแอปพลิเคชั่นหรือโปรแกรมต่าง ๆ ที่ติดตั้งอยู่
ภายในคอมพิวเตอร์ Smart Phone หรือ Computer/Cloud Server โดยในปัจจุบันระบบปฏิบัติการที่ได้รับ
ความนยิ ม เช่น IOS Android Windows หรือ Mac
1.2 แอปพลิเคชั่นที่ตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้ใช้เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์หรือโปรแกรม
ประยกุ ตท์ ่ที ำงานภายใต้ระบบปฏิบตั ิการ มีวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะอย่าง เนอ่ื งจากผูใ้ ช้มคี วามตอ้ งการใช้แอปพลิเคช่ัน
ที่แตกต่างกัน จำนวนของอุปกรณ์คอมพิวเตอรเ์ คลือ่ นที่มีหลากหลายชนิด ขนาดหน้าจอที่แตกต่างจึงมผี ู้ผลิตและ
พฒั นาแอปพลิเคชั่นใหม่ ๆ ขึน้ เป็นจำนวนมากเพ่อื รองรับการใช้งานในทุก ๆ ดา้ น โดยกลุ่มผู้สรา้ งนนั้ จะแบง่ ออกเป็น
2 กลุ่ม ใหญ่ ๆ คือ

1) พัฒนาเพื่อนำมาใช้ในธุรกิจของตนเอง เพื่อสร้างความคล่องตัว เพื่อเพิ่มช่องทางใน
การขายและบริการในองค์กร มีการใช้งานขายหรือบริการในรูปแบบบริษัทเดียว ยกตัวอย่างเช่น แอปพลิเคชั่น
ขนส่งของไปรษณีย์ไทย Kerry Express แอปพลเิ คชนั่ การบรกิ ารของตน AIS, DTAC, True เป็นตน้

2) พัฒนาขึ้นมาเป็น Platform โดยเป็นคนกลางและทำตลาดให้ผู้ทีก่ ำลังสนใจหาสินค้าหรือ
บริการที่ต้องการอยู่มาใช้ เช่น E commerce Ebay Shoppee Lazada หรือ แอปพลิเคชั่นในการหาที่พักหรือ
โรงแรม Agoda Booking Airbnb หรือบางกลุม่ อาจจะเรยี กว่าการทำธุรกิจ Startup

2. ตามสภาพแวดลอ้ มการทำงาน (Environment หรอื Platform) มีจำนวน 3 ประเภท [4]
2.1 เดสก์ทอปแอปพลิเคช่นั (Desktop Applications) คือ Application ท่ีทำงานบนเคร่ือง

Desktop Computer เชน่ PC หรือ Mac เป็นตน้ ซึง่ ในปจั จุบันน้มี ีแอปพลเิ คชน่ั อยู่มากมายเกนิ กว่าจะนับได้

---------------------
2 วรวทิ ย์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา. (2563). หนงั สอื เรียนรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการ

คำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สำนกั พิมพ์ บริษทั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.) จำกดั .
3 เขตนวตั กรรมระเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก Eastern Economic Corridor of Innovation สำนกั งานพัฒนา

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ , 2564
4 วรวิทย์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา. (2563). หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการ

คำนวณ) ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สำนกั พิมพ์ บรษิ ทั พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จำกดั .

12

13

และแอปพลิเคชั่นมากมายนั้นก็บางแยกออกเป็นประเภทต่าง ๆ อีกมากมาย บางแอปพลิเคชั่นเป็นแบบเต็ม
ประสิทธิภาพอย่าง Microsoft Word ที่มีความสามารถในการจัดการด้านเอกสารครบครัน ในขณะที่บาง
แอปพลิเคชั่นอาจมีความสามารถเพียงหนึ่งหรือสองอย่างเท่านั้น เช่น Gadgets ต่าง ๆ ตัวอย่างเดสก์ทอป
แอปพลเิ คชนั่ ได้แก่

โปรแกรมประมวลผลคำ – เป็นแอปพลิเคชั่นที่ช่วยให้เราเขียนตัวอักษรขึ้นมาและจัดการ
เกี่ยวกับเอกสารต่าง ๆ มันเป็นแอปพลิเคชั่นที่สามารถพบได้ทั่วไปในสำนักงาน โปรแกรมประมวลผลคำที่เป็น
ที่รู้จกั มากท่ีสุด คอื Microsoft Word

บัญชีส่วนตัว – โปรแกรมจัดการด้านบัญชี เช่น Quicken ช่วยให้เราสามารถติดตามรายรับ
รายจ่ายภายในบัญชีธนาคารของเราได้ โปรแกรมจัดการด้านบัญชีส่วนตัวโดยทั่วไปแล้วจะเชื่อมต่อ
เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกับทางธนาคารตลอดเวลา ทำให้เราสามารถติดตามความเคลื่อนไหวของบัญชีธนาคาร
ได้ตลอดเวลา

เว็บบราวเซอร์ – โปแกรมท่องเน็ตเป็นแอปพลิเคชั่นที่ช่วยให้เราติดตอ่ กับข้อมูลบนอินเตอร์เนต็ ได้
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะมีโปรแกรมเว็บบราวเซอร์นี้ติดตั้งไว้อยู่ก่อนแล้ว แต่เราสามารถดาวน์โหลด
โปรแกรมท่องเน็ตตัวที่เราต้องการมาใช้งานได้ ตัวอย่างโปรแกรมท่องเน็ต ได้แก่ Internet Explorer, Firefox
และ Chrome

เกมส์ – เกมมากมายนั้นเป็นส่วนหนึ่งของแอปพลิเคชั่น มันมีมากมายหลายรูปแบบตั้งแต่เกม
การ์ดเล็ก ๆ อยา่ ง Solitaire ไปจนถึงเกมขนาดใหญท่ ่ใี ช้สเปคเคร่ืองคอมพิวเตอร์สูง ๆ เช่น Crysis 2, Call of Duty ฯลฯ

มีเดีย เพลเยอร์ – โปรแกรมสำหรับใช้เล่นมัลติมีเดีย ดูหนัง ฟังเพลง แอปพลิเคชั่นที่มีให้เห็น
ในชวี ติ ประจำวันมากมาย มที ้ัง Windows Media Player, Winamp, iTunes ฯลฯ

Gadgets – บางครั้งอาจเรียกว่า “Widgets” มันเป็นเพียงแอปพลิเคชั่นเรียบง่ายธรรมดาที่
คนส่วนใหญ่นยิ มนำมาวางไว้บนหนา้ จอคอมพวิ เตอร์

2.2 โมบายล์แอปพลิเคชน่ั (Mobile Applications) Mobile Application ประกอบข้นึ ด้วยคำ
สองคำ คือ Mobile กับ Application มคี วามหมาย คือ [5]

Mobile คืออุปกรณ์สื่อสารที่ใช้ในการพกพา ซึ่งนอกจากจะใช้งานได้ตามพื้นฐาน
ของโทรศัพท์แล้ว ยังทำงานได้เหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่พกพาได้จึงมีคุณสมบัติเด่น
คือ ขนาดเล็กน้ำหนักเบาใช้พลังงานค่อนข้างน้อย ปัจจุบันมักใช้ทำหน้าที่ได้หลายอย่างในการติดต่อแลกเปลี่ยน
ข่าวสารกับคอมพิวเตอร์ สำหรับ Application หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ใช้เพื่อช่วยการทำงานของผู้ใช้ (User)
โดย Application จะตอ้ งมสี ิ่งทเี่ รียกวา่ สว่ นตดิ ต่อกับผใู้ ช้ (User Interface หรือ UI) เพ่อื เปน็ ตวั กลางการใชง้ านตา่ ง ๆ

---------------------
5 ความหมายของ Mobile Application. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/a/bumail.net/mobileapplication/khwam-hmay-khxng-mobile-application

(วนั ท่ีสบื ค้นขอ้ มูล 23 มิถุนายน 2564)

13

14
Mobile Application เป็นการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น
โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต โดยโปรแกรมจะช่วยตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค อีกทั้งยังสนับสนุนให้ผู้ใช้
โทรศัพท์ได้ใช้ง่ายยิ่งขึ้น ในปัจจุบันโทรศัพท์มือ หรือ สมาร์ทโฟน มีหลายระบบปฏิบัติการที่พัฒนาออกมาให้
ผู้บริโภคใช้ ส่วนที่มีคนใช้และเป็นที่นิยมมากก็คือ ios และ Android จึงทำให้เกิดการเขียนหรือพัฒนา
Application ลงบนสมาร์ทโฟนเป็นอย่างมาก อย่างเช่น แผนท่ี เกมส์ โปรแกรมคุยต่าง ๆ และหลายธุรกิจก็เข้า
ไปเน้นในการพัฒนา Mobile Application เพอ่ื เพิม่ ชอ่ งทางในการส่ือสารกับลกู คา้ มากขน้ึ ตัวอยา่ ง Application
ที่ติดมากับโทรศัพท์ อย่างแอปพลิเคชั่นเกมส์ชือ่ ดังทีช่ ื่อวา่ Angry Birds หรือ facebook ที่สามารถแชร์เรือ่ งราว
ตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเปน็ ความรสู้ ึก สถานท่ี รปู ภาพ ผ่านทางแอปพลิเคชัน่ ได้โดยตรงไมต่ ้องเข้าเวบ็ บราวเซอร์
Mobile Application เหมาะสำหรับธุรกิจและองค์กรต่างๆในการเข้าถึงกลุ่มคนรุ่นใหม่
รวมถงึ ขยายการให้บรกิ ารผา่ นมอื ถือ สะดวกงา่ ย ทกุ ที่ ทุกเวลา ตวั อยา่ งการประยุกตใ์ ช้ เชน่
1. Mobile Application for Real Estate : โมบายแอปพลิเคชน่ั สำหรบั อสังหาริมทรัพย์
ใชใ้ นการเก็บข้อมลู ลูกคา้ การจอง การขายบา้ น คอนโด ทด่ี นิ

(ที่มา : https://sites.google.com/a/bumail.net/mobileapplication/khwam-hmay-khxng-mobile-application)

2. Mobile Application for Tourism : โมบายแอปพลเิ คช่ันสำหรบั การท่องเทีย่ ว
โรงแรม บริษทั ทัวร์ สามารถดูขอ้ มูล จองที่พักได้ รวมถงึ กลุ่ม MICE ทีส่ ามารถจัดทำระบบการลงทะเบียน
การชำระเงนิ ข้อมูลการประชุม สมั มนา นิทรรศการ

14

15

(ทม่ี า : https://sites.google.com/a/bumail.net/mobileapplication/khwam-hmay-khxng-mobile-application)

3. Mobile Application for Restaurant : โมบายแอปพลิเคชั่นสำหรับภัตตาคาร
ร้านอาหาร ร้านไวน์ นำเสนอเมนูอาหารรปู แบบใหม่สรา้ งความแตกตา่ งและทนั สมยั

4. Mobile Application for Retail or Wholesale : โมบายแอปพลิเคชั่นสำหรับการขาย
สนิ ค้า หรือ บรกิ าร ทัง้ แบบคา้ ปลีก คา้ ส่ง ตวั แทนจำหนา่ ย หรอื ขายผ่านพนกั งานขาย

5. Mobile Application for Education : โมบายแอปพลิเคช ั่นสำหรับการศ ึ ก ษา
สถาบันการศึกษา ห้องสมุด ศูนยฝ์ ึกอบรม สามารถจดั ทำ สือ่ การสอน การจดั ทำบทเรียน

หรือระบบ Learning Management System Mobile Application for Healthcare :
สำหรับบริการทางการแพทย์ สาธารณสขุ ในการให้ คำปรึกษาทางไกล

(ท่ีมา : https://sites.google.com/a/bumail.net/mobileapplication/khwam-hmay-khxng-mobile-application)

15

16

6. ระบบ Mobile Application for Logistics, Mobile Application for Government :
สำหรับหน่วยงานราชการในการนำเสนอฐานข้อมูล ข่าวสาร กิจกรรม บริการต่างๆของหน่วยงานในรูปแบบ
ทนั สมยั มากขนึ้ เปน็ ตน้

รูปแบบของ Mobile Application มี 4 แบบ คอื [6]
1. Windows Mobile พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ ที่ผลิตระบบปฏิบัติการที่รองรับ
การทำงานของคอมพิวเตอร์มากมายได้แก่ Windows XP, Windows Vista หรือ Windows 7 เป็นต้น ลักษณะ
การใช้งานของ Windows Mobile คล้ายคลึงกับ Windows ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างสมาร์ทโฟนท่ี
ใช้Windows Mobileไดแ้ ก่ HTC, Acer เปน็ ตน้
2. BlackBerry OS พัฒนาโดยบริษัท RIM เพื่อรองรับการทำงานของแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ
ของBlackBerry โดยตรง จะเน้นการใช้งานทางด้านอีเมล์เป็นหลัก ซึ่งเมื่อมีอีเมล์เข้ามาสู่ระบบเซิร์ฟเวอร์จะทำ
การส่งต่อมายัง BlackBerry โดยจะมีการเตือนสถานะที่หน้าจอ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลอย่างทันท่วงที ซึ่งระบบ
อีเมลข์ อง BlackBerry จะมีความปลอดภัยสูงด้วยการเข้ารหัสข้อมูล ส่วนจุดเด่นสำคัญอีกอยา่ งหน่ึงคือระบบการ
สนทนาผ่านแบล็คเบอร์รี่ แมสเซนเจอร์ ซึ่งจะทำให้สามารถพิมพ์ข้อความสนทนากับเพื่อนๆ ที่มีแบล็คเบอร์รี่
เชน่ กันเปน็ แบบเรยี ลไทม์ ดว้ ยความสามารถในการเช่อื มตอ่ อนิ เทอร์เน็ตและมกี ารเปดิ ให้รับ-สง่ ข้อมูลกับเครือข่าย
มือถืออยู่ตลอดเวลา เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องติดต่องานต่างๆ ผ่านอีเมล์และกลุ่มวัยรุ่นที่รักการสนทนาผ่าน
คอมพวิ เตอร์
3. iPhone OS พัฒนาโดยบริษัท Apple เพื่อรองรับการทำงานของแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ
ของ iPhoneโดยตรง โดยกลุ่มที่นิยมใช้ iPhone มัก จะเป็นผู้ที่ชอบด้านมัลติมิเดีย เช่น การฟังเพลงดูหนัง หรือ
การเล่นเกม เป็นต้น บริษัทเกมหลายแห่งจึงผลิตเกมขึ้นมาเพื่อรองรับการทำงานบน iPhone โดยเฉพาะ ซึ่งผู้ใช้
สามารถซื้อขายแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต แล้วชำระเงินผ่านทางบัตรเครดิต ซึ่งเป็นธุรกิจอีกหนึ่ง
ประเภทท่ีกำลังเตบิ โตไปพร้อมกับธรุ กิจในกลุ่มสมาร์ทโฟน
4. Android พัฒนาโดยบริษัท Google เป็นระบบปฏิบัตกิ ารล่าสุดท่ีกำลงั เปน็ ท่ีนิยม รองรับ
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบเรียลไทม์ เพื่อใช้บริการจากกูเกิ้ลได้อย่างเต็มที่ ทั้ง Search Engine, Gmail,
Google Calendar, Google Docs และ Google Maps มจี ุดเดน่ คือเปน็ ระบบปฏิบตั กิ ารแบบ Open Soure ซง่ึ
ทำให้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งตอนนี้มีโปรแกรมต่าง ๆ ให้เลือกใชง้ านมากมาย จึงเหมาะสำหรบั ผู้ที่ต้องใช้
งานบรกิ ารตา่ ง ๆ จากทางกูเก้ิล รวมทัง้ ตอ้ งการเชื่อมตอ่ อนิ เทอรเ์ น็ตอย่ตู ลอดเวลา
2.3 เว็บแอปพลิเคชั่น (Web Application) คือ การพัฒนาระบบงานบนเว็บ ซึ่งมีข้อดี คือ
ข้อมูลต่าง ๆ ในระบบมีการไหลเวียนในแบบ Online ทั้งแบบ Local (ภายในวง LAN) และ Global (ออกไปยัง
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต) ทำให้เหมาะสำหรับงานที่ต้องการข้อมูลแบบ Real Time ระบบมีประสิทธิภาพ และ
ใช้งานงา่ ย เหมอื นกับทา่ นทำกำลงั ท่องเวบ็ ระบบงานทพ่ี ฒั นาขึ้นมาจะตรงกบั ความต้องการกับหน่วยงาน หรือ

---------------------
6 รูปแบบของ Mobile Application. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก

https://sites.google.com/a/bumail.net/mobileapplication/rup-baeb-khxng-mobile-application (วันที่สืบค้นข้อมูล
23 มถิ นุ ายน 2564)

16

17
ห้างรา้ นมากที่สดุ ไมเ่ หมือนกบั โปรแกรมสำเร็จรปู ท่ัวไป ท่มี กั จะจดั ทำระบบในแบบกว้าง ๆ ซงึ่ มักจะไมต่ รงกบั
ความต้องการทแี่ ทจ้ รงิ ระบบสามารถโตต้ อบกบั ลกู คา้ หรือผู้ใชบ้ ริการแบบ Real Time ทำให้เกิดความประทับใจ
เครื่องที่ใช้งานไมจ่ ำเปน็ ต้องติดตั้งโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติมทั้งสิ้น ตัวอย่างระบบงานทีเ่ หมาะกับเว็บแอปพลิเคชั่น
เชน่ ระบบการจองสนิ ค้าหรือบริการต่าง ๆ เชน่ การจองที่พกั การจองโปรแกรมทวั ร์ การจองแผน่ CD-DVD ฯลฯ
ระบบงานบุคลากร ระบบงานแผนการตลาด ระบบการสั่งซื้อแบบพิเศษ ระบบงานในโรงเรียน เช่น ระบบงานวัด
และประเมินผล ระบบงานปกครอง ระบบงานห้องสมุด ระบบการลงทะเบียน เช็คเกรด ฯลฯ ระบบงานอื่น ๆ
ที่ต้องการนำข้อมูลมา Online ค่าใช้จ่ายในการทำเว็บแอปพลิเคชั่น ปกติจะใช้วิธีการคำนวณจากขอบเขต
ของระบบงาน และปริมาณของข้อมูลที่ไหลเวียนในระบบ รวมถึงปัจจัยด้านอื่น ๆ ซึ่งทางเว็บ โปรแกรมเมอร์จะ
คำนวณราคาออกเป็นงาน ๆ ไป ซ่งึ สว่ นใหญ่จะมีค่าใชจ้ ่ายตา่ ง ๆ ต่อไปนี้รวมกัน คา่ จดั ทำระบบงาน ค่าชื่อโดเมน
และ Web Hosting (ในกรณีจะนำระบบออกทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต) ค่าบริการหลังการขาย ค่า Hardware
และอปุ กรณ์ดา้ นเครือข่าย เพม่ิ เติม อ่นื ๆ

(ทีม่ า : http://wg-soft.net/webapp/)

ลักษณะการทำงานของ Web Application นั้น โปรแกรมส่วนหนึ่งจะวางตัวอยู่
บน Rendering Engine ซึ่งตัว Rendering Engine จะทำหน้าที่หลัก ๆ คือนำเอาชุดคำสั่ง หรือรูปแบบ
โครงสร้างข้อมูลที่ใช้ในการแสดงผล นำมาแสดงผลบนพื้นที่ส่วนหนึ่งในจอภาพ โปรแกรมส่วนที่วางตัวอยู่บน
Rendering Engine จะทำหน้าที่หลัก ๆ คือการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสิ่งที่แสดงผล จัดการตรวจสอบข้อมูลที่รับ
เข้ามาเบื้องต้น และการประมวลบางส่วนแต่ส่วนการทำงานหลัก ๆ จะวางตัวอยู่บนเซิร์ฟเวอร์ (Server)
ในลักษณะ Web Application แบบเบือ้ งต้น

เซิร์ฟเวอร์ (Server) จะประกอบไปด้วยเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมต่อกับไคลเอนต์
ตามโปรโตคอล HTTP/HTTPS โดยนอกจากเว็บเซิร์ฟเวอร์จะทำหน้าที่ส่งไฟล์ที่เกี่ยวเนื่องกับการแสดงผล
ตามมาตรฐาน HTTP ตามปกติทั่วไปแล้ว เว็บเซิร์ฟเวอร์จะมีส่วนประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นตัวแปลภาษา เช่น

17

18
Script Engine ของภาษา PHP หรอื อาจจะมีการติดต้ัง .NET Framework ซง่ึ มีส่วนแปลภาษา CLR (Common
Language Runtime) ที่ใช้แปลภาษา intermediate จากโคด้ ทเ่ี ขยี นดว้ ย VB.NETหรอื C#.NET หรืออาจจะเป็น
J2EE ท่มี สี ว่ นแปลไบต์โคด้ ของคลาสที่ได้จากโปรแกรมภาษาจาวา เปน็ ต้น

Search Engine คือ เครื่องมือการค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต ที่ทุกคนสามารถเข้าไปค้นหา
ข้อมลู ผา่ นอนิ เตอร์เน็ตก็ได้ โดย กรอก ข้อมูลท่ตี ้องการค้นหา หรอื Keyword (คเี วิรด์ ) เขา้ ไปท่ชี อ่ ง Search Box
แลว้ กด Enter แคน่ ี้ข้อมูลที่เราคน้ หาก็จะถูกแสดงออกมาอยา่ งมากมายก่ายกอง เพ่อื ให้เราเลือกขอ้ มลู ทเี่ ราโดนใจ
ที่สุดเอามาใช้ งาน โดยลกั ษณะการแสดงผลของ Search Engine น้ันจะทำการแสดงผลแบบ เรยี งอนั ดับ Search
Results ผา่ นหนา้ จอคอมพิวเตอรข์ องเรา

ภาพประกอบ ที่มา : https://sites.google.com/site/give2540/se-rirch-xen-ci-nmi-prayochn-
tx-nakreiyn-xyang

Search Engine มี 3 ประเภท [7]
ประเภทที่ 1 Crawler Based Search Engines คือ เครื่องมือการค้นหาบนอินเตอร์เน็ต
แบบอาศยั การบันทกึ ข้อมลู และจัดเก็บขอ้ มลู เป็นหลัก ซึ่งจะเปน็ จำพวก Search Engine ทไี่ ดร้ บั ความนิยมสูงสุด
เนอ่ื งจากให้ผลการค้นหาแมน่ ยำทสี่ ุด และการประมวลผลการคน้ หาสามารถทำได้อย่างรวดเรว็ จงึ ทำใหม้ บี ทบาท
ในการคน้ หาข้อมลู มากที่สุดในปัจจุบนั โดยมีองค์ประกอบหลกั เพียง 2 ส่วนดว้ ยกนั คอื
1. ฐานข้อมูล โดยส่วนใหญ่แล้ว Crawler Based Search Engine เหล่านี้จะมีฐานข้อมูลเป็น
ของตัวเอง ทีม่ ีระบบการประมวลผล และการจัดอนั ดบั ทีเ่ ฉพาะเป็นเอกลกั ษณ์ของตนเองอย่างมาก
2. ซอฟแวร์ คือ เครื่องมือหลักสำคัญที่สุดอีกส่วนหนึ่งสำหรับ Search Engine ประเภทนี้
เนอื่ งจากต้องอาศัยโปรแกรมเล็ก ๆ ทำหน้าทีใ่ นการตรวจหาและทำการจัดเก็บข้อมูล หน้าเพจหรือเว็บไซต์ต่าง ๆ
ในรูปแบบของการทำสำเนาข้อมูลเหมือนกับต้นฉบับทุกอย่าง ซึ่งเราจะรู้จักกันในนาม Spider หรือ Web
Crawler หรือ Search Engine Robots เช่น www.google.com

---------------------
7 Search Engine. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก

https://sites.google.com/site/watcharapol2044/search-engine (วันที่สบื คน้ ข้อมลู 23 มถิ นุ ายน 2564)

18

19

(ทีม่ า : www.google.com)

ประเภทที่ 2 Web Directory หรือ Blog Directory คือ สารบัญเว็บไซต์ที่ให้สามารถค้นหา
ข่าวสารข้อมูลด้วยหมวดหมู่ข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันในปริมาณมาก ๆ คล้าย ๆ กับสมุดหน้าเหลือง ซึ่งจะมี
การสร้างดรรชนีมีการระบุหมวดหมู่อย่างชัดเจน ซึ่งจะช่วยให้การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ตามหมวดหมู่นั้น ๆ ได้รับ
การเปรียบเทียบอ้างอิง เพื่อหาข้อเท็จจริงได้ในขณะที่เราค้นหาข้อมูล เพราะว่าจะมีเว็บไซต์มากมาย หรือ Blog
มากมายที่มีเนื้อหาคล้าย ๆ กันในหมวดหมู่เดียวกัน ให้เราเลือกที่จะหาข้อมูลไ ด้อย่างตรงประเด็นที่สุด
(ลดระยะเวลาไดม้ ากในการคน้ หา) ตัวอยา่ งเช่น

1. ODP หรือ Dmoz ที่หลาย ๆ คนรู้จัก ซึ่งเป็น Web Directory ที่ใหญ่ที่สุดในโลก Search
Engine หลาย ๆ แห่งก็ใช้ข้อมูลจากที่แห่งนี้เกือบทั้งสิ้น เช่น Google, AOL, Yahoo, Netscape และอื่น ๆ
อกี มากมาย ODP มีการบันทกึ ข้อมลู ประมาณ 80 ภาษาทั่วโลก รวมถงึ ภาษาไทยด้วย (URL : http://www.dmoz.org )

2. สารบัญเว็บไทย SANOOK ก็เป็น Web Directory ที่มีชื่อเสียงอีกเช่นกันและเป็นที่รู้จัก
มากที่สุดในเมืองไทย (URL : http://webindex.sanook.com )

(ทม่ี า : URL : http://webindex.sanook.com )

ประเภทที่ 3 Meta Search Engine คือ Search Engine ที่ใช้หลักการในการค้นหา โดยอาศัย
Meta Tag ในภาษาHTML ซึ่งมีการประกาศชุดคำสั่งต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ด้วยภาษา HTML
นั่นเองเช่น ชื่อผู้พัฒนา คำค้นหา เจ้าของเว็บ หรือ บล็อก คำอธิบายเว็บหรือบล็อกอย่างย่อ ผลการค้นหาของ
Meta Search Engine นี้มักไม่แม่นยำอย่างที่คิด เนื่องจากบางครั้งผู้ให้บริการหรือ ผู้ออกแบบเว็บสามารถใส่
อะไรเข้าไปก็ได้มากมายเพื่อให้เกิดการค้นหาและพบเว็บ หรือ บล็อกของตนเองและอีกประการหนึ่งก็คือ

19

20

มีการอาศัย Search Engine Index Server หลาย ๆ แห่งมาประมวลผลรวมกัน จึงทำให้ผลการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ไม่
เที่ยงตรงเท่าท่คี วร

3. แบง่ ตามประเภทของการพฒั นา Application สามารถแบ่งรูปแบบของการพัฒนาได้ 3 รปู แบบ [8]
3.1 Native Application คือ แอปพลิเคชั่นที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยอาศัย Library หรือ SDK ของ
แพลตฟอร์ม (Platform) นั้น ๆ และจะต้องพัฒนาด้วยภาษาของแต่ละแพลตฟอร์ม เช่น แอนดรอยด์ (Android)
ใช้ภาษาจาวา (Java) วินโดวส์โฟน (Windows Phone) ใช้ภาษาซีชาร์ป (C#) และไอโอเอส (iOS) ใช้ภาษาอ็อป
เจค็ ซี (Object-C) เปน็ ตน้ ทง้ั นข้ี ้อดขี องการพัฒนาแอปพลิเคช่นั แบบ Native คอื สามารถดึงทรัพยากรของระบบ
มาใช้งานได้เต็มที่และมีประสิทธิภาพสูงสุด แต่ก็ยังมีข้อเสียก็คือ เมื่อต้องการพัฒนาแอปพลิเคชั่นให้สามารถใช้
งานกบั แพลตฟอรม์ อื่นได้ จะตอ้ งเร่ิมพฒั นาแอปพลิเคชัน่ ใหม่ ซงึ่ ทำให้ตน้ ทุนในการพฒั นาสงู และใชเ้ วลานาน
3.2 Hybrid Application หรือ Cross-platform Application คือ แอปพลิเคชั่นที่พัฒนาโดย
อาศัยเฟรมเวิร์ค (Framework) ซึ่งจะใช้ภาษาใดภาษาดึงเป็นตัวกลางสำหรับการพัฒนา แล้วเฟรมเวิร์คก็จะทำ
การแปลงภาษานั้น ๆ ให้แอปพลิเคชั่นสามารถใช้งานได้ทุกแพลตฟอร์ม ข้อดีของการพัฒนาแอปพลิเคชั่นแบบนี้
กค็ อื สามารถลดระยะเวลาในการพัฒนาใหส้ ัน้ ลงและแอปพลิเคชน่ั ยังสามารถใชง้ านทรพั ยากรไดด้ ีอีกด้วย
3.3 Web Application คือ แอปพลิเคชั่นที่แสดงหน้าเว็บผ่านตัว Application แทนการเข้า
เบราว์เซอร์ Browser ซึ่งการใชง้ านแอปพลเิ คชัน่ จะต้องเชอ่ื มต่ออินเตอรเ์ น็ตตลอดเวลา และอาจจะไมส่ ามารถใช้
ทรพั ยากรบางอย่างของระบบได้ ท้งั น้ีข้องดขี องการพัฒนาแอปพลิเคชั่นแบบนี้กค็ ือใช้เวลาในการพฒั นาไดร้ วดเร็ว

ประโยชนข์ องแอปพลิเคช่นั (Application) [9]
1. ด้านผู้ให้บริการ
1.1 กลุ่มธุรกิจต่าง ๆ ทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก มีเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ ธุรกิจของ

ตนเอง ทำใหเ้ ป็นที่รจู้ กั ในสังคมมากยิ่งข้ึน
1.2 ลดคา่ ใช้จ่ายในการผลติ สือ่ เพ่ือโฆษณาประชาสัมพนั ธ์

---------------------
9 ป ร ะ โ ย ช น ์ ข อ ง MOBILE APPLICATION. [ อ อ น ไ ล น ์ ] . เ ข ้ า ถ ึ ง ไ ด ้ จ า ก https://www.wynnsoft-

solution.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1/Benefits_of_Mo
bile_Application (วนั ทสี่ ืบค้นข้อมูล 23 มถิ นุ ายน 2564)

20

21

1.3 เพ่ิมภาพพจนร์ ้านให้ดดู ี มจี ุดเดน่ มจี ดุ ขายท่ีชดั เจน ส่งผลให้ ธุรกจิ มยี อดขายทีเ่ พม่ิ ข้นึ
1.4 มกี ารบริการลกู คา้ สัมพันธ์ทด่ี ขี ึน้
1.5 ลดข้นั ตอนการทำงาน ทำใหก้ ารตดิ ต่องานตา่ ง ๆ สะดวกมากยิ่งขน้ึ
2. ดา้ นผู้บรโิ ภค
2.1 ลดขั้นตอน และประหยัดเวลา ในการติดต่อธุรกรรมต่าง ๆ เช่น ต้องการโอนเงินค่าสินค้าก็
สามารถใช้ Mobile App ทำธรุ กรรมทางการเงนิ ไดเ้ ลย เป็นต้น
2.2 มีตัวเลือกที่หลากหลาย สามารถเปรียบเทียบ คุณภาพ และราคาได้ โดยที่ไม่ต้องออกไป
สำรวจราคาสินคา้ ทเี่ ราตอ้ งการให้เสียเวลา
2.3 ประหยดั ค่าใชจ้ า่ ยในการออกไปเลือกซื้อสินคา้ และบรกิ ารตา่ งๆ
2.4 ช่วยลดเวลาในการเดินทาง คำนวณเวลาได้ ค้นหาเส้นทางหรือแนะนำเลี่ยงเส้นทางที่มี
การจราจรติดขัดได้
และในปัจจุบันนี้ผู้ที่ประกอบธุรกิจต่าง ๆ ไม่ว่าจะขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กได้ให้ความสนใจในการ
ท่ีจะพฒั นา Mobile Application เพ่อื ท่จี ะสามารถประชาสัมพนั ธ์ หรอื ทำการตดิ ตอ่ ลูกค้าได้ เชน่
- กลุ่มธุรกิจการการท่องเที่ยวและการเดินทาง มีการจัด Mobile Application ระบบแนะนำ
สถานทท่ี อ่ งเที่ยว ประชาสมั พันธโ์ รงแรมและการจองห้องพกั
- กลุ่มธุรกิจเพื่อการศึกษา มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์การซื้อขายสื่อการเรียนการสอน
การแลกเปลีย่ นความรู้ตา่ ง ๆ
หรอื ประโยชนข์ องประเภทเวบ็ แอปพลเิ คชั่น (Web Application) ดงั น้ี
- Web Application เหมาะกับองค์กรขนาดเล็กเพราะมีค่าใช้จ่ายต่ำ และคิดค่าใช้จ่ายตามจำนวน
การใช้งานจรงิ
- การใชง้ านในองค์กรทำไดง้ ่าย เพียงแคม่ ี Web Browser ซง่ึ เปน็ ส่ิงพ้ืนฐานในคอมพวิ เตอร์ปัจจุบัน
แทบทุกเคร่อื งกใ็ ช้งานได้
- ขอ้ มลู จัดเก็บท่ีเดียว ง่ายตอ่ การจัดการ และไม่เกดิ ความซ้ำซอ้ น
- ไมต่ อ้ งการเครอ่ื งคอมพิวเตอรป์ ระสิทธิภาพสงู ซ่ึงมรี าคาแพง
- อย่ทู ีไ่ หนก็ทำงานไดเ้ พราะสามารถลอ็ กอนิ เข้าใช้งานไดเ้ ลยไมต่ ้องติดตัง้ โปรแกรม
- ไม่ต้องมีบุคลากรด้านเทคนิคเป็นของตัวเอง เพราะผู้ให้บริการดูแลเซิร์ฟเวอร์ (Server) และ
การบำรุงรักษาเองทงั้ หมด
- ส่วนมากใช้ได้หลากหลาย Platform ทั้ง Windows, Linux และ Mac ทำให้องค์กรสามารถ
เลอื กใช้บางเคร่ืองเป็น Linux ได้ เพื่อลดค่าใช้จา่ ยดา้ นลขิ สทิ ธิ์
- เช่ือมตอ่ กับ Web App หรือบรกิ ารออนไลน์อ่นื ๆ ได้งา่ ย
3. ด้านการศึกษา เพื่อใช้ในการอ่านและการเรียนรู้ เช่น กลุ่ม education เป็นศูนยร์ วมการเรียนรู้
รูปแบบต่าง ๆ เช่น Book & Reference เป็นแหล่งรวมของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรืออีบุ๊คที่สามารถนำมา
ประกอบการสอนได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันแอปพลิเคชั่นเพื่อการศึกษา กำลังมีบทบาทและความสำคัญในการเรียน

21

22
การสอนนักเรียน อีกทั้งรัฐบาลไทยมีนโยบายส่งเสริมการใช้สื่อสมัยใหม่ (New Media) ในการพัฒนาการเรียนรู้
ของนักเรยี นและนกั ศึกษา จงึ มีการสร้างแอปพลิเคช่ันเพ่อื การศึกษาขึ้นมามากมาย

4. ด้านกลุม่ เกม เนอ่ื งจากมผี ู้นิยมเลน่ เกมบนโทรศัพท์เป็นจำนวนมาก ผู้ผลติ เกมจึงคิดค้นเกมใหม่ ๆ
ออกสู่ตลาดมากขึ้นซึ่งผู้เล่นมักนิยมเล่นเกมออนไลน์ รวมทั้งมีการเชื่อมโยงกันในกลุ่มเครือข่ายสังคมออนไลน์
(Social Networking) เช่น เกมทอ่ี ยูใ่ น Twitter หรอื Facebook เป็นต้น

5. ด้านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อให้ผู้ ใช้สามารถปรับข้อมูลให้ทันสมัยตลอดเวลา ทั้งข้อมูลของ
ตนเอง หรือของกลุ่มเพื่อน ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมในกลุ่มวัยรุ่นอย่างสูง เช่น ใน Facebook, MySpace หรือ Hi5
เป็นต้น และแม้แต่ Blackberry ก็มีช่องทางเพื่อให้ลูกค้าได้สนทนากันผ่านทาง Blackberry Messenger โดย
การแลก PIN กบั เพือ่ นๆ ในกลุ่ม

6. ด้านกลุ่มมัลติมีเดีย เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ไฟล์ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ เสียงที่เป็นไฟล์
ในแบบ mp3, wav หรือ midi เป็นต้น ภาพนิ่งในรูปแบบ gif, jpg หรือ bmp เป็นต้น หรือภาพเคลื่อนไหว คลิป
วิดโี อในรปู แบบ mp4 หรือ avi เปน็ ต้น

22

23

ใบงานที่ 1
เรอ่ื ง แอปพลเิ คช่นั (Application)

คำชี้แจง หลังจากที่ผู้เรียนได้ศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับด้านความหมาย ประเภท และประโยชน์ของ
แอปพลิเคชนั่ (Application) พื้นฐานแล้ว จงตอบคำถาม ดังตอ่ ไปนี้

1. จงอธิบายความหมายของแอปพลิเคชั่น (Application) มาพอสังเขป
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

2. จงอธบิ ายประเภทของแอปพลิเคช่นั (Application) พร้อมยกตัวอย่างประกอบ มาพอสังเขป
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................ ..
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................... ...............
3. จงยกตวั อย่างประโยชน์ของแอปพลิเคชน่ั (Application) จำนวน 3 ด้าน ตามประเภทตา่ ง ๆ มาพอสงั เขป
................................................................................................................................................... ...........................
....................................................................................................... .......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................... ........................................
............................................................................................................................. .................................................

23

24

แนวคำตอบ ใบงานที่ 1 เรอ่ื ง แอปพลเิ คชน่ั (Application)

1. ตอบ แอปพลิเคชั่น (Application) หมายถึง โปรแกรม หรือชุดสั่งที่ใช้ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
เคลื่อนที่และอุปกรณ์ต่อพวงต่าง ๆ เพื่อให้ทำงานตามคำสั่ง และตอบสนองความต้องการของผู้ใช้
โดยแอปพลิเคชั่น (Application) จะต้องมีสิ่งที่เรียกว่า ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface หรือ UI) เพื่อเป็น
ตัวกลางการใชง้ านต่าง ๆ
2. ตอบ แบง่ ประเภทของแอปพลิเคชนั่ (Application) ตามลักษณะการทำงาน มีจำนวน 2 ประเภท

1. แอปพลิเคชน่ั ระบบ เป็นสว่ นซอฟตแ์ วร์ระบบหรือระบบปฏิบัติการ (Operating System) ท่ีทำหน้าท่ี
ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์และรองรับการใช้งานของแอปพลิเคชั่นหรือโปรแกรมต่างๆ ที่ติดตั้งอยู่ภายใน
คอมพิวเตอร์เคลอ่ื นที่

2. แอปพลิเคช่นั ทต่ี อบสนองความต้องการของกลมุ่ ผ้ใู ช้ เปน็ ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์หรอื โปรแกรมประยุกต์ ที่
ทำงานภายใตร้ ะบบปฏบิ ัตกิ าร มีวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะอย่าง เนือ่ งจากผ้ใู ชม้ ีความต้องการใช้แอปพลิเคชั่นที่แตกต่าง
กันจำนวนของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่มีหลากหลายชนิด ขนาดหน้าจอที่แตกต่างจึงมีผู้ผลิตและพัฒนา
แอปพลเิ คชัน่ ใหม่ๆ ขน้ึ เปน็ จำนวนมาก เพือ่ รองรบั การใช้งานในทกุ ๆ ด้าน
3. ตอบ ตวั อย่างประโยชนข์ องแอปพลเิ คชั่น (Application) จำนวน 3 ด้าน ได้แก่

1. ดา้ นผู้ให้บริการ
2. ดา้ นผู้บรโิ ภค
3. ผู้ที่ประกอบกลุ่มธุรกิจต่าง ๆ ไม่ว่าจะขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กได้ให้ความสนใจในการที่จะพัฒนา
Mobile Application เพอ่ื ท่ีจะสามารถประชาสัมพันธ์ หรือ ทำการตดิ ต่อลกู ค้าได้

24

ใบความรทู้ ี่ 2.1
เร่ือง เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการทำแอปพลเิ คชน่ั (Application) เพื่อการค้าออนไลน์

ใ น ก า ร พ ั ฒ น า แ อ ป พ ลิ เ ค ชั่ น ม ี เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ที่ เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ใ ช ้ ใ น ก า ร พ ั ฒ น า แ อ ป พ ลิ เ ค ชั่ น
ที่หลากหลายขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ และประเภทของแอปพลิเคชั่นนั้น ๆ เช่น การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่น
สามารถพัฒนาได้โดยใช้ภาษา HTML ร่วมกับภาษาสคริปต์ (PHP, ASP, Python ฯลฯ) หรือการพัฒนา
แอปพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน สามารถใช้เครื่องมือพัฒนาที่หลากหลาย เช่น Android Studio, HTML5, Java
หรือแม้กระทั่งเครื่องมือหรือภาษาที่อยู่ในรูปแบบของบล็อกคำสั่ง เช่น App Inventor หรือ Thunkable
ซึ่งปัจจุบันมีเครื่องมือจำนวนมากที่ใช้สำหรับพัฒนาแอปพลิเคชั่นขึ้นอยู่กับว่าผู้พัฒนาจะมีทักษะในการเขียน
โปรแกรม หรือต้องการพฒั นาแอปพลเิ คชนั่ ในระดบั ข้นั ท่ีสูงหรือเพื่อใชง้ านทว่ั ไป เชน่

1. พัฒนาโปรแกรมดว้ ย Eclipse ซงึ่ เปน็ โปรแกรมสำหรบั การพฒั นาซอฟต์แวร์ภาษาจาวา ผู้ท่ีจะ
ใช้โปรแกรมนี้ก็ต้องมีพื้นฐานการเขียนโปรแกรมอยู่ในระดับดี เหมาะสำหรับนักพัฒนาโปรแกรมทั้งหลาย
และจำเป็นต้องติดตั้ง JDK (Java Development Kit), Android SDK (Android Software Development Kit) ,
ADT (Android Development Tool) และ AVD (Android Visual Device) ต้องติดตั้งทั้งหมดในเคร่ือง

2. พัฒนาโปรแกรมด้วย App Inventor เป็นเครื่องมือตัวใหม่ที่ทำให้ใคร ๆ ก็สามารถพัฒนา
แอปพลิเคชัน่ บนมือถือแอนดรอยด์ (Android Phone) ได้ โดยไมจ่ ำเป็นต้องเปน็ นักพัฒนาโปรแกรมก็สามารถ
สร้างแอปพลิเคชั่นได้ คุณสมบัติของ Android Dev Tool เป็นแบบ Visually Design คือทำให้เราสามารถ
พฒั นาแอปพลเิ คช่นั บนแอนดรอยด์ไดโ้ ดยไม่ต้อง coding นั้นเอง หลกั การของ Google App Inventor คือจะ
มาพร้อมกับเครื่องมือพัฒนาแอปพลิเคชั่นดว้ ยวธิ ีเชือ่ มโยงส่วนต่าง ๆ หรือ blocks ของการทำงานเข้าด้วยกัน
ผู้ใช้เพียงแคค่ ลกิ เลอื กสว่ นการทำงานที่ต้องการ และกำหนดขอบเขตของการทำงานเทา่ น้ัน โดยสามารถสร้าง
แอปพลิเคช่นั ไดด้ ้วยการกรอก และคลกิ เลอื กรายการ และขอ้ มลู ตา่ งๆ ท่ีอยูใ่ นรูปแบบของฟอร์ม (Form)

25

25
3. พฒั นาด้วย iBuildApp และ AppsBuilder หรอื TheappBuilder ซ่งึ เปน็ บรกิ ารออนไลน์ท่ีมี
วิธีที่ง่ายและราคาไม่แพงในการสร้างการทดสอบ ติดตามและปรับปรุงแอปพลิเคช่ันบน Android มีลักษณะ
เปน็ Web App สนับสนนุ รปู แบบขอ้ ความ, RSS feeds, ภาพ, เสยี งและวดิ ีโอและอน่ื ๆ อกี มาก สามารถสร้าง
แอปพลิเคชั่นฟรีสำหรับ องค์กร บริษัท สถาบันการศึกษา หรือส่วนบุคคลได้ภายในไม่กี่นาที มีเครื่องมือที่ใช้
งานง่ายต่อการเข้าใจและสะดวกเมื่อมีการสร้างหรือปรับปรุงแอปพลิเคชั่น มีความเรียบง่ายและเวลาในการ
ดาวน์โหลดอยา่ งรวดเร็ว
แต่ทั้งนี้จะขอยกตัวอย่างเครือ่ งมือที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชั่นอย่างง่าย สามารถพัฒนาได้ใน
ระยะเวลาอันสั้น และเรียนรูว้ ธิ ีการใช้งานได้อย่างรวดเรว็ คอื App Inventor และ Thunkable
1. MIT App Inventor [1]

เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสร้างแอปพลิเคช่ันที่ทำงานบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
(Android) โดยผู้พัฒนาแอปพลิเคชั่นไม่ต้องเขียนภาษาโปรแกรมใด ๆ ทำให้บุคคลทั่วไปสามารถพัฒนา
แอปพลิเคช่ันด้วยตนเองได้ รูปแบบของเครื่องมอื จะมีองคป์ ระกอบทีส่ ำคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนของการออกแบบ
สว่ นติดตอ่ ผใู้ ช้งาน (UI) ซงึ่ สามารถออกแบบได้โดยการลากสิง่ ที่ต้องการแสดงผลมาไว้บนหน้าจอแอปพลิเคช่ัน
และตกแต่งได้ตามต้องการ และส่วนของการเขียนชุดคำส่ัง (Blocks) คือ คำส่งั ทผี่ ้พู ัฒนาสามารถเขียนคำสั่งให้
แอปพลเิ คช่ันทำงาน โดยคำสง่ั ทใี่ ช้อยู่ในรูปของบลอ็ กคำสงั่ ทเ่ี ชอ่ื มต่อกันไว้อย่างเปน็ ลำดับและมรี ะบบ

หนา้ จอเคร่อื งมอื ที่ใช้ในการสร้างแอปพลเิ คช่ัน MIT App Inventor
(ทม่ี า : หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3. สำนักพิมพ์ บริษทั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.) จำกดั .)

---------------------
1 วรวิทย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี

(วิทยาการคำนวณ) ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สำนกั พิมพ์ บรษิ ทั พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จำกัด.

26

26

วิธีการการพฒั นาแอปพลเิ คชนั่ ด้วยเคร่อื งมือ MIT App Inventor

27

27

28

28

29

29

30

30

31

31

32

32

33

33

34

34

35

35

(ที่มา: วธิ กี ารการพฒั นาแอปพลิเคชั่นดว้ ยเครื่องมือ MIT App Inventor : หนังสือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3.
สำนักพมิ พ์ บรษิ ัทพัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.) จำกัด.)
2. Thunkable [2]
เป็นเครื่องมือในการพัฒนาแอปพลิเคช่ันที่มีรูปแบบเดียวกันกับ MIT App Inventor คือ

มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนของการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (UI) และส่วนของการเขียน
ชุดคำสั่ง (Blocks) ซึ่งโดยพื้นฐานการทำงานทั้ง 2 เครื่องมือนี้มีความแตกต่างกันไม่มาก สามารถพัฒน า
แอปพลเิ คช่ันพนื้ ฐานท่ีไม่มคี วามซบั ซอ้ นได้

---------------------
2 วิธีการใช้งาน Thunkable x เบ้อื งตน้ . [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก https://x.thunkable.com (วนั ทสี่ บื คน้ ขอ้ มูล

23 มถิ นุ ายน 2564)

36

36

หนา้ จอเคร่ืองมือในการพฒั นาแอปพลิเคช่ัน Thunkable
(ที่มา : URL : https://x.thunkable.com)

วิธกี ารการพัฒนาแอปพลเิ คชั่นด้วยเคร่อื งมือ Thunkable
Thunkable เป็นแพลตฟอร์มที่ทำให้ทุกคนสามารถสร้างโมบายแอปพลิเคชั่นเป็นของตัวเองใน
รูปแบบเนทีฟแอพ (Native App) โดยปัจจบุ นั ใชช้ อ่ื เป็น Thunkable X
การสร้างแอปพลิเคชั่นแค่ได้ฟังก็เป็นเรื่องท่ีรู้สึกว่าต้องศึกษาหาความรู้และใช้ทักษะเยอะมาก ๆ
ถึงจะสร้างแอปพลิเคชั่นสักอันขึ้นมาได้ แต่ในปัจจุบันมีนักพัฒนามากมายที่สร้างเครื่องมือช่วยในการสร้าง
แอปพลิเคชั่นโดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมเลย Thunkable x เป็นอีกตัวเลือกสำหรับสร้างแอปพลิเคช่ันทีง่ ่ายต่อ
การทำความเข้าใจแม้ไม่มพี ื้นฐานการเขียนโปรแกรมมาก่อนเพียงแคล่ ากวางบล็อก

(ที่มา : URL : https://x.thunkable.com)

37

37
Thunkable x คือ เว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้นสำหรับสร้างแอปพลิเคชั่นได้ง่าย ๆ แบบลากวางบล็อก
มาต่อกัน บล็อกแต่ละบล็อกจะแทนคำสั่ง เราสามารถสร้างแอปพลิเคช่ันที่ใช้ได้ทั้งระบบปฏิบัติการ Android
และ iOS เมื่อสร้างแอปพลิเคช่ันตามที่ต้องการ สามารถทดลองใช้แอปพลิเคชั่นได้ผ่านแอปพลิเคชั่น
Thunkable Live บนมอื ถือไดเ้ ลย
สว่ นประกอบของ Thunkable x

(ทม่ี า : URL : https://x.thunkable.com)
1. Menu เปน็ แหลง่ รวมคำส่ังทเ่ี อาไว้ใช้สำหรบั แอปพลเิ คช่ันนนั้ ดังน้ี

- Live Test ใชแ้ สดงผลการทำงานเมือ่ จำลองผา่ นมอื ถอื จริง ๆ
- Share สามารถแชร์แอปพลิเคช่ันที่กำลังสรา้ งอยู่ให้ผอู้ ่ืนได้
- Make copy คดั ลอกแอปพลเิ คชั่นทเี่ ราสรา้ งอยอู่ กี อนั
- Download เป็นเมนูแนะนำให้เราดาวน์โหลด Thunkable live บนมือถือ เพื่อทดลอง
แอปพลเิ คช่ันของเรา
- Publish ไวเ้ ผยแพร่แอปพลิเคช่ัน
- Help รวบรวมแหล่งเรียนร้ใู ห้ศึกษา (Video, Docs)
- Community แหลง่ พดู คยุ แลกเปล่ียน ถามปญั หาเกี่ยวกับ Thunkable x
2. Tutorials รวบรวม Video สอนเบอ้ื งต้นการสรา้ งใช้งาน Component เบื้องต้น
3. Component ใช้เพื่อดูว่าแต่ละหน้ามี Component ใดบ้าง เมื่อคลิกเข้าไปที่ Component
จะสามารถออกแบบ Property ของ Component นัน้ ๆ ได้
4. Add Component รายชื่อ Component ทม่ี ี
5. Screen ใชล้ ากวาง Component เพอ่ื ออกแบบและจำลองการแสดงผลการออกแบบแอปพลิเคช่ัน

38

38
6. Property กำหนดคุณสมบตั ิของ Component ต่างๆ
7. Blocks สร้างการทำงาน โดยลากวางบล็อกการทำงาน ที่เปรยี บเสมือนการเขียนโปรแกรม
วิธกี ารใชง้ าน Thunkable x เบือ้ งต้น

(ทม่ี า : URL : https://x.thunkable.com)
ขั้นตอน 1 เข้าใช้งานที่ Thunkable x (URL : https://x.thunkable.com/login) และทำการ
ลงทะเบยี นเขา้ ใช้งานกอ่ น

ขั้นตอนที่ 2 สร้าง Project คลิกที่ Create New Project และทำการตั้งชื่อ Project และเลือก
หมวดหมู่ (Category) สามารถเลือกหมวดหมูไ่ ด้หลายข้อ ในตัวอย่างจะตั้งชื่อเป็น Log in และเลือกหมวดหมู่
(Category) เปน็ community, events, entertainment

39

39

ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบแอปพลิเคช่ันสวย ๆ ได้ตามที่เราต้องการ โดยลากวาง Component
ตรง Add Component จากนน้ั กำหนด Property ของ Component น้ันๆ

ขั้นตอนที่ 4 ออกแบบการทำงานของแอปพลิเคช่ัน คลิกที่ Blocks จะมีหน้าจอ Blocks คำสั่งสี ๆ
คล้ายจิ๊กซอว์ ถ้าเราต้องการให้แอปพลิเคช่ันเราทำงานเป็นไปอย่างที่เราต้องการ เราจะต้องลากบล็อกต่าง ๆ
มาต่อกันที่หน้าจอสขี าวโล่ง ๆ ด้านขวามือ ซึ่งผู้พัฒนา Thunkable x มี Docs และ Video เป็นภาษาอังกฤษ
ทอ่ี ธิบายการทำงานและการใชง้ านบล็อกแต่ละบล็อกเอาไว้

40

40

ขั้นตอนที่ 5 ดาวน์โหลด Thunkable Live เพื่อทดสอบการทำงานของแอปพลิเคชั่นลงใน
โทรศพั ท์มือถือ หรอื แท็บเลต็ ระบบปฏบิ ตั ิการ Android ผา่ นทาง Play Store และระบบปฏิบตั กิ าร iOS ผ่าน
ทาง App Store

41

41

ขั้นตอนที่ 6 ทดสอบแอปพลิเคช่ันบนโทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต โดยเข้าสู่ระบบเดียวกับท่ี
ลงทะเบียนใน Thunkable x ในข้ันตอนท่ี 1 จากนัน้ เลือก Project ทีเ่ ราตอ้ งการ เพ่อื ทดสอบการทำงาน

(ทม่ี าวิธกี ารใช้งาน Thunkable x เบอ้ื งต้น : URL : https://x.thunkable.com)

42

42

ข้อดีของ Thunkable x
1. Thunkable x เปดิ ให้ใชง้ านฟรี

2. งานแอปพลิเคช่ันได้ทง้ั บนระบบปฏิบัตกิ าร Android และ iOS

3. ทำความเขา้ ใจการใชง้ านบล็อกของ Thunkable x ไดไ้ มย่ าก
4. เมื่อมปี ญั หาไม่เขา้ ใจสามารถถามได้ตลอดเวลาที่ Thunkable community

เครอื่ งมือในการสร้างแอปพลิเคชั่นทงั้ MIT App Inventor หรอื Thunkable มีหลกั การสร้าง
และการเขียนคำสั่งที่คล้ายคลึงกัน การใช้เครื่องมือใดในการสร้างแอปพลิเคชั่นนั้นก็ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม
หรือความสะดวกในการทำงาน

43

43

ใบความรทู้ ่ี 2.2
เรอ่ื ง หลักการเลือกใช้เคร่ืองมอื ในการทำแอปพลเิ คชนั่ (Application) เพื่อการคา้ ออนไลน์

เนื่องจากปัจจุบันมีเครื่องมือสำหรับทำ Application มากมาย ที่ช่วยให้สามารถสร้าง
Application ได้ง่าย ๆ โดยไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในการเขียนโปรแกรม และไม่มีค่าใช้จ่าย การจะเลือกใช้
เครื่องมือตัวไหนนั้นขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้ใช้ รวมถึงลักษณะงานของ Application ที่ต้องการเป็นหลัก
อยา่ งไรก็ตามการจะเลอื กใช้เครื่องมือ อาจพจิ ารณาจากหัวข้อตา่ ง ๆ ดังนี้

1. ศึกษาทำความเข้าใจถึงข้อดีข้อเสยี ของเครื่องมือแต่ละตวั
ก่อนจะเลือกเครื่องมือมาใช้ในการพัฒนา Application เราควรศึกษาเครื่องมือแต่ละตัว

แยกขอ้ ดขี ้อเสียของแต่ละตัว เพื่อใหส้ ามารถเลือกใช้ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมทส่ี ุด อย่างเชน่ ถ้าต้องการพัฒนา
Application ที่ใช้งานได้ทั้งระบบ Android และ ISO ก็ต้องเลือกใช้ Thunkable แทน App Inventor
เนื่องจาก Application ที่พัฒนาจาก App Inventor ใช้งานได้เฉพาะบน Android เท่านั้น หรือ App Inventor
สามารถตดิ ต้งั บนเคร่ืองได้ ก็เหมาะทีจ่ ะใช้งานกรณีทไ่ี ม่ต้องใช้งานอินเตอร์เน็ทมากกว่า Thunkable ที่ทำงาน
บนเว็บซึ่งต้องใช้งานอินเตอร์เน็ทตลอดเวลา แต่ก็เป็นข้อดีที่สามารถเปิดใช้งานจากที่ไหน ๆ ก็ได้ เป็นต้น
การศกึ ษาขอ้ มลู ของเครอ่ื งมือแตล่ ะตวั จะช่วยใหเ้ ราสามารถเลือกเครื่องมือมาใชไ้ ด้อย่างถูกต้องเหมาะสม

2. พิจารณาเครื่องมอื แต่ละตวั มีคอมโพแนนซ์ (Components) อะไรบา้ ง
คอมโพแนนซ์ (Components) คือ ส่วนย่อยที่พัฒนาเพื่อนำมาใช้ประกอบในการทำ

Application ของเคร่อื งมอื แต่ละตวั เชน่
User Interface components เป็นกลุ่มของคอมโพแนต์ที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้ เช่น ส่วนรับ

ข้อความ หรือ ปุม่ คำส่ังในการใชง้ าน เป็นต้น
Layout components เป็นกลมุ่ ของคอมโพเนนตท์ ่คี วบคมุ การวางตำแหนง่ ของคอมโพเนนต์

ท่ีใช้ติดตอ่ กับผู้ใช้บนหน้าจอ

44

44
Media components เป็นกลุ่มของคอมโพแนต์ ที่ใช้แสดงสื่อในรูปแบบต่างๆ เช่น รูปภาพ
วิดีโอ เสยี ง
Social components เป็นกลุ่มของคอมโพแนต์ ที่ใช้สื่อสารกับสังคมออนไลน์ เช่น การส่ง
เอสเอ็มเอส (SMS) การเรียกดูสมดุ โทรศัพท์ หรือ การแชร์กับสงั คมออนไลน์ เปน็ ตน้
ข้างต้นเป็นตัวอย่างบางส่วนของคอมโพแนนซ์ ซึ่งเครื่องมือแต่ละตัวก็จะมีคอมโพแนนซ์ ต่าง ๆ
กันไป การศึกษาดูว่าเครื่องมือต่าง ๆ มีคอมโพแนนซ์ที่เหมาะกับ Application ที่จะพัฒนาหรือไม่ก็จะช่วยให้
สามารถเลอื กเครื่องมือมาใชง้ านไดต้ รงกบั ความตอ้ งการมากข้นึ
มีการสรุปเปรียบเทียบรายการคอมโพแนนซ์ของ App Inventor, Appy Builder, Kodular
และ Thunkable Classic เอาไว้ท่ี https://docs.google.com/spreadsheets/d/1GDgfFzRt42dJXeoHKI
WWdSlMczZkefqDOoDBAFM7v14/edit#gid=0
3. พจิ ารณาถงึ ชุมชนของผใู้ ชเ้ คร่ืองมือนน้ั ๆ
ชุมชนในที่นี้คือ กลุ่มคนที่ใช้เครื่องมือนั้นในการพัฒนา Application ยิ่งมีชุมชนที่ใหญ่หรือ
มีคนสนใจใช้งานมาก ก็จะสามารถหาความรู้ ตัวอย่าง รวมถึงความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่อาจ
เกิดข้นึ ในการพัฒนาได้ง่ายตามไปด้วย
4. แนวทางการพัฒนาและความเปน็ ไปในอนาคต
ข้อนี้คือพิจารณาถึงแนวทางการพัฒนาของเครื่องมือแต่ละตัวในอนาคต ถ้าเครื่องมือที่มี
แนวโน้มว่าจะไมพ่ ฒั นา หรือไม่เปิดรับส่ิงใหม่ ๆ ที่อาจเกิดขึน้ ในอนาคต ก็ไมค่ วรเส่ียงที่จะเลือกเครื่องมือน้ัน ๆ
มาใชง้ าน

คลิปวดี ีโอ เรอ่ื ง หลกั การเลอื กใชเ้ คร่อื งมือท่ีในการทำแอปพลิเคชัน่ (Application) เพ่ือการค้าออนไลน์
ลิงค์ http://pattana.nfe.go.th/quick-win/clip/1

45

45

ใบงานที่ 2
เรอ่ื ง เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการจัดทำแอปพลเิ คชนั่ (Application) เพอ่ื การคา้ ออนไลน์

คำชี้แจง หลังจากที่ผู้เรียนได้ศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือและวิธีเลือกใช้เครื่องมือในการจัดทำ
แอปพลิเคช่ัน (Application) เพอ่ื การคา้ ออนไลน์แลว้ จงตอบคำถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. จงอธิบายขั้นตอนการใช้เครื่องมือในการจัดทำแอปพลิเคชั่น (Application) ด้วยเครื่องมือ MIT App
Inventor หรอื Thunkable มาพอสงั เขป

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

2. จงอธิบายวิธีการเลือกวธิ เี ลือกใชเ้ คร่ืองมอื ในการจดั ทำแอปพลิเคชัน่ (Application) ในรูปแบบแผนผงั
ความคดิ Mind mapping

............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................................................... .....
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................ ..................
................................................................................................................ ..............................................................

46