การเชื่อมโยงข้อมูล หมายถึง

ปัจจุบันทุกคนคงจะคุ้นเคยกับการใช้งานคอมพิวเตอร์และระบบอินเตอร์เน็ตกันเป็นอย่างดี โดยเฉพาะการใช้งานเว็บไซต์ การส่งต่อข้อมูล ล็อกอินเข้าสู่อีเมล์ การเข้าใช้งานโซเชียลมีเดีย ซึ่งแต่ละบริการที่เราใช้งานนั้นล้วนมีองค์ประกอบของระบบ network เป็นส่วนเกี่ยวข้องทั้งสิ้น ระบบนี้มีการทำงานอย่างไรจึงทำให้ทุกคนสามารถเชื่อมต่อและส่งผ่านข้อมูลกันได้จากทั่วโลกภายในไม่กี่วินาที

ทำความรู้จักกับระบบ network


ระบบ network หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทอื่น สามารถสื่อสาร เชื่อมต่อ และรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โดย ระบบ network นั้นจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท ตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็ก ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์เพียงไม่กี่เครื่องอย่างเช่นระบบ LAN (Local Area Network) ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายภายในขององค์กรที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกันหรือพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อการแชร์ไฟล์เอกสารและข้อมูล การแชร์เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ รวมถึงการใช้งานเครือข่ายอินเตอร์เน็ตร่วมกันได้ ไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ่ที่สามารถเชื่อมโยงและส่งต่อข้อมูลกันได้ทั่วโลกซึ่งก็คืออินเตอร์เน็ต ที่มีการใช้โปรโตคอลในการสื่อสารโดยมีการกำหนดที่อยู่ (Address) ซึ่งก็คือ IP ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องเพื่อให้การรับและส่งข้อมูลสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้โดยง่าย

องค์ประกอบของระบบ network                

องค์ประกอบของระบบ network จะประกอบด้วยทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ สายไฟ สายเคเบิล รวมถึงอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร ทั้งแบบไร้สายและมีสาย ได้แก่ ดาวเทียม ระบบเซลลูลาร์ การส่งสัญญาณแบบอินฟาเรด การใช้ฮับ สวิตช์ เราต์เตอร์ เกตเวย์ รวมถึงยังต้องใช้โปรโตคอลในการสื่อสารเพื่อให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถเข้าใจคำสั่งในการเรียกใช้งาน การรับส่งข้อมูล รวมถึงการเรียกใช้แอพพลิเคชั่นและโปรแกรมต่าง ๆ ได้ สำหรับเครือข่ายของ ระบบ network แบบไร้สายที่นิยมใช้ในองค์กรปัจจุบัน จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน ได้แก่
  • สวิตช์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างเซิร์ฟเวอร์และคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงเครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ในเครือข่าย เพื่อให้เครือข่ายสามารถใช้ทรัพยากรใช้ร่วมกัน หรือแบ่งปันการใช้งานทรัพยากรระหว่างกันได้
  • เราเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายเครือข่ายไว้ด้วยกัน รวมถึงยังสามารถยังเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายเข้ากับอินเทอร์เน็ตได้อีกด้วย
  • Access Point เป็นจุดเชื่อมต่อที่ช่วยให้เครือข่ายสามารถรองรับอุปกรณ์จำนวนมาก เพื่อการขยายการเข้าถึงเครือข่ายในระยะที่ไกลออกไปได้ ตัวอย่างเช่น การขยายขอบเขตการใช้งาน Wifi เป็นต้น 
ระบบ network เป็นระบบที่ทำให้ส่งผ่านข้อมูลเป็นไปได้อย่างง่ายดายและรวดเร็วมากขึ้น แต่ทั้งนี้องค์กรหรือผู้ให้บริการก็ต้องดูแลรักษาและบริหารจัดการระบบให้ทำงานและสามารถตอบสนองต่อการเชื่อมต่อได้อยู่เสมอ เนื่องจากหากเกิด Server ล่มหรือระบบล้มเหลว จะทำให้เกิดผลกระทบต่อผู้ใช้เป็นจำนวนมาก อีกทั้งผู้ให้บริการ ระบบ network ยังต้องมีการคำนึงถึงความปลอดภัยและข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งานด้วย
ควิกเซิร์ฟ
สินค้า
งานระบบ
บริการ
กิจกรรม
ออนไลน์

�ٻẺ����������� (type of connection)

                ���¶֧ �Ըա�÷���ػ�ó����� 2 �Ըա�÷���ػ�ó����� 2 �ػ�ó� �������͡ѹ���������觢����� (transmission link) 1 ���� �����觢��������ѡɳзҧ����Ҿ (physical) ��������繵�ͧ����·ͧᴧ���ҧ�����Ҩ�繤����Է�����ͤ�������  �����觢����ŷ�˹�ҷ������鹷ҧ�������Ţ�������Թ�ҧ�ҡ�ػ�ó�˹����ա�ػ�ó�˹�� ������ѧ�ػ�ó������ ����� �����觢��������� ��·ͧᴧ �������ǹ��ʧ �����������俿�� �繵� �ٻẺ��õԴ�������� 2 Ẻ ����

 1.       Ẻ�ش��ͨش

Ẻ�ش��ͨش (point-to-point)  ��� �Ը�������������ʧ�����������ҧ�ػ�ó� 2 �ػ�ó� ������鹷ҧ��§ 1 �����ҹ�� �� �ѡɳС���������������ҧ����ͧ����������ի���������ͧ����§�����§ 1 ��µ��������§�ѹ㹡�÷ӧҹ ���������ͧ����˹�ҷ��������ͧ���·ҧ 1 ����ͧ �������͡Ѻ����ͧ������������� 1 ��� ������ա�ó�˹������ͧ���������� 2 ����ͧ������áѹ�������觢����ż�ҹ���������ǿ �ѧ�ٻ

การเชื่อมโยงข้อมูล หมายถึง

      (����� : fourouzan, 1998 : 18)

2.       Ẻ���¨ش������ŵԴ�ͻ�Ź�

Ẻ���¨ش ���� ��ŵԴ�ͻ�Ź� (multidrop lime) ���¶֧ �����觢����� 1 ���� ���ػ�ó������ �ػ�ó� �������觢�����������������ѹ�ѧ�ٻ��� 2.3 �͡�ҡ����������觢������繤����Է�� Ẻ���¨ش������Է����ҡ�������ѹ���������Է�������ѹ �������觤�������͡�繪�ǧ�������ͧ�ػ�ó����е�ǫ�觶������繡��������ʧ�����������ѹ�Ẻ����ǹ������¡��� ����觻ѹ��ǹ (spatially share) �����Ҩ��Ѵ�ѹ�������觢������¡�˹��������ҡ���������¡��� ����觻ѹ���� (time share)

Big Data มีที่มาจาก 4V ซึ่งประกอบไปด้วย “Volume, Velocity, Variety, Veracity” ซึ่ง Variety ในที่นี้ หมายถึงความหลากหลายของข้อมูล ที่มาจากแหล่งข้อมูลหลายๆ แหล่ง และมีรูปแบบโครงสร้างของข้อมูลที่แตกต่างกัน ดังนั้นการทำโครงการ Big Data จึงจำเป็นต้องมีการเชื่อมข้อมูลส่วนนี้ และจัดการให้อยู่ในรูปที่พร้อมใช้

ปัญหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ แยกส่วนกันเก็บ และมีค่าที่ไม่ตรงกัน เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยและทั่วไป ซึ่งแนวทางการแก้ก็ชัดเจนอยู่ในตัวเอง ก็คือ ต้องทำความสะอาด และออกแบบช่องทางให้เก็บรวบรวมข้อมูลเอาไว้ที่เดียว เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์แบบของข้อมูลมากที่สุด

แต่แนวทางในการแก้ปัญหานั้น ค่อนข้างลำบากมาก เพราะอะไร เพราะแต่ละส่วน ต่างก็ต้องการเป็นเจ้าของข้อมูล และอาจไม่ได้รับความร่วมมือจากเจ้าของข้อมูลเดิมก็เป็นได้ อีกทั้ง แนวทางในการเชื่อมและออกแบบระบบ ก็จำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญด้านระบบ หรือ System Engineer และ Data Engineer ที่มีประสบการณ์ เป็นผู้รับหน้าที่ออกแบบและดูแลระบบนี้

ทำไมการเชื่อมโยงข้อมูล ถึงเป็น ปัญหาใหญ่ ที่รอไม่ได้ ... เพราะไม่รู้ว่าทำไมต้องรอ รอเพื่ออะไร ยิ่งรอก็ยิ่งปล่อยให้เวลาผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประชาชน เช่น สิทธิด้านการบริการต่างๆ ข้อมูลการเพาะปลูกทางการเกษตร ข้อมูลการซื้อขายผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ข้อมูลสุขอนามัยของประชาชน อัตราการจ้างงาน ข้อมูลประทำโครงการของภาครัฐที่สามารถตรวจสอบวันเวลาของโครงการได้ เป็นต้น

ข้อมูลกลางที่ถูกนำมาเชื่อมโยงกันนี้ จะสามารถนำมาวิเคราะห์และต่อยอดได้อีกมากมาย เช่น หากมีการเชื่อมโยงข้อมูลการเกษตร การท่องเที่ยว และการจ้างงาน จะทำให้ทราบได้ว่า ในแต่ละช่วงเวลา มีอัตราว่างงานสำหรับพนักงานมากน้อยเพียงใด แต่ละภาคธุรกิจ ต้องการแรงงานทักษะอย่างไร และจะมีการวางแผนให้มีการศึกษาในอนาคตได้อย่างไร

เนื่องมาจากว่า แต่ละสถานที่ท่องเที่ยว มีฤดูกาลของการท่องเที่ยว เช่นเดียวกัน การเพาะปลูกก็มีฤดูกาลของการเพาะปลูก ถ้าสามารถนำข้อมูลมาเชื่อมกับการจ้างงานของภาครัฐและเอกชนได้ จะทำให้สามารถวางแผนการจ้างงานได้ เมื่อประชาชนมีงาน ก็มีรายได้ต่อไป ทั้งนี้ โครงการการวิเคราะห์อัตราการจ้างงานแบบยั่งยืนนี้ ต้องเริ่มจากการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงานเสียก่อน

ในมุมของภาครัฐ การจัดการและบริหารข้อมูล อาจจะทำได้ยากเสียหน่อย ด้วยขนาดของข้อมูล และระบบเดิมที่มีเก็บข้อมูลแยกส่วน แต่นั่นยิ่งเป็นความท้าทายที่เป็นเครื่องพิสูจน์ว่าภาครัฐจะสามารถทำโครงการใหญ่ๆ เพื่อประชาชนนี้ได้สำเร็จหรือไม่

ในส่วนของภาคเอกชนก็เช่นกัน เพราะก่อนหน้านี้ การลงทุนกับระบบต่างๆ เป็นรูปแบบของการจัดซื้อจัดจ้างแยกส่วนกัน ทำให้มีระบบ Software หลายยี่ห้อในองค์กรเดียว ส่งผลให้ข้อมูลอยู่แยกส่วนกัน การเชื่อมโยงข้อมูล จะต้องทำด้วยความต้องการของคนใน หมายความว่า คนในองค์กรต้องเป็นคนเสนอความต้องการ เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญทำการเชื่อมให้ โดยอาจจะเป็น Outsource หรือจะเป็น IT ขององค์กรเป็นผู้เชื่อมก็ได้ แต่ทั้งนี้ จะต้องมีความต้องการในการเชื่อมที่ชัดเจน

ปัญหาอาจไม่ได้อยู่ที่ว่า ข้อมูลไม่เชื่อมกัน เพราะเครื่องมือของการเชื่อมโยงข้อมูลนั้นมีตัวเลือกมากมายในตลาด พร้อมให้หยิบใช้ได้อย่างสะดวก ปัญหาที่แท้จริง คือ ยังไม่รู้ว่าจะต้องเอาอะไรมาเชื่อมกันอะไรมากกว่า เพราะถ้าไม่มี “เป้าหมาย” ของการทำโครงการ ก็ยังไม่ทราบอยู่ดีว่าต้องนำอะไรมาเชื่อมกับอะไร


อย่างไรก็ตาม หากไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูล ก็ไม่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลต่อได้ ทำให้ข้อมูลที่มีอยู่ อาจไม่มีประโยชน์อะไร ซึ่งเรามีความจำเป็นที่ต้องมี Big Data ให้พร้อม ก่อนที่ AI จะเข้ามา Disrupt ระบบอะไรหลายๆ อย่าง เพราะ AI ต้องใช้ Big Data เป็นแหล่งข้อมูล แต่หากไม่มี Big Data ให้ AI เรียนรู้ AI นั้นก็จะไม่มีประโยชน์อะไรเช่นกัน

ที่บอกว่า ต้องทำโดยเร็ว เพราะในแต่ละวัน มีข้อมูลเกิดขึ้นมากมาย แค่ข้อมูลเก่า ยิ่งปล่อยไป ยิ่งมีขนาดใหญ่ และมีความซับซ้อนมากขึ้น จึงต้องเร่งทำ “เดี๋ยวนี้”

ทั้งนี้ งานยิ่งมีความ “ใหญ่” มากเท่าใด ก็ยิ่งต้องได้รับความร่วมมือมากเท่านั้น ในความเป็นจริง อาจไม่จำเป็นต้องมองเป็นภาพใหญ่ที่สุด ณ ที่ปลายสุด แต่เราสามารถเริ่มได้ทีละนิดละหน่อย เพราะให้เกิดเป็นผลสำเร็จเล็กๆ และเดินต่อไปเรื่อยๆ จนถึงชัยชนะที่วางเอาไว้ แต่หากเราไม่ทำอะไรเลย .... ไม่ใช่แค่เราจะหยุดนิ่ง แต่เราอาจจะกำลังเดินถอยหลัง เพื่อรอถึงวันที่คนอื่นเข้ามาทำร้ายเราก็เป็นได้

หากมีข้อมูลที่อยู่กันกระจัดกระจาย ต้องให้คนไป save หรือ ต้องรอเพื่อได้มาซึ่งข้อมูลนั้นนานแสนนาน นั่นแหละค่ะ คือ คอขวดของโครงการ Big Data อย่างหนึ่ง .... และควรได้รับการแก้ไข ด้วยการเชื่อมโยง ให้เป็นระบบที่สมบูรณ์

การเชื่อมโยงข้อมูลต้องใช้อะไรในการเชื่อมข้อมูล

คำสั่งที่ใช้เชื่อมโยงข้อมูล คือ <a href=" ชื่อไฟล์ หรือ URL" >ข้อความหรือรูปภาพที่จุด Link</a> Attribute ที่ใช้ร่วมกับการสร้าง Link ซึ่งจะต้องนำมาวางต่อจากคำสั่งสร้าง link และใช้คำสั่ง target= คุณสมบัติด้านล่าง เช่น <a href=" ชื่อไฟล์" target=_blank>ข้อความหรือรูปภาพที่จุด Link</a>

การเชื่อมโยงข้อมูลมีกี่รูปแบบ

การเชื่อมโยง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การเชื่อมโยงภายในเว็บเพจ (Internal Link) และการเชื่อมโยงภายนอกเว็บเพจ (External Link) การเชื่อมโยงเว็บเพจภายในเว็บไซต์ (Internal Link) การเชื่อมโยงเว็บเพจภายในเว็บไซต์เดียวกัน มี 2 แบบ คือการเชื่อมโยงระหว่างหน้า กับการเชื่อมโยงภายในหน้าเดียวกัน

การเชื่อมโยงมีกี่วิธี (บอกมา 3 วิธี)

การเชื่อมโยงระหว่างเว็บเพจ <a href="ไฟล์เว็บเพจ">... สิ่งที่จะลิงค์... ... .
การเชื่อมโยงนอกเว็บไซต์ <a href="URL">... สิ่งที่จะลิงค์... ... .
การเชื่อมโยงภายในหน้าเว็บเพจ <a name="กำหนดชื่อปลายทาง"></a> และ <a href="#ชื่อปลายทาง">.. ... .
การเชื่อมโยงแบบอีเมล์ <a href="mailto: E-mail address ที่ต้องการส่งถึง">...

รูปแบบคำสั่งใดที่ใช้ในการเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อื่น

เราสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับเว็บไซต์อื่นได้โดยการระบุ URL ของเว็บเพจที่ต้องการในแท็ก <a href...> โดยมีรูปแบบ ดังนี้ รูปแบบ <a href="URL ของเว็บไซต์ที่ต้องการเชื่อมโยง"> เช่น <a href="http://www.microsoft.com">... </a>