Cqi การคัดกรองผู้ป่วย triage

หน่วยงานคัดกรองมีหน้าที่ให้บริการคัดกรองและประเมินอาการผู้ป่วย เพื่อส่งผู้ป่วยเข้ารับการตรวจรักษาตามแผนกต่างๆ อย่างถูกต้อง ปลอดภัย จากสถิติการให้บริการในปี 2558 พบว่าอัตราการคัดกรองผิดพลาด     8 % และมีอุบัติการณ์ผู้ป่วยมีอาการแย่ลงระหว่างรอตรวจ 3 ราย (ระดับความรุนแรงE ) หน่วยงานคัดกรองจึงนำปัญหามาทบทวน เบื้องต้นพบว่าเกณฑ์การคัดกรองผู้ป่วยยังไม่มีแนวปฏิบัติที่ความชัดเจน หน่วยงานคัดกรองจึงนำปัญหามาทำเป็นกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ เพื่อพัฒนาระบบคัดกรองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการคัดกรองและประเมินอาการอย่างถูกต้อง และผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนได้รับการตรวจรักษาที่รวดเร็วปลอดภัย

ผลการสำรวจสภาพข้อมูลก่อนแก้ปัญหา ปี 2558

ลำดับ

รายการ

                                                      ปี 2558

มีค.

เมย.

พค.

มิย.

กค.

สค.

กย.

ตค.

พย.

ธค.

1

2

อัตราการคัดกรองอาการผิดพลาด

ผู้ป่วยมีอาการแย่ลงระหว่างรอตรวจ

(ระดับความรุนแรง)

n

1

(E)

n

0

n

1

(E)

n

0

n

0

   n

0

9.7

0

6.6

0

6.7

1

(E)

9.7

0

                                                                                                                                  n= ยังไม่มีการเก็บข้อมูล

วัตถุประสงค์

ตัวชี้วัดและเป้าหมายของโครงการ

ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ

  มกราคม 2559 – กันยายน 2560

               ระยะเวลา(เดือน)

ขั้นตอน

2559-2560

มค.-มีค.59

เมย-มิย.59

กค.-กย.59

ตค.-ธค.59

มค-

มีค.60

เมย-มิย.60

กค.

60

สค.60

กย.60

วางแผน                  Plan

ลงมือแก้ปัญหา      Do

ตรวจสอบผล         Check

แก้ไขปรับปรุง      Action

และจัดทำมาตรฐาน

การปรับปรุงพัฒนา

ตารางสรุปวิธีการปรับปรุงแก้ไขและผลของการปรับปรุงแก้ไขในแต่ละวิธีการที่กำหนด

ปัญหา

สาเหตุ

วางแผนการปรับปรุงแก้ไข

ผู้รับ

ผิดชอบ

วัน/ เดือน / ปี

ประเมินผลการปรับปรุงแก้ไข

เริ่ม

สิ้นสุด

Man

-เจ้าหน้าที่ไม่มีความรู้เรื่องการคัดกรองและการประเมินอาการผู้ป่วย

-บุคลากรใหม่

-เชิญ ER มาสอนเรื่องการคัดกรองผู้ป่วยแบบ 5 ประเภท

-เข้าร่วมอบรมเรื่องการคัดกรองที่ภาควิชาอายรุกรรมจัดขึ้น

-อบรมเรื่องการคัดกรองผู้ป่วยแบบ 5 ประเภท (ESI) ภายในหน่วยงานปีละ 1 ครั้ง

-ทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยที่คัดกรองผิดพลาด เพื่อเรียนรู้ ป้องกันการเกิดซ้ำ

-ทบทวนความรู้เกี่ยวกับโรคที่คัดกรองผิดพลาดบ่อยหรือโรคมีความเสี่ยง เช่น  MI  SVT  MERS  HFM  Measles  ซิก้า เป็นต้น

-นำข้อมูลผู้ป่วยที่คัดกรองผิดพลาดบ่อยมาแยกประเภท กลุ่มโรค ภาควิชา เพื่อมาพัฒนาระบบการคัดกรองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ER

ภาควิชาอายุรกรรม

คัดกรอง

คัดกรอง

คัดกรอง

คัดกรอง

มค.59

มีค.59

มิย.60

เมย.59

มค.60

สค.60

-

-

ปีละ

1ครั้ง

ปัจจุบัน

ปัจจุบัน

ปี 2561

-เจ้าหน้าที่มีความรู้เรื่องการคัดกรองแบบ5ประเภท(ESI)

-เจ้าหน้าที่สามารถคัดกรองผู้ป่วยโดยใช้เกณฑ์การคัดกรองแบบ 5 ประเภทได้

-อัตราการคัดกรองผิดพลาดลดลง

-เจ้าหน้าที่มีความรู้ในการคัดกรองและประเมินอาการโรคที่มีความเสี่ยง/คัดกรองผิดพลาด

-มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

Machine

-เกณฑ์คัดกรองไม่มีมาตรฐาน

-ไม่มีคู่มือ/แนวทางปฏิบัติเรื่องการคัดกรอง

-เปลี่ยนมาใช้เกณฑ์การคัดกรองผู้ป่วยแบบ 5 ประเภท (ESI)

-จัดทำคู่มือปฏิบัติเรื่องเกณฑ์การคัดกรองผู้ป่วยแบบ 5 ประเภท

คัดกรอง

กพ.59

ปัจจุบัน

-มีการใช้เกณฑ์การคัดกรองที่มีมาตรฐาน(ESI) มาใช้ในการคัดกรองผู้ป่วย

-มีคู่มือปฏิบัติเรื่องการคัดกรองผู้ป่วยแบบ 5 ประเภทที่ชัดเจน

Method

-ไม่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนเรื่องการส่งตรวจผู้ป่วยที่มีภาวะเร่งด่วน

-ไม่มีการประสานงานในการส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะเร่งด่วน

ร่วมกับ OPD, ER กำหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการส่งตรวจผู้ป่วยที่มีภาวะเร่งด่วน เช่น

- ปรับปรุงใบคัดกรองให้มีการระบุประเภทผู้ป่วย

-ประทับตรายางสีแดงระบุประเภทผู้ป่วยที่มีภาวะเร่งด่วนในใบคัดกรองเพื่อให้ห้องตรวจเห็นได้ชัดเจน

-โทรส่งเวรกับห้องตรวจ

-ขอแฟ้มด่วน, ตามเวรเปลนำส่ง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการตรวจรักษาที่รวดเร็ว

-ทำป้ายแขวนสีต่างๆระบุประเภทผู้ป่วย เช่น emergency สีแดง,urgent เหลือง,Semi urgent สีเขียว แขวนที่รถเข็นนั่ง/รถนอน ในรายที่มีภาวะเร่งด่วนหรือที่ต้องเฝ้าระวัง เพื่อให้ห้องตรวจเห็นได้ชัดเจน

การคัดกรองผู้ป่วยมีกี่ประเภท

คัดแยกผู้ป่วยเป็น 5 ระดับ และให้การรักษาตามล าดับ ความเร่งด่วน มาตรฐานการ Triage. Primary Triage. เป็นการประเมินโดยรวบรวมข้อมูลจากการ ประเมินทางกายภาพ (ไม่จ าเป็นต้องตรวจโดย ละเอียด) อาการส าคัญ อาการที่แสดงความ คุกคามต่อชีวิต เช่น หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น หอบเหนื่อย ซึม กระสับกระส่าย เป็นต้น

การคัดกรองผู้ป่วยเป็นลำดับแรก คืออะไร

ระดับที่ 1. - คัดกรองผู้ป่วยโดยซักถามอาการ และใช้คู่มือการคัดกรองภายใต้การกำกับ ดูแล แนะนำ - พยายามเรียนรู้ ศึกษา จดจำ อาการต่าง ๆ ว่าสมควรจัดส่งตรวจห้องตรวจใด

Triage มีอะไรบ้าง

•ระดับที่ 1 สีแดง คือฉุกเฉินวิกฤติ (Emergency) •ระดับที่ 2สีเหลืองคือฉุกเฉินเร่งด่วน (Urgency) •ระดับที่ 3 สีเขียว คือฉุกเฉินไม่เร่งด่วน (Semi urgency) •ระดับที่ 4 สีขาว คือเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน (Non urgency) •ระดับที่ 5 สีด า คือไม่มีการตอบสนอง ไม่พบผู้ป่วยฉุกเฉิน รุนแรงและเร่งด่วน 5 ระดับ

Urgent กับ Emergency ต่างกันอย่างไร

- ผู้ป่วยฉุกเฉิน (Emergent) ตรวจรักษาภายใน 5 – 15 นาที - ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน (Urgent) ตรวจรักษาภายใน 30 – 60 นาที - ผู้ป่วยฉุกเฉิน (Semi-Non Urgent) ตรวจรักษาภายใน 60 – 180 นาที