แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ชุดที่ 2

________________________________________________________________________________________
คำชี้แจง
** QUIZ แนวข้อสอบฟรี – พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
** จำนวน 50 ข้อ
** ข้อสอบจะทำการสุ่ม ไม่เรียงข้อ ไม่เรียงช้อยส์ เพื่อประโยชน์สูงสุดในการท่องจำข้อสอบ
________________________________________________________________________________________

Show

1.

ให้มีกรรมผู้ทรงคุณวุฒิ ใน ก.พ. ซึ่งมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ด้านต่างๆ จํานวนเท่าใด

 ไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน

 ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน

 ไม่น้อยกว่า 6 คน แต่ไม่เกิน 8 คน

 ไม่น้อยกว่า 4 คน แต่ไม่เกิน 6 คน

2.

กรรมการใน ก.พ. ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้อยู่ในตําแหน่งได้คราวละกี่ปี

 ให้มีคณะอนุกรรมการสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. สามัญ”เพื่อเป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนราชการต่าง ๆ ดังนี้

 ให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.ค.” ประกอบด้วยกรรมการจํานวนเจ็ดคนซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง

 พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 มกราคม 2551

 ก.พ. มีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการวิสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. วิสามัญ” เพื่อทําการใด ๆ แทนได้

 สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

 สำนักงานคณะกรรมการพลเรือน

 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

 คณะกรรมการพลเรือน

5.

ก.พ. มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่

 พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวัน เดือน ปีเกิด และการควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการพลเรือน

 กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล

 ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล

 พัฒนา ส่งเสริม วิเคราะห์วิจัยเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน

6.

กรรมการ ในคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม มีวาระการดํารงตําแหน่ง นับแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง

7.

ข้อใดคือความหมายของ “ข้าราชการฝ่ายพลเรือน”

 ข้าราชการพลเรือน และข้าราชการอื่นในกระทรวง ทบวง กรมฝ่ายพลเรือน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น

 ข้าราชการพลเรือน และข้าราชการอื่นในกระทรวง ทบวง กรม ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น

 ข้าราชการพลเรือน

 ข้าราชการพลเรือน และข้าราชการอื่นในกระทรวง กรมฝ่ายพลเรือน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น

8.

ให้มีคณะอนุกรรมการสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. สามัญ” เพื่อเป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนราชการต่าง ๆ ข้อใดไม่ใช่

 อ.ก.พ. กรม

 อ.ก.พ. จังหวัด

 อ.ก.พ. กระทรวง

 อ.ก.พ. กอง

9.

มาตรา 39 วันเวลาทํางาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจําปี และการลาหยุดราชการของข้าราชการพลเรือน ให้เป็นไปตามข้อใด

 ตามที่กระทรวงการคลังกําหนด

 ตามที่คณะรัฐมนตรีประกาศ

 ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด

 ตามที่สำนักนายกรัฐมนตรีกําหนด

10.

การสอบแข่งขัน การขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบแข่งขันให้เป็นไปตามข้อใด

 ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ. กําหนด

 ตามกําหนดในกฎ ก.พ.

 ตามระเบียบที่ ก.พ. กําหนด

 ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด

11.

ระดับตําแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ มีดังต่อไปนี้ ข้อใดผิด

 ตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติการ

 ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ

 ตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน

 ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ

12.

ให้มีสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เรียกโดยย่อว่า “สํานักงาน ก.พ.” โดยมีเลขาธิการ ก.พ.  เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและบริหารราชการของสํานักงาน ก.พ. ขึ้นตรงต่อใคร

 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

 นายกรัฐมนตรี

 ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

13.

อ.ก.พ. กรม ใครเป็นประธาน

 รัฐมนตรีเจ้าสังกัด

 นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย

 ผู้ว่าราชการจังหวัด

 อธิบดี

14.

ข้าราชการพลเรือนมี 2 ประเภท อะไรบ้าง

 ข้าราชการพลเรือนสามัญ / และข้าราชการอื่นในกระทรวง กรมฝ่ายพลเรือน

 ข้าราชการพลเรือนสามัญ / ข้าราชการพลเรือนในพระองค์

 ข้าราชการพลเรือนสามัญ / ข้าราชการพลเรือนวิสามัญ

 ข้าราชการพลเรือนสามัญ / ข้าราชการการเมือง

15.

ให้มีกรรมผู้ทรงคุณวุฒิ ใน ก.พ. ซึ่งมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ด้านต่างๆ ข้อใดไม่ใช่

 ด้านการเมืองการปกครอง

 ด้านกฎหมาย

 ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล

 ด้านการบริหารและการจัดการ

16.

โทษทางวินัยมี 5 สถาน ข้อใดไม่ใช่

 ตัดเงินเดือน

 ปลดออก

 ภาคทัณฑ์

 ให้ออก

17.

เมื่อมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทําผิดวินัย ให้ดำเนินการตามข้อใด

 ให้ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน

 ให้ผู้บังคับบัญชาสอบสวนด้วยตนเองก่อน

 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ต้องรายงานให้ผ้บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ทราบโดยเร็ว

 ให้ผ้บังคับบัญชาสั่งลงโทษตามควรแก่กรณีโดยไม่ตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได้

18.

การร้องทุกข์ที่เกิดจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ให้ร้องทุกข์ต่อข้อใด

 อ.ก.พ.กระทรวง

 อ.ก.พ.กรม

 ก.พ.ค.

 อ.ก.พ.ค.

19.

ระดับตําแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ มีดังต่อไปนี้ ข้อใดผิด

 ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ

 ตําแหน่งประเภทอํานวยการ ระดับเชี่ยวชาญ

 ตําแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้น

 ตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส

20.

ข้อใดคือความหมายของ “ข้าราชการพลเรือน”

 บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน

 บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง กรมฝ่ายพลเรือน

 บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรมฝ่ายพลเรือน

 บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรม

21.

สำนักงาน ก.พ. มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่

 พัฒนา ส่งเสริม วิเคราะห์วิจัยเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน

 พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวัน เดือน ปีเกิด และการควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการพลเรือน

 ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล

 กำหนดนโยบายและออกระเบียบเกี่ยวกับทุนเล่าเรียนหลวงและทุนของรัฐบาล

 อธิบดี

 ผู้ว่าราชการจังหวัด

 นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย

 รัฐมนตรีเจ้าสังกัด

23.

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มีกี่หมวด กี่มาตรา

 4 ลักษณะ 12 หมวด 139 มาตรา 1 บทเฉพาะการ

 5 ลักษณะ 12 หมวด 139 มาตรา 1 บทเฉพาะการ

 4 ลักษณะ 11 หมวด 139 มาตรา 1 บทเฉพาะการ

 5 ลักษณะ 11 หมวด 139 มาตรา 1 บทเฉพาะการ

24.

ข้อใด ไม่ใช่ “ลักษณะ” ตาม พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนสามัญ

 ข้าราชการพลเรือนในพระองค์

 คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม

 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

25.

“อธิบดี” หมายถึงข้อใด

 หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือเทียบเท่ากอง

 หัวหน้าส่วนราชการระดับทบวงหรือเทียบเท่าทบวง

 หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่ากรม

 หัวหน้าส่วนราชการระดับสูง

26.

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้ วันที่เท่าใด

 25 มกราคม 2551

 23 มกราคม 2551

 26 มกราคม 2551

 24 มกราคม 2551

27.

การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คํานึงถึงระบบคุณธรรมดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่

 การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้องคํานึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององค์กรและลักษณะของงาน โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม

 การพิจารณาความดีความชอบ ต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความประพฤติ

 การบริหารทรัพยากรบุคคลต้องพิจารณาอุดมทางการเมืองของรัฐบาลประกอบเพื่อความคล่องตัวในการบริหารจัดการ

 การรับบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งต้องคํานึงถึงความรู้ความสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเป็นธรรม และประโยชน์ของทางราชการ

28.

อ.ก.พ. กระทรวง ใครเป็นประธาน

 รัฐมนตรีเจ้าสังกัด

 อธิบดี

 นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย

 ผู้ว่าราชการจังหวัด

29.

ข้าราชการพลเรือนสามัญผ้ใดถึงแก่ความตาย เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเลื่อนเงินเดือนให้ผ้นั้นเป็นกรณีพเศษเพื่อประโยชน์ในการคํานวณบาเหน็จบำนาญ หรือให้ได้รับสิทธิประโยชน์อื่นตามข้อใด

 ตามกําหนดในกฎ ก.พ.

 ตามระเบียบที่ ก.พ. กําหนด

 ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด

 ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ. กําหนด

30.

ข้อใดไม่ใช่ ระดับตําแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ

 ตําแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้น

 ตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญการ

 ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ

 ตําแหน่งประเภทอํานวยการ ระดับสูง

31.

“กระทรวง” หมายความรวมถึง…………..

 กรมและกอง

 สํานักนายกรัฐมนตรีและกรม

 ทบวงและกรม

 สํานักนายกรัฐมนตรีและทบวง

32.

ข้อใดไม่ใช่ คุณสมบัติทั่วไปของผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือน

 เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจ

 ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง

 มีสัญชาติไทย

 มีอายุไม่ต่ํากว่ายี่สิบปี

33.

การจ่ายเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งให้ข้าราชการพลเรือนให้เป็นไปตามข้อใด

 ระเบียบที่ ก.พ. กําหนดโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

 ระเบียบที่ ก.พ. กําหนดโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

 ระเบียบที่ ก.พ. กําหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี

 ระเบียบที่ ก.พ. กําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

34.

ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการจัดระเบียบข้าราชการพลเรือน

 ความคุ้มค่า

 ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ

 ความมีระเบียบวินัย

 ความมีประสิทธิภาพ

35.

ข้าราชการพลเรือนที่ถูกให้ออกจากราชการให้อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ภายในกี่วัน นับแต่วันทราบหรือถือว่าทราบคําสั่ง

 60 วัน

 30 วัน

 90 วัน

 45 วัน

36.

ข้อใดไม่ใช่มีอํานาจหน้าที่ของสํานักงาน ก.พ.

 พัฒนา ส่งเสริม วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน

 ติดตามและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน

 ดําเนินการเกี่ยวกับแผนกําลังคนของข้าราชการพลเรือน

 เป็นศูนย์กลางข้อมูลทรัพยากรบุคคลภาคประชาชน

37.

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ใครเป็นผู้รักษาการ

 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

 ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

 นายกรัฐมนตรี

38.

ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องกระทําการอันเป็นข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่

 ต้องรักษาความลับของทางราชการและผู้บังคับบัญชา

 ต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการมิได้

 ต้องต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม และให้การสงเคราะห์แก่ประชาชนผู้ติดต่อราชการเกี่ยวกับหน้าที่ของตน

 ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคีและต้องช่วยเหลือกันในการปฏิบัติราชการระหว่างข้าราชการด้วยกันและผู้ร่วมปฏิบัติราชการ

39.

ระดับตําแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ มีกี่ประเภท

 5 ประเภท

 2 ประเภท

 4 ประเภท

 3 ประเภท

40.

ข้อใดไม่ได้เป็น “อ.ก.พ. สามัญ”

 อ.ก.พ. กรม

 อ.ก.พ. ทบวง

 อ.ก.พ. กระทรวง

 อ.ก.พ. จังหวัด

41.

ข้อใดไม่ใช่ตําแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ

 ตําแหน่งประเภทบริหาร

 ตําแหน่งประเภทอํานวยการ

 ตําแหน่งประเภทวิชาการ

 ตําแหน่งประเภทบริหารระดับสูง

42.

ให้มี “คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม” คณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า ….

 ก.พ.ธ.

 ก.ท.ค.

 ก.พ.ค.

 ก.ท.ธ.

43.

ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามที่ส่วนราชการกําหนดไว้โดยมุ่งประสงค์ให้เป็นข้าราชการที่ดี มีเกียรติและศักดิ์ศรีความเป็นข้าราชการ โดยเฉพาะในเรื่อง ดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช

 ความซื่อสัตย์สุจริตและความรับผิดชอบ

 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

 การยึดมั่นและยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกต้อง

 การปฏิบัติหน้าที่ด้วยการรักษาความสามัคคีี

44.

ตำแหน่งใด ไม่ใช่กรรมการโดยตำแหน่ง ใน ก.พ.

 ปลัดกระทรวงการคลัง

 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

 ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ

 อธิบดีกรมบัญชีกลาง

45.

การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์

 180 วัน

 90 วัน

 120 วัน

 60 วัน

46.

ก.พ. มีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อทําการใด ๆ แทนได้ เรียกโดยย่อว่า…

 อ.ก.พ. กรม

 อ.ก.พ. วิสามัญ

 อ.ก.พ. กระทรวง

 อ.ก.พ. สามัญ

47.

ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องกระทำการในข้อใดเป็นลำดับแรก

 ต้องอุทิศเวลาให้แก่ราชการ จะละทิ้งหรือทอดทิ้งมิได้

 ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบมติคณะรัฐมนตรี นโยบายแบบแผนของทางราชการ

 ต้องรักษาความลับของทางราชการ

 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม

48.

ข้อใดไม่ใช่เหตุผลในการประกาศใช้ พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

 เพื่อเอกภาพทางด้านนโยบายบริหารงานของมีคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

 เพื่อกําหนดภารกิจของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

 เพื่อให้การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐสอดคล้องกับทิศทางการบริหารราชการ

 กระจายอํานาจ การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดดําเนินการมากขึ้น

49.

ให้มี “คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม” จำนวนกี่คน

50.

อ.ก.พ. จังหวัด ใครเป็นประธาน

 รัฐมนตรีเจ้าสังกัด

 นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย

 ผู้ว่าราชการจังหวัด

 อธิบดี